เพราะ เหตุ ใด พระพุทธ ศาสนา จึง มีความสำคัญ ในฐานะ เป็นศาสนาประจำชาติไทย 1 คะแนน

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติไทย ด้วยคนไทยส่วนใหญ่ได้เคารพนับถือพระพุทธศาสนาเป็นสรณะแห่งชีวิต (ตัวอย่างข้อมูล)


28/07/2563 | 1,239 |

เพราะ เหตุ ใด พระพุทธ ศาสนา จึง มีความสำคัญ ในฐานะ เป็นศาสนาประจำชาติไทย 1 คะแนน

ดวงตราสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

อธิบาย ตรานี้ใช้ธรรมจักรบนฐานดอกบัว เรียกว่า "ไตรรัตนจักร" (กงล้อ คือ พระรัตนตรัย) เป็นสัญลักษณ์แทนพระรัตนตรัย คือ
(1) ดอกบัวแทนพระพุทธเจ้า ดังพระบาลีในเถรคาถาว่า "พระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้นในโลก แต่ไม่ติดในโลกีวิสัย ดุจดอกบัวเกิดในน้ำแต่ไม่เปียกน้ำ (ขุ.เถร. 26/388)
(2) ดอกบัวแทนพระอริยสงฆ์ ดังพุทธวจนะในธรรมบทว่า "ดอกบัวเกิดที่กองขยะที่เขาทิ้งไว้ข้างทางใหญ่ มีกลิ่นหอมรื่นรมย์ใจฉันใด ท่ามกลางมหาชนผู้โง่เขลา เป็นดุจสิ่งปฏิกูล พระสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ย่อมรุ่งโรจน์ด้วยปัญญาฉันนั้น" (ขุ.ธ. 25-59)
(3) ดอกบัวมี 7 กลีบ เป็นสัญลักษณ์แทนดอกบัว 7 ดอก ที่เกิดขึ้นรองรับพระบาทของเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อคราวประสูติ หรือสัญลักษณ์แทนโพชฌงค์ 7
(4) ธรรมจักร เป็นสัญลักษณ์แทนพระธรรม คือ อริยสัจสี่ อันเป็นแก่นของพระพุทธศาสนา ที่ทรงแสดงในวันเพ็ญเดือน 8 วันที่พระรัตนตรัยครบสมบูรณ์
(5) ซี่ธรรมจักร 12 ซี่ เป็นสัญลักษณ์แทนการรู้แจ้งอริยสัจแต่ละข้อด้วยญาณ ทั้ง 3 (สัจจญาณ, กิจจญาณ, และกตญาณ) (3x4 = 12)
(6) พระบาลีในธัมมจักรกัปปวัตตนสูตรว่า
ธมฺมจกฺกํ ปวตฺติตํ อปฺปฏิวตฺติยํ = กงล้อคือพระธรรม
อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงหมุนไปแล้ว ไม่มีใครหมุนกลับได้

ศ. พิเศษเสฐียรพงษ์ วรรณปก ราชบัณฑิต
29 ตุลาคม 2545


เพราะ เหตุ ใด พระพุทธ ศาสนา จึง มีความสำคัญ ในฐานะ เป็นศาสนาประจำชาติไทย 1 คะแนน
รูปภาพ


เพราะ เหตุ ใด พระพุทธ ศาสนา จึง มีความสำคัญ ในฐานะ เป็นศาสนาประจำชาติไทย 1 คะแนน
วิดีโอ


ตัวอย่างไฟล์เอกสาร |

ตัวอย่างไฟล์เอกสาร |

ตัวอย่างไฟล์เอกสาร |


เพราะ เหตุ ใด พระพุทธ ศาสนา จึง มีความสำคัญ ในฐานะ เป็นศาสนาประจำชาติไทย 1 คะแนน


จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เพราะ เหตุ ใด พระพุทธ ศาสนา จึง มีความสำคัญ ในฐานะ เป็นศาสนาประจำชาติไทย 1 คะแนน

ประเทศที่ประกาศการมีศาสนาประจำชาติของตนเอง[1]

ศาสนาประจำรัฐ หรือ ศาสนาประจำชาติ (อังกฤษ: state religion) บางทีเรียก ศาสนาซึ่งเป็นที่ยอมรับ (established religion) หรือ ศาสนาทางการ (official religion) เป็นคณะหรือลัทธิทางศาสนาที่รัฐอธิปไตยรัฐหนึ่ง ๆ อนุมัติอย่างเป็นทางการ รัฐที่มีศาสนาอย่างเป็นทางการนั้น แม้ไม่ใช่รัฐฆราวาส ก็ไม่จำต้องเป็นรัฐแบบเทวาธิปไตยเสมอไป เช่น รัฐที่ผู้ปกครองควบตำแหน่งทั้งทางโลกและทางสงฆ์ ส่วนศาสนาประจำรัฐนั้น แม้ได้รับอนุมัติจากรัฐ ก็ไม่จำเป็นที่รัฐจะอยู่ในความควบคุมของศาสนา หรือศาสนาจะอยู่ในความควบคุมของรัฐเสมอไป

