ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

1. โต๊ะเขียนแบบ หรือกระดานเขียนแบบ (Drawing Board) ใช้รองกระดาษเขียนแบบ ในกรณีที่ไม่มีโต๊ะเขียนแบบให้ใช้กระดานเขียนแบบแทนก็ได้

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

2. ไม้ฉากรูปตัวที (T - Square) มีลักษณะคล้ายรูปตัว T ซึ่งมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนหัว (Fixed Head) และส่วนตัวไม้ทีประกบกันเป็นมุม 90 องศา ใช้สำหรับเขียนเส้นตรงในแนวนอน หรือเส้นระดับอย่างเดียวเท่า นั้น ซึ่งจะต้องใช้ร่วมกับโต๊ะเขียนแบบหรือกระดานเขียนแบบ พร้อมนี้จะต้องใช้ร่วมกับฉากสามเหลี่ยม (Set - Square) สำหรับลากเส้นให้เป็นมุมต่าง ๆ ลักษณะของไม้ฉากที หรือ T - Square ที่ดีนั้น หัวไม้ฉากทีต้องไม่โยกคลอนยึดติดกันแน่นกับก้านไม้ตัวขวางของไม้ฉากที ขอบบนของตัวไม้ฉากทีต้องเรียบและตรงไม่บิดงอ การเขียนเส้นนอน ต้องลากเส้นจากซ้ายไปขวาเสมอ หัวไม้ฉากทีแนบกับโต๊ะเขียนแบบด้านซ้ายมือจรดปลายดินสอให้เอนไปในทิศทางของการลากเส้นทำมุมกับกระดาษเขียนแบบเป็นมุม 60 องศา ขณะเดียวกันให้ดินสอเอนออกจากขอบบรรทัดเล็กน้อย เพื่อให้ปลายดินสออยู่ชิดขอบบรรทัดมากที่สุด ในขณะที่ลากเส้น ควรหมุนดินสอไปด้วย ซึ่งจะช่วยรักษาปลายไส้ดินสอ เป็นกรวยแหลม และช่วยให้เส้นดินสอโตสม่ำเสมอกัน

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

3. ฉากสามเหลี่ยม (Set - Square) ชุดหนึ่งมีอยู่ ๒ แบบ มีมุมต่างกันดังนี้ อันแรกเรียกว่า ฉาก 30 60, และ 90 องศา ส่วนอันที่ 2 เรียกว่า ฉาก 45,  และ 90 องศา การเขียนมุมของฉากสามเหลี่ยมทั้ง 2 อันนี้ จะต้องใช้ร่วมควบคู่กับไม้ฉากทีทุกครั้ง ในขณะทำการปฏิบัติงานเขียนแบบ ฉากสาม เหลี่ยมใช้สำหรับเขียนเส้นตรงในแนวดิ่ง และเส้นเอียงทำมุมต่าง ๆ เวลาเขียนเส้นดิ่งให้ลากดินสอขึ้นไปตามแนวดิ่ง จับดินสอให้เอนไปในทิศ ทางของการลากเส้น ทำมุม 60 องศา กับกระดานเขียนแบบ และให้ดินสอเอนออกจากตัวฉากสามเหลี่ยมเล็กน้อย

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

4. วงเวียน เป็นอุปกรณ์สำหรับเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง ด้วยดินสอดำหรือหมึกก็ได้ วงเวียนมีหลายแบบ สามารถเลือกใช้แล้วแต่ความสำคัญของความต้องการในแต่กรณี วิธีเขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง ให้ปรับขาวงเวียนที่เป็นเหล็กแหลม ให้ยาวกว่าข้างที่เป็นไส้ดินสอเล็กน้อย ใช้ปลายแหลม ปักลงตรงจุดที่กำหนดให้เป็นศูนย์กลางของวงกลม ปรับขาวงเวียนจนกางได้ระยะเท่ากับรัศมีที่ต้องการจับก้านวงเวียนไว้ระหว่างนิ้วหัวแม่ มือกับนิ้วชี้ หมุนวงเวียนเอนไปในทิศทางของการลากเส้นเล็กน้อย พยายามเขียนวงกลมให้สมบูรณ์ โดยการหมุนวงเวียนไปเพียงครั้งเดียว

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

5. ดินสอดำ หรือดินสอเขียนแบบ (Drawing Pencil) ดินสอเขียนแบบทำด้วยไส้ดินสอที่มีระดับความแข็งต่างกันความแข็งของไส้ดินสอมีการระบุไว้บนแท่งดินสอด้วยตัวเลขและตัวอักษร ดินสอที่ใช้ในการเขียนแบบ ควรมีความอ่อนแข็งดังนี้ 2H, 3H, H, HB อย่างน้อยควรมี 4 แท่ง คือ ดินสอที่มีไส้อ่อนได้แก่เกรด F, HB ไส้ขนาดกลาง H – 2H ไส้แข็ง 4H – 5H ในงานเขียนแบบปัจจุบันนี้นิยมใช้ดินสอสำเร็จแบบไส้เลื่อน หรือไส้กด เพราะสะดวกรวดเร็ว ไม่เสียเวลาต่อการเหลาดินสอ มีความยาวคงที่ บรรจุไส้ใหม่สะดวก ทำให้งานสะอาด ไม่สกปรก    

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

6. ยางลบ ควรเป็นยางลบชนิดนุ่ม ๆ มีคุณภาพใช้ลบดินสอดำที่เขียนผิด หรือลบในสิ่งที่ต้องการจะลบ

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

7. กระดาษเขียนแบบ มีทั้งขนาดความหนา 80 ปอนด์ ถึง 100 ปอนด์ เป็นชนิดไม่มีเส้นขนาดความกว้างความยาวแล้วแต่จะต้องการเขียนหรือต้องการใช้ขั้นตอนการติดกระดาษเขียนแบบที่ปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอนต่าง ๆ

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

8. ผ้ายาง หรือเทปกาว (Scotch Tape) ใช้ติดกระดาษเขียนแบบกับโต๊ะเขียนแบบ หรือกระดานเขียนแบบให้แน่นในขณะเขียนแบบทุกครั้ง เพื่อป้องกันกระดาษเลื่อน การติดกระดาษเขียนแบบที่ถูกวิธีนั้น ต้องติดขวางมุมกระดาษเขียนแบบทั้ง 4 มุมกระดาษ

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน

9. บรรทัดสเกล (Scale) ใช้สำหรับย่อส่วนตามต้องการ มีลักษณะเป็นแท่งสามเหลี่ยม 6 ด้าน ในแต่ละด้านจะมีมาตราส่วนย่อไว้ดังนี้ 1 : 20, 1 : 25, 1 : 50, 1 : 75, และ 1 : 100

ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของบรรทัดเลื่อน