ข้อ ใด ไม่ใช่ ลักษณะของ กฎหมายอาญา

1. ความผิดเกี่ยวกับชีวิต เป็นความผิดที่ทำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายไม่ว่าจะได้กระทำโดยเจตนาให้ตายหรือไม่ มีความผิดที่สำคัญได้แก่

Show

1.1 ความผิดฐานฆ่าผู้อื่น เช่น การฆ่าคนตายไม่ว่าจะด้วยวิธีใด ๆ เจตนาหรือไม่ แม้แต่การกระทำโดยประมาท ย่อมเป็นความผิดทั้งสิ้น รวมทั้งเป็นการกระทำเพื่อป้องกันตัว ซึ่งจะต้องสืบพยานในชั้นศาล การฆ่าคนบางประเภทจะได้รับโทษหนักขึ้น เช่น ฆ่าพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย เจ้าพนักงานหรือผู้ช่วยพนักงานตามกฎหมาย การฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน หรือฆ่าเพื่อการกระทำผิดอย่างอื่น เช่น ฆ่าเพื่อชิงทรัพย์ ฆ่าเพื่อข่มขืน ฆ่าเพื่อปกปิดความลับ เป็นต้น

1.2 การช่วยยุยงให้ผู้อื่นหรือเด็กฆ่าตนเอง ถ้ามีการกระทำเกิดขึ้นก็มีความผิดเกี่ยวกับชีวิตเช่นเดียวกัน (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});

2. ความผิดเกี่ยวกับร่างกาย คือ ทำร้ายผู้อื่นอันเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ มี 4 ลักษณะ

2.1 ทำร้ายร่างกายโดยไม่มีอันตราย เช่น ผลักล้ม เป็นความผิดอาจเปรียบเทียบเป็นค่าปรับได้

2.2 ทำร้ายร่างกายโดยไม่มีอันตราย เช่น ใช้ไม้ตีศีรษะแตก (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});

2.3 ทำร้ายร่างกายโดยได้รับอันตรายสาหัส เช่น เจตนาผลักผู้อื่นล้มจนเป็นอัมพาต เป็นความผิดอาญาแผ่นดินยอมความไม่ได้

2.4 ทำร้ายร่างกายจนถึงแก่ชีวิต เช่น ใช้ปืนยิงผู้อื่นเสียชีวิต มีความผิดฐานฆ่าคนตาย

3. ความผิดที่กระทำโดยประมาทต่อชีวิตและร่างกาย กฎหมายได้บัญญัติให้รับผิดในการกระทำโดยประมาท สามารถแยกได้ตามความหนักเบา คือ (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});

3.1 การกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย เป็นการกระทำโดยผู้กระทำมิได้มีเจตนาฆ่าหรือเจตนาทำร้าย แต่การกระทำปราศจากความระมัดระวัง เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย จึงเป็นความผิดและได้รับโทษ

3.2 การกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส เช่น ทำให้ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด เสียอวัยวะสำคัญ ทุพลภาพหรือเจ็บป่วยเรื้อรังอาจถึงตลอดชีวิต