ศาสนาประจำรัฐนั้นปรากฏโฉมอยู่ทั่วทุกวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมวลมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างลัทธิศาสนาและรัฐนั้นเป็นที่ถกเถียงกันมาแต่โบราณ เช่น ในงานของแวร์โร (Varro) ที่เรียกศาสนาประจำรัฐว่า ศาสนาของพลเมือง (theologia civilis) สำหรับศาสนาคริสต์นั้น คริสตจักรที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐเป็นแห่งแรก คือ คริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย (Armenian Apostolic Church) ซึ่งตั้งขึ้นใน ค.ศ. 301[2] และยังมีศัพท์ คริสตจักรประจำรัฐ (state church) ที่ใช้เรียกองค์การศาสนาคริสต์ที่รัฐอนุมัติ

ในตะวันออกกลาง รัฐที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นอิสลามยกเอาศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำรัฐ แต่ข้อจำกัดทางศาสนานั้นมากน้อยต่างกันไป เช่น ผู้ปกครองซาอุดีอาระเบียมีอำนาจทั้งทางฆราวาสและทางศาสนา ส่วนประธานาธิบดีแห่งอิหร่านซึ่งต้องเป็นฆราวาสนั้นต้องปฏิบัติตามคำตัดสินขององค์การศาสนานับแต่เกิดการปฏิวัติอิหร่านเมื่อ ค.ศ. 1979 เป็นต้นมา

ระดับการกำหนดให้พลเมืองต้องถือศาสนาตามรัฐในสังคมปัจจุบันนั้นก็ต่างกันไปในแต่ละท้องที่ เช่น มีระดับสูงในซาอุดีอาระเบีย และมีระดับน้อยถึงไม่มีเลยในกรีก เดนมาร์ก อังกฤษ และไอซ์แลนด์

ศาสนาคริสต์[แก้]

นิกายโรมันคาทอลิก[แก้]

นิกายโปรเตสแตนต์[แก้]

ศาสนาอิสลาม[แก้]

ศาสนาพุทธ[แก้]

ศาสนาฮินดู[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

  • ศาสนาในประเทศไทย
  • ศาสนาพุทธในประเทศไทย
  • ศาสนาอิสลามในประเทศไทย
  • ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย
  • เสรีภาพทางศาสนา

อ้างอิง[แก้]

  1. ดูเพิ่มที่นี่ หลักฐานอ้างอิงดูที่นี่.
  2. The Journal of Ecclesiastical History – Page 268 by Cambridge University Press, Gale Group, C.W. Dugmore

เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงมีความสำคัญในฐานะเป็นศาสนาประจำชาติไทย

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ วิถีชีวิตของคนไทยจึงผูกพัน กับพระพุทธศาสนามาโดยตลอด เห็นได้จากเอกลักษณ์ของชาติไทย รากฐานทาง วัฒนธรรมไทย มรดกทางวัฒนธรรมไทย ซึ่งล้วนเกิดจากพระพุทธศาสนาแทบทั้งสิ้น จนกล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ

พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติเพราะเหตุใด

3) พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจ เนื่องจากหลักธรรมในพระพุทธศาสนามุ่งเน้นให้เกิดความ รักความสามัคคีกัน มีความเมตตากรุณาต่อกัน เป็นต้น จึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของชนชาวไทยให้มีความเป็นหนึ่ง เดียวกัน

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติไทยอย่างไร

คำว่าศาสนาประจำชาติ หมายถึง ศาสนาที่ทางราชการในประเทศนั้นๆรับรองให้ความสำคัญ สูงสุดด้วยการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในสมัยกรุงสุโขทัย พระมหาษัตริย์ไทยทุกพระองค์ก็ทรงเป็นพุทธมามกะ แต่การที่จะให้พระพุทธศาสนาเป็น ศาสนาประจำชาติโดยนิตินัยโดยบัญญัติในรัฐธรรมนูญนั้น เราควรที่จะพิจารณาให้เข้าใจก่อนว่ารัฐธรรมนูญ

เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่า พุทธศาสนามีความสำคัญต่อสังคมไทยในฐานะเป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์และมรดกของชาติ

พระพุทธศาสนาอยู่คู่กับสังคมไทยมานาน วิถีชีวิตของชาวไทยส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ชาวไทยร้อยละ ๙๕ นับถือพระพุทธศาสนา ได้นำหลักการปฏิบัติทางพระพุทธศาสนามาเป็นแนวทางแห่งการดำเนินชีวิตจนกลายเป็นรากฐานทางวัฒนธรรม และเอกลักษณ์มรดกของชาติไทยตราบเท่าทุกวัน พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรม