ใครไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

เมื่อพูดถึงบัญชี เราก็จะต้องนึกถึงภาษี เพราะบัญชี และภาษีนั้นเป็นของคู่กันมาตั้งแต่อดีตกาล นักบัญชีอย่างเรา ๆ ทุกคนก็มีความรู้ด้านภาษีเบื้องต้น ไม่มากก็น้อย 

ในความเป็นจริง ภาษีเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวเรามาก ไม่ใช่แค่กับนักบัญชี แต่กับผู้ประกอบการ รวมถึงบุคคลทั่วไป เพราะภาษีเป็นสิ่งที่ผู้มีรายได้ทุกคนจะต้องคำนึงถึง และ จ่ายให้กับรัฐตามกฎเกณฑ์กันทั้งนั้นค่ะ

เพราะฉะนั้นในบทความนี้เราจะมาทบทวนและเจาะลึกในเรื่องที่ว่า ใครเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร มีหลากหลายมากเลยทีเดียวค่ะ ไม่ว่าจะดำเนินกิจการในไทยหรือไม่ และเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทยหรือต่างประเทศ ก็อาจจะเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ทั้งนั้น ต้องกลับมาดูข้อกำหนดตรงนี้ดี ๆ เพื่อที่เราจะได้ไม่พลาดในการส่งภาษี และไม่โดนเบี้ยปรับกันนะคะ 😀

ในการวางแผนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ผู้วางแผนภาษีจะต้องทราบถึงความหมายของภาษีเงินได้นิติบุคคลว่าหมายถึง ภาษีอากรประเภทหนึ่งที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร ที่จัดเก็บจากเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลบางรายเข้าลักษณะที่จะต้องเสียภาษีเงินได้แต่ได้มีบทบัญญัติยกเว้นภาษีให้ คือ

เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี คือ เงินได้ที่กฎหมายระบุไว้ชัดเจนว่าไม่อยู่ในข่ายต้องเสีย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งมีอยู่นับร้อยรายการโดยกระจายอยู่ตามกฎหมายฉบับต่างๆ เช่น ประมวลรัษฎากร กฎกระทรวง และพระราชกฤษฎีกา เป็นต้น ทำให้ไม่ต้องเสียภาษีเหมือน เงินได้ ทั่วไป

ตัวอย่าง เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี

  • กำไรจากการขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
  • เงินประโยชน์ทดแทนที่ผู้ประกันตนได้รับจากกองทุนประกันสังคม จากกรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย, คลอดบุตร, ทุพพลภาพ, เสียชีวิต, สงเคราะห์บุตร, ชราภาพ หรือว่างงาน เป็นต้น
  • เบี้ยประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการ หรือค่าสอน ค่าสอบที่ทางราชการหรือสถานศึกษาของทางราชการจ่ายให้
  • เงินรางวัลที่ถูกล็อตเตอร์รี่สลากกินแบ่งรัฐบาล หรือสลากออมสิน
  • บำเหน็จดำรงชีพ ของข้าราชการบำนาญ
  • เงินได้จากการจำหน่าย หรือส่วนลดจากการจำหน่ายสลากกินแบ่งของรัฐบาล 
  • รางวัลที่ทางราชการจ่ายให้ในการประกวดหรือแข่งขันที่ผู้รับไม่ได้มีอาชีพในการประกวดหรือแข่งขัน
  • รางวัลสินบนนำจับที่ทางราชการจ่ายให้
  • รางวัลเพื่อการศึกษาหรือค้นคว้าในวิทยาการ เช่น ทุนการศึกษาของหน่วยงานเอกชน 
  • ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด เงินชดใช้ค่าเสียหาย
  • เงินที่บริษัทประกันจ่ายให้จากการประกันภัยหรือประกันชีวิต

