สิ่งมีชีวิตคู่ใดมีความสัมพันธ์เช่นเดียวกับรากับสาหร่าย

��������ѹ�������ҧ����ժ��Ե��ҧ��Դ (Interspecific relationship)
����ժ��Ե��ҧ��Դ�ա�кǹ��ô�ç���Ե���ᵡ��ҧ�ѹ� �觼�����դ�������ѹ�������ҧ����ժ��Եᵡ��ҧ�ѹ� �ͨ���ػ��
�ѧ��� ���
1.� ��ҹ���Թ (Symbiosis) : �繡�����������ѹ������㴽���˹�����ͷ���ͧ������
�Ѻ����ª�� ������ս�������»���ª�����
1.1 ���о�觾ҡѹ (Mutualism)� ������������ѹ�ͧ����ժ��Ե �·�����н������¡��Ҥ���������� (Symbiont)
���ͤ����� (Partner) ��ҧ���Ѻ����ª��
������ҧ
������������� Chlorella vulgaris �����������������ͧ͢�δ�������� Chlorohyara viridissima
1.2 �����ԧ������������͡�� (Commensalism) ��� ������������ѹ�ͧ����ժ��Ե����� 2 ��Դ���� �½���˹�����Ѻ����ª�����¡��ҵ���ԧ����� (Commensal) ���ա����˹����������������»���ª�� ���¡��� ����������� (host)
������ҧ
���§�Թ������躹��дͧ��� �� �������͡�ͧ���������
2. ����еç���� ���� ����л�Իѡ�� (Antagonism) : ���С�����������ͧ����ժ��Ե �·�����˹��
���ͷ���ͧ�������»���ª��
1.1 ���л��Ե (Parasitism) �����з�����˹����´��¹�ա����˹���¡����СԹ�
������ҧ����������
��Ѵ�عѢ�����ժ��Ե����Ѻ�عѢ��ҹ��
1.2 ������������ (Predation) �繡�����������ѹ�½���˹�����¡��� ������������ (Predator) �ѧ������͡Ѵ�Թ����˹�觷�����¡��������� (Prey) �����������
������ҧ
��ҡԹ���͡Թ��Ҫ�Դ��� � �� ��Ҫ�͹�Թ��ҡ�д
��1.3 �����ա������������������ԭ (Antibiosis) �繡�����������ѹ�����ҧ����ժ��Ե ������˹��������Ѻ����ª�����ա����˹�����»���ª�� ����Դ�ҡ����ժ��Ե���ʡѴ��÷���ռŵ�͡�ô�ç���Ե�ͧ����ժ��Ե��Դ��� ��ôѧ��������¡��� ���û�Ԫ�ǹ� ��������Ѻ��觔
������ҧ
�� Penicilium notalum. ʡѴ���ྐྵ�ԫ���Թ (Penicillin) �͡���Ѻ��駡����ԭ�ԺⵢͧẤ������ Sclerotium s.p.
1.5 Amensalism �繡�����������ѹ������˹���觼š�з��·ҧ��������ա����˹��
������ҧ
�������˭�ѧ�ʧ�ת��Ҵ��硷������������ѧ�����
1.6 ����觢ѹ (Competition) �繡�����������ѹ�����ҧ����ժ��Ե����ҧ���µ�ҧ���»���ª���ѹ�繼��Ҩҡ
����������觷���ͧ��������ѹ
������ҧ
����§�Թ��觾�鹷����СѺ�Թ
3. ������繡�ҧ (Neutralism) : �繡�����������ѹ������ս���������º�����������º�����ѹ
4. ������ա���������� (Saprophytism) : �繤�������ѹ������ժ��Ե����«ҡ�ͧ
����ժ��Ե��� �¡���������«ҡ���������Թ��������Ǩ֧�ٴ������������¡��
������ҧ
��� �� ���Ấ�����ºҧ��Դ

