ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ทำนองเสนาะน คือ วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน.กานอ่านทำนองเสนาะ
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๑. ความหมายของ "การอ่านทำนองเสนาะ"
การอ่านทำนองเสนาะคือวิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองแต่ละ ประเภทหรือหมายถึง การอ่านตามทำนอง (ทำนอง = ระบบเสียงสูงต่ำ ซึ่งมีจังหวะสั้นยาว) เพื่อให้ เกิดความเสนาะ (เสนาะ, น่าฟัง, เพราะ, วังเวงใจ)
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๒. วัตถุประสงค์ในการอ่านทำนองเสนาะ
การอ่านทำนองเสนาะเป็นการอ่านให้คนอื่นฟัง ฉะนั้นทำนองเสนาะต้องอ่านออกเสียง เสียงทำ ให้เกิดความรู้สึก-ทำให้เห็นความงาม-เห็นความไพเราะ-เห็นภาพพจน์ ผู้ฟังสัมผัสด้วยเสียงจึงจะเข้า ถึงรสและความงามของบทร้อยกรองที่เรียกว่าอ่านแล้วฟังพริ้งเพราะเสนาะโสต การอ่านทำนอง เสนาะจึงมุ่งให้ผู้ฟังเข้าถึงรสและเห็นความงามของบทร้อยกรอง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๓. รสที่ใช้ในการอ่านทำนองเสนาะ
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๓.๑ รสถ้อย (คำพูด) แต่ละคำมีรสในคำของตัวเอง ผู้อ่านจะต้องอ่านให้เกิดรสถ้อย
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ตัวอย่างสักวาหวานอื่นมีหมื่นแสนไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอมกลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอมอาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลมแม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้มดังดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเข็ดขมผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอารมณใครฟังลมเมินหน้าระอาเอย(พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหลวงบดินทร์ไพศาลโสภณ)

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๓.๒ รสความ (เรื่องราวที่อ่าน) ข้อความที่อ่านมีเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร เช่น โศกเศร้า สนุกสนาน ตื่นเต้น โกรธ รัก เวลาอ่านต้องอ่านให้มีลีลาไปตามลักษณะของเนื้อเรื่องนั้นๆ
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ตัวอย่าง : บทโศกตอนที่นางวันทองไปส่งพลายงามให้ไปหาย่าทองประศรีที่สุพรรณบุรี

ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูกต่างพันผูกเพียงว่าเลือดตาไหลสะอื้นร่ำอำลาด้วยอาลัยแล้วแข็งใจจากนางตามทางมาเหลียวหลังยังเห็นแม่แลเขม้นแม่ก็เห็นลูกน้อยละห้อยหาแต่เหลียวเหลียวเลี้ยวลับวับวิญญาณโอ้เปล่าตาต่างสะอื้นยืนตะลึง(เสภาขุนช้างขุนแผน ตอนกำเนิดพลายงาม : สุนทรภู่)

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๓.๓ รสทำนอง (ระบบเสียงสูงต่ำซึ่งมีจังหวะสั้นยาว) ในบทร้อยกรองไทยจะประกอบด้วย ทำนองต่างๆ เช่น ทำนองโคลง ทำนองฉันท์ ทำนองกาพย์ ทำนองกลอนและทำนองร่าย เป็นต้น

สัตว์ พวกหนึ่งนี้ชื่อพหุบา ทาแฮมี อเนกสมญายอกย้อนท้า เกิดยิ่งจัตวาควรนับ เขานอมาก จวบหมิ่นแสนซ้อนสุดพ้นประมาณฯ(สัตวาภิธาน : พระยาศรีสนทรโวหาร (น้อย อาจารยากูร)

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๓.๔ รสคล้องจอง ในบทร้อยกรองต้องมีคำคล้องจอง ในคำคล้องจองนั้นต้องให้ออกเสียง ต่อเนื่องกันโดยเน้นสัมผัสนอกเป็นสำคัญ เช่น