3.3 การกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ เช่น ตีศีรษะแตก กักขังไว้แล้วปล่อยเสียงรบกวนประสาทจนสติคลุ้มคลั่ง (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});         1. กฎหมายอาญาต้องแน่นอนชัดเจนคือ “ถ้อยคำ” ในบทบัญญัติกม.อาญาต้องมีความชัดเจนหลีกเลี่ยงถ้อยคำที่จะทำให้การตัดสินคดี ขึ้นอยู่กับความรู้สึกที่เป็นอัตวิสัย และอำเภอใจผู้พิจารณาคดี        2. ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง (การให้เหตุผลโดยอ้างความคล้ายคลึงกัน) ลงโทษทางอาญาแก่บุคคล        3. กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังไปลงโทษการกระทำที่ผ่านมาแล้วเป็นกม.ที่ใช้ใน ขณะกระทำการนั้นกม.อาญาในที่นี้ คือ บทบัญญัติที่กำหนดเกี่ยวกับการกระทำผิดและโทษ (Nullum crimen, nulla peona sina lega หรือ No crime, no punishment without law)        4. กฎหมายอาญาต้องแปลหรือตีความโดยเคร่งครัด ความเข้าใจที่ว่าหากตีความตามตัวอักษรแล้วหากข้อความนั้นไม่ชัดเจนจึงค่อย พิจารณาถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ที่ถูกต้องคือ การตีความกฎหมายอาญาจะต้องตีความทั้งตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมายไป พร้อมๆกัน โดยไม่สามารถเลือกตีความอย่างใดอย่างเพียงอย่างเดียวก่อนหรือหลังได้ การตีความกฎหมายดังที่กล่าวมาจึงอาจมีการตีความอย่างแคบหรืออย่างกว้างก็ได้ ทั้งนี้ เกิดจากการพิจารณาตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมายไปพร้อมๆกัน โดยอาจกล่าวได้ว่ามีแต่การตีความกฎหมายนั้นมีแต่การตีความโดยถูกต้องเท่า นั้น และการที่กฎหมายอาญาจะต้องตีความโดยเคร่งครัดนั้น หมายความว่า ห้ามตีความกฎหมายเกินตัวบท โดยในกรณีที่เกิดช่องว่างของกฎหมายขึ้นจากการตีความที่ถูกต้องแล้ว จะไม่สามารถนำกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่ง (Analogy) มาปรับใช้เพื่อลงโทษผู้กระทำได้        5. ห้ามใช้จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นลงโทษทางอาญาแก่บุคคล เพราะตัวบทมาตรา 2 ใช้คำว่า “บัญญัติ” และสอดคล้องกับข้อ 1 เพราะจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นเรื่องของแต่ละท้องถิ่น ไม่ชัดเจนแน่นอน แตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์           ในอดีตโทษที่รัฐนำมาใช้มีลักษณะที่เป็นการทรมานผู้กระทำความผิดหรือมีความโหดร้าย เพื่อให้ผู้ที่คิดจะกระทำความผิดนั้นเกิดความเกรงกลัวต่อกฎหมาย ไม่คิดที่จะกระทำความผิดเช่นนั้นอีก แต่ปัจจุบันจากอิทธิผลของสิทธิมนุษยชนทำให้แนวคิดในการลงโทษด้วยวิธีดังกล่าวไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ทำให้ประเทศต่าง ๆ ต้องพัฒนาวิธีการลงโทษทางอาญาที่เหมาะสมและไม่ทารุณต่อผู้กระทำความผิด ซึ่งในปัจจุบันโทษทางอาญาของไทยมีอยู่ด้วยกัน 5 สถาน เรียงจากหนักไปหาเบา ดังนี้ (1) ประหารชีวิต (2) จำคุก (3) กักขัง (4) ปรับ (5) ริบทรัพย์สิน ลักษณะของกฎหมายอาญามีอะไรบ้าง

เอกลักษณ์ของกฎหมายอาญา หลัก “ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฎหมาย” ประมวลกฎหมายอาญา ม.2 1) กฎหมายอาญาต้องบัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง 2) จะนาจารีตประเพณีมาใช้ลงโทษแก่บุคคลไม่ได้ 4) กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลัง 3) ต้องตีความโดยเคร่งครัด

ข้อใดคือลักษณะสําคัญของกฎหมายอาญา

หลักเกณฑ์สำคัญ ของประมวลกฎหมายอาญา มีดังนี้ (1) จะไม่มีความผิดโดยไม่มีกฎหมาย [1] (2) จะไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย โทษอย่างไรก็ต้องลงอย่างนั้น จะให้ลงโทษอย่างอื่นไม่ได้ (3) จะต้องตีความกฎหมายอาญาโดยเคร่งครัด

ลักษณะการกระทําความผิดทางอาญา มีอะไรบ้าง

ความผิดทางอาญามี 2 ประเภทคือ 1. ความผิดในตัวเอง คือความผิดที่คนทั่วไปเห็นชัดเจนว่าเป็นความผิดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน 2. ความผิดเพราะกฎหมายห้าม คือความผิดที่เกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นความผิด โดยอาจมิได้เกี่ยวกับศีลธรรมเลย ซึ่งหากกล่าวถึงทฤษฎีกฎหมายสามยุค ความผิดเพราะกฎหมายห้ามอยู่ในยุคกฎหมายเทคนิค

ความผิดที่กฎหมายอาญากําหนดไว้มีทั้งสิ้น 12 ลักษณะได้แก่อะไรบ้าง

CONTENT. ความผิดฐานลักทรัพย์ -- ความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ -- ความผิดฐานชิงทรัพย์ -- ความผิดฐานปล้นทรัพย์ -- ความผิดฐานกรรโชกทรัพย์และรีดเอาทรัพย์ -- ความผิดฐานฉ้อโกง -- ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ -- ความผิดฐานยักยอก -- ความผิดฐานรับของโจร -- ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ -- ความผิดฐานบุกรุก