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
     ในระบบนิเวศหนึ่งประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายแตกต่างกันมากมาย โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างซับซ้อนและอาจก่อให้ เกิดผลกระทบระหว่างกันได้ ซึ่งสามารถจำแนกผลกระทบที่เกิดจากความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตได้ 3 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ์แบบได้รับประโยชน์ (+) ความสัมพันธ์แบบเสียประโยชน์ (-) และความสัมพันธ์แบบไม่ได้รับและไม่เสียประโยชน์ (0)
     ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดที่อยู่ร่วมกันในระบบนิเวศจะมีรูปแบบ ที่แตกต่างกัน โดยสามารถจำแนกได้เป็นรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้
     1.  ภาวะเป็นกลาง (neutralism; 0/0)
          เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่ไม่เกี่ยวข้องกันแต่อาศัยในระบบนิเวศ เดียวกัน จึงไม่มีสิ่งมีชีวิตฝ่ายใดที่ได้รับหรือเสียประโยชน์ ตัวอย่างเช่น ไส้เดือนกับเสือ ผีเสื้อกับลิง มดกับผึ้ง เป็นต้น
     2.  ภาวะการล่าเหยื่อ (predation;+/-)
          เป็นความสัมพันธ์ที่มีฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ได้รับประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว เรียกสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ได้รับประโยชน์ว่าผู้ล่า (predator) และเรียกสิ่งมีชีวิตอีกชนิดที่เป็นผู้เสียประโยชน์ว่า ผู้ถูกล่า หรือ เหยื่อ (prey) โดยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตแบบล่าเหยื่อนี้ ส่วนใหญ่ผู้ล่าจะกินผู้ถูกล่กเป็นอาหารเพื่อการดำรงชีวิต ตัวอย่างเช่น นกกินแมลง ปลาฉลามกันแมวน้ำ และเสือกินกวาง เป็นต้น
     3.  ภาวะการแข่งขัน (competition; -/-)
          เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในพื้นที่เดียวกัน อาจเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันโดยสิ่งมีชีวิตทั้งสองมีความ ต้องการใช้ปัจจัยในการดำรงชีวิตที่เหมือนกัน ดังนั้นหากระบบนิเวศอยู่ในสภาวะที่ขาดแคลนปัจจัยในการดำรงชีวิตนั้น สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดก็ต้องแก่งแย่งหรือแข่งขันกัน ซึ่งในการแข่งขันก็จะทำให้สิ่งมีชีวิตทั้งคู่เสียประโยชน์จากการแข่งขัน และหากเป็นการแข่งขันของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ก็จะก่อให้เกิดผลเสียจากการแข่งขันมากกว่าการแข่งขันระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ชนิดกัน ตัวอย่างเช่น การแย่งตำแหน่งจ่าฝูงของหมาป่า การแย่งกันล่าเหยื่อของสุนัขจิ้งจอกกับเสือ เป็นต้น
     4.  ภาวะการได้รับประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation; +/+)
          เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยสิ่งมีชีวิตทั้งสองฝ่ายจะได้รับประโยชน์ทั้งคู่ อาจเป็นการอยู่ร่วมกันตลอดเวลาหรืออยู่ร่วมกันเพียงชั่วขณะหนึ่งก็ได้ และเมื่อสิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดแยกจากกัน ก็จะยังสามารถดำรงชีพได้ตามปกติ ตัวอย่างเช่น นกเอี้ยงบนหลังควาย ซึ่งนกเอี้ยงจะอาศัยกินแมลงบนผิวหนังควายหรือแมลงที่บินขึ้นมาขณะที่ควายเหยียบย่ำพื้นดินเพื่อหาอาหาร ส่วนควายจะได้รับประโยชน์จากการลดความรำคาญจากแมลงที่อยู่ตามร่างกาย หรือความสัมพันธ์ระหว่างปลาการ์ตูนจะอาศัยอยู่ตามดอกไม้ทะเลเพื่อเป็นที่หลบ ภัยจากผู้ล่า ขณะที่ปลาการ์ตูนก็จะคอยปกป้องดอกไม้ทะเลจากปลาบางชนิดที่กินดอกไม้ทะเลเป็น อาหาร
     5.  ภาวะพึ่งพากัน (mutualism; +/+)
          เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันโดยที่สิ่งมีชีวิตทั้ง สองฝ่ายจะได้รับประโยชน์ทั้งคู่ การอยู่ร่วมกันลักษณะนี้สิ่งมีชีวิตทั้งคู่ต้องอยู่ร่วมกันตลอดไป ไม่สามารถแยกจากกันได้ ตัวอย่างเช่น ไลเคน (lichen) ซึ่งเป็นภาวะการอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยระหว่างรากับสาหร่าย พบได้ตามบริเวณก้อนหินหรือเปลือกไม้ที่มีความชื้น โดยสาหร่ายจะอาศัยเส้นใยของราช่วยยึดเกาะ พรางแสง และอุ้มน้ำให้เกิดความชื้น ในขณะที่ราจะอาศัยอาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของสาหร่ายเพื่อการ ดำรงชีวิต
     6.  ภาวะอิงอาศัย (commensalism; +/0)
          เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันโดยมีฝ่ายหนึ่งได้รับ ประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว ส่วนอีกฝ่ายจะไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ตัวอย่างเช่น ปลาฉลามกับเหาฉลาม โดยเหาฉลามเป็นปลาที่มีอวัยวะยึดเกาะกับตัวปลาฉลาม แต่ไม่ทำอันตรายแก่ปลาฉลาม และเหาฉลามจะได้รับประโยชน์ด้วยการกินเศษอาหารที่หลงเหลือจากปลาฉลาม
     7.  ภาวะปรสิต (paratism; +/-)
          เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตสองชนิดที่มีขนาดแตก ต่างกัน โดยสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่กว่า เรียกว่า ผู้ถูกอาศัยหรือเจ้าบ้าน (host) จะเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดที่ขนาดเล็กกว่า เรียกว่า ผู้อาศัย หรือ ปรสิต (parasite) โดยฝ่ายเจ้าบ้านจะเป็นฝ่ายเสียประโยชน์จากการถูกแย่งอาหาร หรือถูกใช้ส่วนหนึ่งของร่างกายเป็นอาหารของปรสิต ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดอาการเจ็บป่วยในเจ้าบ้านได้
          ภาวะปรสิตสามารถแบ่งได้เป็นสองลักษณะ คือ ภาวะปรสิตภายใน (endo-parasite) และภาวปรสิตภายนอก (ecto-parasite) ปรสิตทั้งสองลักษณะจะมีความแตกต่างกันที่ลักษณะการอยู่อาศัยบนตัวเจ้าบ้าน โดยปรสิตภายในจะอาศัยอยู่ในอวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกายของเจ้าบ้าน ได้แก่ พยาธิชนิดต่าง ๆ ในร่างกายของสัตว์ เป็นต้น ส่วนปรสิตภายนอกจะอาศัยอยู่ตามผิวหนังของเจ้าบ้าน เช่น เห็บ เหา หมัด เป็นต้น
          นอกจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อยู่ระบบนิเวศเดียวกัน ยังมีความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อยู่คนละระบบนิเวศด้วย เช่น ปลาที่เป็นผู้ล่าในระบบนิเวศผิวน้ำ อาจกลายเป็นผู้ถูกล่าโดยนกกินปลาที่อยู่ในระบบนิเวศชายฝั่ง เป็นต้น ความเชื่อมโยงระหว่างระบบนี้อาจเกิดขึ้นในลักษณะที่คล้ายคลึงกับห่วงโซ่หรือ สายใยอาหาร
          นอกจากนี้สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งอาจมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ อีกหลายชนิดได้ ดังนั้นเมื่อสิ่งมีชีวิตก็ย่อมจะส่งผลกระทบถึงสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ อีกหลายชนิดได้ เช่น เมื่อสาหร่ายหรือแพลงค์ตอนพืชที่อยู่ตามผิวน้ำมีการเจริญเติบโตมากขึ้น จะทำให้เกิดการบดบังแสงอาทิตย์ที่ส่องผ่านลงสู่ใต้ผิวน้ำ พืชใต้น้ำจึงไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้และตายไปในที่สุด ซึ่งก็จะส่งผลกระทบถึงสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่บริโภคพืชใต้น้ำเป็นอาหารได้
          ดังนั้นหากเราวาดแผงผังความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในธรรมชาติ แล้ว จะพบว่าสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ในธรรมชาติ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันเป็นร่างแหที่ซับซ้อนอย่างมาก เป็นลักษณะของความสัมพันธ์แบบไม่จบสิ้น และไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงแค่ในระบบนิเวศเดียวเท่านั้น

