เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

1. เป็นพืชที่มีวัฏจักรชีวิตสั้น ให้ผลการทดลองได้ในระยะเวลาไม่นาน

2. ปลูกง่าย เจริญเติบโตเร็ว ให้ลูกหลานจำ�นวนมากในแต่ละครั้ง ทำ�ให้ข้อมูลจากผลการทดลอง

น่าเชื่อถือมากขึ้น

3. มีหลายลักษณะซึ่งแต่ละลักษณะแตกต่างกันอย่างชัดเจน เช่น สีกลีบดอกมีสีม่วงและสีขาว

รูปร่างของเมล็ดมีเมล็ดกลมและเมล็ดขรุขระ

4. มีดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบดอกปิดคลุมกลุ่มเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ป้องกันไม่ให้เรณู

จากดอกอื่นเข้าผสมกับเซลล์ไข่ ในธรรมชาติจึงมีการปฏิสนธิตัวเอง ทำ�ให้ควบคุมการ

ปฏิสนธิข้ามได้ง่าย

ครูใช้คำ�ถามหรืออาจให้นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับวิธีการทดลองของเมนเดล คำ�ถามอาจเป็น

ดังนี้

เมนเดลมีวิธีการผสมพันธุ์ถั่วลันเตาอย่างไร

ผลการทดลองของเมนเดลเป็นอย่างไรบ้าง

จากนั้นครูให้นักเรียนสืบค้นและวิเคราะห์การทดลองของเมนเดล โดยพิจารณาจากรูป 5.1 และ

รูป 5.2 ในหนังสือเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปขั้นตอนการทดลองของเมนเดล ดังนี้

1. เมนเดลคัดเลือกลักษณะของถั่วลันเตา 7 ลักษณะ ได้แก่ ความสูงของต้น สีของกลีบดอก

ตำ�แหน่งของดอกบนต้น สีของเมล็ด รูปร่างของเมล็ด สีของฝัก และรูปร่างของฝัก ซึ่งแต่ละ

ลักษณะมีรูปแบบที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน เช่น กลีบดอกสีม่วงและกลีบดอกสีขาว

2. เมนเดลทำ�การทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาโดยพิจารณาลักษณะทีละลักษณะ เรียกว่า

การผสมลักษณะเดียว

3. ผสมภายในดอกเดียวกันหลาย ๆ รุ่น จนแน่ใจว่าได้ต้นที่เป็นพันธุ์แท้ของลักษณะนั้น

แล้วนำ�ต้นแม่ที่มีกลีบดอกสีม่วงพันธุ์แท้และต้นพ่อที่มีกลีบดอกสีขาวพันธุ์แท้มาผสมกัน

เรียกรุ่นนี้ว่ารุ่นพ่อแม่ หรือ รุ่น P

4. ตัดเกสรเพศผู้ทิ้งให้เหลือเฉพาะเกสรเพศเมีย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการผสมภายใน

ดอกเดียวกัน แล้วนำ�เรณูจากอับเรณูของดอกจากอีกต้นหนึ่งมาป้ายที่ยอดเกสรเพศเมียของ

ดอกเพศเมียนั้น เพื่อให้เกิดการปฏิสนธิข้าม

5. ผสมพันธุ์ในรุ่นพ่อแม่จะได้เมล็ดซึ่งไปปลูกได้เป็นต้นใหม่จำ�นวนมาก เรียกรุ่นนี้ว่า รุ่น F

1

6. ให้รุ่น F

1

ปฏิสนธิตัวเองจะได้เมล็ดซึ่งไปปลูกได้เป็นต้นใหม่ เรียกรุ่นนี้ว่า รุ่น F

2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ชีววิทยา เล่ม 2

54

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

เกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) บิดาแห่งพันธุศาสตร์ ผู้ค้นพบหลักการพื้นฐานของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เขาเป็นทั้งนักบวช ครู และนักวิทยาศาสตร์ผู้หลงไหลในธรรมชาติ ด้วยความอยากรู้และอยากทำความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมมชาติว่า “สิ่งมีชีวิตสามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างไร”

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

 เมนเดลจึงสร้างแปลงทดลองทางพฤกษศาสตร์ขึ้นภายในลานวัดที่เขาบวชอยู่นั่นเอง ความพยายามกว่า 8 ปี จากการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาหลายพันครั้ง ทำให้เมนเดลเกิดความเข้าใจและเสนอหลักการพื้นฐานทางพันธุศาสตร์ 2 ข้อ ได้แก่ 

  • กฎข้อที่ 1 กฎการแยก (Law of Segregation)
  • กฎข้อที่ 2 กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of Independent Assortment)