ถึงโรงเหล้าเตากลั่นควันโขมงมีคันโพงผูกสายไว้ปลายเสาโอ้บาปกรรมน้ำนรกเจียวอกเราให้มัวเมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็นน่าอายทำบุญบวชกรวดน้ำขอสำเร็จพระสรรเพชญโพธิญาณประมาณหมายถึงสุราพารอดไม่วอดวายไม่ใกล้กรายแกล้งเมินก็เกินไปไม่เมาเหล้าแล้วแต่เรายังเมารักสุดจะหักห้ามจิตคิดไฉนถึงเมาเหล้าเช้าสายก็หายไปแต่เมาใจนี้ประจำทุกค่ำคืน(นิราศภูเขาทอง : สุนทรภู่)

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๓.๕ รสภาพ เสียงทำให้เกิดภาพ ในแต่ละคำจะแฝงไปด้วยภาพในการอ่านให้เห็นภาพต้องใช้ เสียงสูง-ต่ำ ดัง – ค่อย แล้วแต่จะให้เกิดภาพอย่างไร เช่น

"มดเอ๋ยมดแดงเล็กเล็กเรี่ยวแรงแข็งขยัน""สุพรรณหงส์ทรงพู่ห้อยงามชดช้อยลอยหลังสินธุ์""อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรคลงฤๅ"

๔. หลักการอ่านทำนองเสนาะ มีดังนี้

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๑. ก่อนอ่านทำนองเสนาะให้แบ่งคำแบ่งวรรคให้ถูกต้องตามหลักคำประพันธ์เสียก่อนโดย ต้องระวังในเรื่องความหมายของคำด้วย เพราะคำบางคำอ่านแยกคำกันไม่ได้
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๒. อ่านออกเสียงธรรมดาให้คล่องก่อน
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๓. อ่านให้ชัดเจน โดยเฉพาะออกเสียง ร ล และคำควบกล้ำให้ถูกต้อง เช่น

"เกิดเป็นชายชาตรีอย่าขี้ขลาดบรรยากาศปลอดโปร่งโล่งสมองหยิบน้ำปลาตราสับปะรดให้ทดลองไหนเล่าน้องครีมนวดหน้าทาให้้ทีเนื้อนั้นมีโปรตีนกินเข้าไว้คนเคราะห์ร้ายคลุ้มคลั่งเรื่องหนังผีใช้น้ำคลองกรองเสียก่อนจึงจะดีเห็นมาลีคลี่บานหน้าบ้านเอย"
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๔. อ่านให้เอื้อสัมผัส เรียกว่า คำแปรเสียง เพื่อให้เกิดเสียงสัมผัสที่ไพเราะ เช่น
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
พระสมุทรสุดลึกล้น คณนา
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
(อ่านว่า พฺระ-สะ-หมุด-สุด-ลึก-ล้น คน-นะ-นา)
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้าขอเคารพอภิวาท ในพระบาทบพิตรอดิสร
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
(อ่านว่า ข้า-ขอ-เคา-รบ-อบ-พิ-วาด ใน-พฺระ-บาด-บอ-พิด-อะ-ดิด-สอน
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ขอสมหวังตั้งประโยชน์โพธิญาณ
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
(อ่านว่า ขอ-สม-หฺวัง-ตั้ง-ปฺระ-โหฺยด-โพด-ทิ-ยาน)
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๕. ระวัง ๓ ต อย่าให้ตกหล่น อย่าต่อเติม และอย่าตู่ตัว
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๖. อ่านให้ถูกจังหวะ คำประพันธ์แต่ละประเภทมีจังหวะแตกต่างกัน ต้องอ่านให้ถูกวรรคตอนตามแบบแผนของคำประพันธ์นั้นๆ เช่น มุทิงคนาฉันท์ (๒-๒-๓) "ป๊ะโท่น / ป๊ะโทน /ป๊ะโท่นโท่น บุรุษ / สิโอน / สะเอวไหว อนงค์ / นำเคลื่อน / เขยื้อนไป สะบัด / สไบ / วิไลตา"
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๗. อ่านให้ถูกทำนองของคำประพันธ์นั้นๆ (รสทำนอง)
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๘. ผู้อ่านต้องใส่อารมณ์ตามรสความของบทประพันธ์นั้นๆ รสรัก โศก ตื่นเต้น ขบขัน โกรธ แล้วใส่น้ำเสียงให้สอดคล้องกับรสหรืออารมณ์ต่างๆ เหล่านั้น
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๙. อ่านให้เสียงดัง (พอที่จะได้ยินกันทั่วถึง)ไม่ใช่ตะโกน
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๑๐. เวลาอ่านอย่าให้เสียงขาดเป็นช่วงๆ ต้องให้เสียงติดต่อกันตลอด เช่น "วันจันทร มีดารากร เป็นบริวาร เห็นสิ้นดินฟ้า ในป่าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้านอรชร"
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๑๑. เวลาจบให้ทอดเสียงช้าๆ
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๕. ประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านทำนองเสนาะ
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๑. ช่วยให้ผู้ฟังเข้าถึงรสและเห็นความงามของบทร้อยกรองที่อ่าน
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๒. ช่วยให้ผู้ฟังได้รับความไพเราะและเกิดความซาบซึ้ง (อาการรู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ง)
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๓. ช่วยให้เกิดความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๔. ช่วยให้จดจำบทร้อยกรองได้รวดเร็วและแม่นยำ
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๕. ช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้เป็นคนอ่อนโยนและเยือกเย็น (ประโยชน์โดยอ้อม)
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง
๖. ช่วยสืบทอดวัฒนธรรม ในการอ่านทำนองเสนาะไว้เป็นมรดกต่อไป