โดย  ครูเสก

สิ่งมีชีวิตคู่ใดมีความสัมพันธ์เช่นเดียวกับรากับสาหร่าย
ดาวน์โหลดไฟล์

โพสเมื่อ : 12 มิ.ย. 2556,10:08   อ่าน 70336 ครั้ง

รากับสาหร่าย มีความสัมพันธ์กันแบบใด

ไลเคน (Lichen) คือการดำรงชีวิตร่วมกันของรากับสาหร่าย ซึ่งเป็นการอยู่แบบที่ สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ชนิด ต่างก็ได้รับประโยชน์ สาหร่ายมีสีเขียวสร้างอาหารเองได้โดย กระบวนการสังเคราห์ด้วยแสงแต่ต้องอาศัยความชื้นจากเชื้อรา ส่วนราได้รับธาตุ

สิ่งมีชีวิตคู่ใดที่มีความสัมพันธ์กันเหมือนกับความสัมพันธ์ของกาฝากบนต้นไม้ใหญ่

ข. ภาวะปรสิต (parasitism) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เบียดเบียน เรียกว่า ปรสิต (parasite) และอีกฝ่ายหนึ่งเป็นเจ้าของบ้าน (host) ต้นกาฝากเช่น ฝอยทองที่ขึ้นอยู่บนต้นไม้ใหญ่ จะดูดน้ำและอาหารจากต้นไม้ใหญ่

กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่มีความสัมพันธ์แบบใด

- พืชอิงอาศัย (epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่ เช่น กล้วยไม้ที่อยู่บนต้นมะม่วง - นก ต่อ แตน ผึ้ง ทำรังบนต้นไม้ ความสัมพันธ์แบบปรสิต (Parasitism : + , -) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ เรียกว่า ปรสิต (parasite) อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์เรียกว่าผู้ถูกอาศัย (host) เช่น

รูปแบบความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันของสิ่งมีชีวิตในข้อใด คล้ายความสัมพันธ์ระหว่างเหาฉลามกับปลาฉลาม

3. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล (Commensalism +,0) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน โดยที่ฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์แต่อีกฝ่ายไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ใด ๆ เช่น ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามจะคอยยึดเกาะกับปลาฉลามเพื่อกินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซึ่งปลาฉลามเองก็ไม่ได้รับหรือเสียประโยชน์อันใด