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

หลักการนี้ทำให้อธิบายได้ว่า ลักษณะต่างๆ จะถูกถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้อย่างไร แล้วทำไมบางลักษณะจึงสามารถหายไปในบางรุ่นและกลับมาปรากฏได้อีกในรุ่นถัดไป

การค้นพบของเมนเดลในครั้งนี้ ส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าด้านพันธุศาสตร์ตามมาอีกมากมาย เช่น การสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม GMOs (genetically modified organisms) เทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสของยีน (gene sequencing) การเพิ่มปริมาณยีน (gene cloning) การสร้าง DNA ติดตาม (DNA probe) การสร้างยีนกลายพันธุ์ (in vitro mutagenesis) การบ่งชี้ตำแหน่งกลายพันธุ์บนยีน (point mutations and deletions) และอีกมากมาย การปฏิวัติทางพันธุกรรม (genetic revolution) เหล่านี้ เปรียบเสมือนคลื่นยักษ์ที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของทุกสิ่งมีชีวิตบนโลกอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้


เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ “พันธุศาสตร์ของเมนเดล” 

1) Project 14

2) หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ชีววิทยา ม.4 เล่ม 2 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

3) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ม.4 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ติดตามสาระดี ๆ ได้ที่ Facebook : IPST Thailand

หัวเรื่อง และคำสำคัญ

เมนเดล, Mendel, บิดาแห่งพันธุศาสตร์, พันธุศาสตร์, พันธุกรรม, การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม, genetic, กฎการแยก, กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ, ชีววิทยา,IPST Thailand

ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.

บทความ

ลิขสิทธิ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา

ชีววิทยา

ช่วงชั้น

มัธยมศึกษาตอนปลาย

กลุ่มเป้าหมาย

ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป

ดูเพิ่มเติม

คุณอาจจะสนใจ

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

Hits

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา
(3069)

รหัสมอร์ส (Morse code) เป็นการส่งข้อความด้วยสัญญาณ สั้น-ยาว ในรูปของสัญลักษณ์หรือเสียง แทนตัวอักษรต ...

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

Hits

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา
(36516)

ในงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ ครั้งที่ 12 เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่ ...

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา

Hits

เพราะเหตุใด เมนเดล จึงเลือกที่จะทำการทดลองกับต้นถั่วลันเตา
(2196)

อลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing) เกิดวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 เป็นนักคณิตศาสตร์ ชาวอั ...

เพราะเหตุใดเมนเดลจึงต้องคัดเลือกพันธุ์แท้ก่อนที่จะทำการผสมพันธุ์

การที่เมนเดลคัดเลือกพันธุ์แท้ก่อนที่จะทำการผสมพันธุ์ ก็เพื่อจะให้แน่ใจว่า แต่ละสายพันธุ์ที่ใช้ในการผสมพันธุ์มีลักษณะเพียงอย่างเดียวเท่านั้นเพื่อไม่ให้เกิดความยุ่งยาก เมนเดลได้ผสมพันธุ์ระหว่างต้นถั่วพันธุ์แท้ที่มีลักษณะแตกต่างกัน 1 ลักษณะ เช่น ผสมต้นถั่วพันธุ์ดอกสีม่วงกับพันธุ์ดอกสีขาว

พืชที่เมนเดลใช้เป็นพืชศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมคือพืชชนิดใด

ความพยายามกว่า 8 ปี จากการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาหลายพันครั้ง ทำให้เมนเดลเกิดความเข้าใจและเสนอหลักการพื้นฐานทางพันธุศาสตร์ 2 ข้อ ได้แก่

เมนเดลทดลองอะไร

เมนเดลจึงสร้างแปลงทดลองทางพฤกษศาสตร์ขึ้นภายในลานวัดที่เขาบวชอยู่นั่นเอง ความพยายามกว่า 8 ปี จากการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาหลายพันครั้ง ทำให้เมนเดลเกิดความเข้าใจและเสนอหลักการพื้นฐานทางพันธุศาสตร์ 2 ข้อ ได้แก่ กฎข้อที่ 1 กฎการแยก (Law of Segregation)

เมนเดลเลือกศึกษาลักษณะของต้นถั่วกี่ลักษณะ อะไรบ้าง

เกรเกอร์ เมนเดล บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ได้ทำการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของถั่วลันเตา 7 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะของเมล็ด, สีของเมล็ด, ลักษณะของฝัก, สีของฝัก, บริเวณที่เกิดดอก, สีของดอก และลักษณะความสูง ผลจากการศึกษาดังกล่าว พบว่า มีหน่วยพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เรียกว่า ยีน