การสืบทอดพระพุทธศาสนาเป็นหน้าที่โดยตรงของใคร

 ๓. การแต่งกายไปงานอวมงคล ควรแต่งตัวตามประเพณีนิยม ชายแต่งสากลนิยมสีเข้ม เนคไทสีดำ รองเท้าดำ หากเป็นงานศพควรสวมปลอดแขนทุกข์ที่แขนเสื้อข้างซ้ายเหนือศอก หรือแต่งกายชุดไทยพระราชทานสีดำทั้งชุด หรือเสื้อสีขาวกางเกงสีดำหรือสีเข้มหญิงนุ่งผ้าซิ่นหรือกระโปรงตามสมัยนิยม เสื้อแบบเรียบ รองเท้าหุ้มส้นสีดำ หรือแต่งกายให้สุภาพ ไม่ใช้เสื้อผ้าและรองเท้าสีฉูดฉาด ไม่สมควรพูดคุยหัวเราะกันอย่างสนุกสนาน เพราะไม่ใช่งานแสดงความยินดี

                    ตัวศาสนานั้นมัยอยู่ที่ตัวการดับทุกข์ หรือตัวการปฏิบัติเพื่อดับทุกข์นั้นเอง ดังนั้นถ้าจะบำรุงศาสนากันให้ถูกตัวกันจริงแล้ว ก็ต้องบำรุงให้เกิดความดับทุกข์ขึ้นมาจริง ๆ ตามพระพุทธประสงค์ที่ว่า “ภิกษุ ท. เราขอเตือนพวกเธอว่า สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปสิ้นไม่เป็นธรรมดา ขอ ท. จงยังประโยชน์ตนประโยชน์ท่านให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาทเถิด” 

�ѧ���  �ǡ��Ҫ�Ǿط��������   ����դ�����ѷ����������   �����繤س����ѹ����˭�ͧ��оط���ʹ�   ���������ִ�Ƿҧ����оط�ͧ����ç���Ѻ�ǡ������   ����׺�ʹ   ���·ʹ�ô��ѹ��Ӥ���ѹ���   ���¡���֡��  ��Ժѵ�   ����ظ��� ���Ǩ֧���¹������   ����������ö��оĵԻ�Ժѵ����ҧ���������  ��оط���ʹҡ������Ѻ�š�ͧ�����ա��ǹҹ �����������оĵԻ�ԺѵԵ�� ��ʹҢͧ��ҡ�Ф���˴���� 㹷���ش����������ʹ������������š����ա�����֧������ҹ������¨��������㹤���������ҷ  �������ǹ�����֡����л�оĵԻ�Ժѵ�����������ظ���  ���Ǩ֧�������  ���ͤ����آ ������ԭ  ���ѧ���š����    ����ʴ������������������  ���ص������§��ҹ��

ผู้สืบทอดในทางศาสนาพุทธ ได้แก่ พุทธบริษัท 4 อันหมายถึง พุทธศาสนิกชน พุทธมามกะ พุทธสาวก อันเป็นกลุ่มผู้ร่วมกันนับถือ ร่วมกันศึกษา และร่วมกันรักษาพุทธศาสนาไว้

  • ผู้นับถือศาสนาพุทธที่ได้บวชเพื่อศึกษา ปฏิบัติตามคำสอน (ธรรม) และคำสั่ง (วินัย) และมีหน้าที่เผยแผ่พระธรรมของพระพุทธเจ้า เรียกว่าภิกษุ ในกรณีที่เป็นเพศชาย และภิกษุณี ในกรณีที่เป็นเพศหญิง
  • สำหรับผู้บวชที่ตั้งแต่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ 20 ปี จะเรียกว่าเป็น สามเณร สำหรับเด็กชาย และ สามเณรีและสิกขมานา (สามเณรีที่ต้องไม่ผิดศีล 6 ข้อตลอด 2 ปี) สำหรับเด็กหญิง ลักษณะการบวชสำหรับภิกษุหรือภิกษุณี จะเรียกเป็นการอุปสมบท สำหรับสามเณรหรือสามเณรีและสิกขมานา จะเรียกเป็นการ บรรพชา
  • คฤหัสถ์ชาย-หญิง ที่นับถือพระพุทธศาสนา เรียกว่าอุบาสก อุบาสิกา ตามลำดับ


ผู้ทำหน้าที่สืบทอดพระพุทธศาสนาเรียกว่าอะไร

พระสงฆ์มีบทบาทส าคัญในการสืบสานวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอนุรักษ์ ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่และความเชื่อเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา และในฐานะที่พระสงฆ์เป็นผู้สืบทอดและเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระสงฆ์จึง สามารถใช้บทบาทดังกล่าวในการถ่ายทอดประวัติหลักธรรมค าสอนของพระพุทธศาสนา สู่ ความเป็นรูปธรรม ...

การสืบทอดพระพุทธศาสนาเป็นหน้าที่โดยตรงของใคร * 1 คะแนน

การสืบทอดพระพุทธศาสนาเป็นหน้าที่โดยตรงของใคร พระภิกษุ

สืบทอดพระพุทธศาสนาอย่างไร

- ให้ความอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา โดยการทำนุบำรุงทั้งสถาบัน และบุคคลที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาสม่ำเสมอ เช่น ทำบุญตักบาตร ถวายเครื่องไทยธรรมจตุปัจจัยทั้งหลาย รวมทั้งระดมกำลังความคิด กำลังกาย และกำลังทรัพย์ หรือก็คือการบริจาค เพื่อร่วมปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ อันจะช่วยให้พระพุทธศาสนาดำรงอยู่สืบไปภายหน้า

การธำรงรักษาพระพุทธศาสนาเป็นหน้าที่ใคร

หน้าที่ชาวพุทธ การธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จขันธปรินิพพานแล้ว เป็นหน้าที่ของพุทธบริษัททั้ง 4 โดยเฉพาะพระเถระทั้งหลาย ที่ได้มีการชำระพระธรรมวินัยให้ตรงหลายครั้งหลายครา เมื่อเกิดความขัดแย้งในพระศาสนา หรือที่เรียกกันว่า “การสังคายนาพระไตรปิฎก” ภาพ : shutterstock.com.