  • เงินได้ที่ได้รับตามหน้าที่ธรรมจรรยา หรือรับตามประเพณี เช่น เงินอั่งเปา สินสอด ของรับขวัญ เงินค่าขนมลูก เงินค่าเลี้ยงดูพ่อแม่ เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน ฿10 ล้าน (แต่จะขยายเป็น ฿20 ล้าน ถ้าได้รับจากบุพการี ผู้สืบสันดาน หรือคู่สมรส)
  • ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารแบบออมทรัพย์ทุกบัญชีรวมกันตลอดทั้งปีที่ไม่เกิน ฿20,000 ทั้งนี้ เจ้าของบัญชีเงินฝากออมทรัพย์นี้ต้องไม่คัดค้านการส่งข้อมูลดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ของธนาคารให้กรมสรรพากร
  • ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารหรือสหกรณ์แบบประจำอย่างน้อย 24 เดือน ที่ยอดเงินฝากไม่เกินเดือนละ ฿25,000 และรวมทั้งหมดแล้วไม่เกิน ฿600,000
  • ดอกเบี้ยเงินฝากประจำธนาคารในไทยสำหรับผู้สูงอายุตั้งแต่อายุ 55 ปี ที่ฝากประจำตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โดยดอกเบี้ยเงินฝากประจำทุกประเภทรวมกันแล้วตลอดปีไม่เกิน ฿30,000 (หากเกิน ฿30,000 ต้องนำดอกเบี้ยนั้นมาคำนวณภาษีทั้งจำนวนตั้งแต่บาทแรกเลย)
  • ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่ายานพาหนะที่ลูกจ้างได้รับตามความจำเป็นเป็นครั้งคราว
  • รายได้จาก การขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นมรดกหรือมีคนให้มา ที่อยู่นอกตัวเมือง ให้ยกเว้นรายได้ ฿200,000 แรก
  • รายได้ที่คนอายุ 65 ปีขึ้นไป หรือคนพิการได้รับ ให้ยกเว้นรายได้ ฿190,000 แรก
  • รายได้ (รวมถึงเงินส่วนแบ่งกำไร/เงินปันผล) จากกิจการโรงเรียนเอกชนที่ไม่ใช่โรงเรียนกวดวิชา
  • เงินที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หา (ให้เปล่าฝ่ายเดียวโดยไม่มีสิ่งใดตอบแทน) เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน ฿10 ล้าน (แต่จะขยายเป็น ฿20 ล้าน ถ้าได้รับจากบุพการี ผู้สืบสันดาน หรือคู่สมรส)
  • เงินปันผลหรือเงินเฉลี่ยคืนที่สมาชิกสหกรณ์ได้รับจากสหกรณ์

ไม่ว่ารายได้ของคุณจะเป็นเงินได้ที่ต้องเสียภาษี หรือ เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี คุณก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการยื่นภาษีและคำนวณภาษีได้ และหากคุณไม่อยากใช้เวลากับการคำนวณภาษีมากเกินไป iTAX application สามารถช่วยลดทอนเวลาที่มีค่าของคุณลงได้ นอกจากคำนวณภาษีแล้ว คุณยังสามารถค้นหาแผนลดหย่อนภาษีที่คุ้มที่สุดได้จาก iTAX shop อีกด้วย


อ้างอิง

  1. กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)

  2. มาตรา 42(17) ประมวลรัษฎากร, ข้อ 2(69) กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509), ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 137)

    คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


    คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


    คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

    ใครบ้างที่ไม่มีหน้าที่ เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

    นิติบุคคลที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ตามสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลต่างประเทศ (2) บริษัทจำกัดที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน

    ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล มีอะไรบ้าง

    ตัวอย่าง เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี เบี้ยประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการ หรือค่าสอน ค่าสอบที่ทางราชการหรือสถานศึกษาของทางราชการจ่ายให้ เงินรางวัลที่ถูกล็อตเตอร์รี่สลากกินแบ่งรัฐบาล หรือสลากออมสิน บำเหน็จดำรงชีพ ของข้าราชการบำนาญ เงินได้จากการจำหน่าย หรือส่วนลดจากการจำหน่ายสลากกินแบ่งของรัฐบาล

    ใครคือผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

    ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ และหมายความรวมถึงนิติบุคคลอื่นๆ ที่ไม่ได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ด้วย ดังนี้

    ใครไม่จำเป็นต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

    ก่อนอื่นที่ต้องรู้เลย ก็คือ ตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ใช้ในการคำนวณภาษีกำหนดว่า บุคคลที่มีเงินได้สุทธิไม่เกิน 150,000 บาท ต้องยื่นภาษี แต่ไม่ต้องเสียภาษี นั่นหมายความว่า บุคคลที่มีเงินได้สุทธิตั้งแต่ 150,001 บาทขึ้นไปนั้นต้องเสียภาษี พี่ทุยจะมาอธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