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง

https://wipakot.wordpress.com/author/wipakot/

ข้อใดเป็นการอ่านบทร้อยกรองประเภทฉันท์ที่ถูกต้อง

การอ่านบทร้อยกรองที่ถูกต้องควรอ่านอย่างไร

หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ๑. อ่านออกเสียงคำให้ชัดเจนและถูกต้องตามอักขรวิธี ๒. อ่านนเว้นจังหวะให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์และท่วงทำนองของบทร้อยกรองแต่ละประเภท ถ้า อ่านทำนองเสนาะจะต้องรู้จักการทอดเสียง เอื้อนเสียง หรือการหลบเสียง ๓. น้ำเสียงชัดเจน ไพเราะน่าฟัง เปล่งเสียงไม่เบาหรือดังจนเกินไป

การอ่านร้อยกรองมีอะไรบ้าง

การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง เป็นการอ่านที่มุ่งให้เกิดความเพลิดเพลิน ซาบซึ้งในรสของบท ประพันธ์ซึ่งต้องอ่านอย่างมีจังหวะ ลีลา และท่วงทำนองตามลักษณะคำประพันธ์แต่ละชนิด มีวิธีออกเสียงได้ ๒ อย่าง คือ ออกเสียงอย่างการอ่านร้อยแก้ว และออกเสียงเป็นทำนองเสนาะ

การอ่านร้อยกรองประเภทใดที่ต้องเน้นคำ ครุ

ฉันท์เป็นร้อยกรองของไทยรูปแบบหนึ่ง โดยถ่ายแบบมาจากอินเดีย คำประพันธ์ประเภทฉันท์มีความแตกต่างจากโคลงและกลอนตรงที่มีการบังคับ “คำครุ” และ “คำลหุ” ด้วย คำครุ คือ คำหนัก หมายถึง คำที่ออกเสียงหนัก ได้แก่

วิธีการอ่านแบบทอดเสียงในการอ่านบทร้อยกรองใช้เมื่อใด

(๒) การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านร่ายเมื่ออ่านถึงค ารับสัมผัส ผู้อ่านต้อง เน้นเสียง หรือทอดเสียงให้เหมาะกับเนื้อความ และต้องทอดเสียงท้ายวรรคทุกวรรค เมื่ออ่านถึง ตอนจบซึ่งจบด้วยโคลงสอง ให้เอื้อนเสียงท้ายวรรคให้ยาวนานกว่าทอดเสียงท้ายวรรคอื่นๆ เพื่อ ให้ผู้ฟังทราบว่าเรื่องที่ฟังอยู่ก าลังจะจบ