ข้อใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับ รัตนโกสินทร์ตอนต้น

การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)

ข้อใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับ รัตนโกสินทร์ตอนต้น

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้มีการจารึกในประวัติศาสตร์ว่า เป็นยุคที่มีการจัดเก็บภาษีอากรรุ่งเรืองมาก การก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 1893 ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทอง ได้สร้างพระนครขึ้นที่ริมหนองโสน แล้วทำการราชาภิเษกทรงพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดี ขนานนามราชธานีว่า กรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา ในช่วงตลอดอายุกรุงศรีอยุธยา เป็นเวลา 417 ปี บ้านเมืองมีทั้งความเจริญและความเสื่อม ในสมัยที่บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองมาก คือ สมัยสมเด็จพระรามาธิบดี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แต่ในบางรัชสมัยพระมหาธรรมราชาและพระเพทราชา การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือที่เรียกกันในสมัยนั้นว่า ส่วยสาอากร ได้มีการแบ่งการจัดเก็บออกเป็น 4 ประเภท คือ จังกอบ อากร ส่วย และฤชา โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. จังกอบ หรือ จำกอบ เป็นภาษีที่เรียกเก็บจากการชักส่วนสินค้า ที่นำเข้ามาจำหน่ายตามที่ได้อธิบายข้างต้น

2. อากร หมายถึง ส่วนที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎรทำมาหาได้ในการประกอบการต่างๆเช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน ฯลฯ หรือการได้รับสิทธิจากรัฐบาลไปกระทำการ เช่น ต้มกลั่นสุรา เก็บของในป่า จับปลาในน้ำ ฯลฯ เช่น อากรค่านา อากรสวน อากรสุรา อากรค่าน้ำ เป็นต้น การเก็บอากรอาจจัดเก็บเป็นตัวเงินหรือเป็นสิ่งของ ถือเป็นภาษีที่จัดเก็บตามหลักผลประโยชน์ที่ได้รับจากรัฐไม่ทางตรงก็ทางอ้อม

3. ส่วย ความหมายของส่วย สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงสันนิษฐานว่า คำว่า ส่วย

ข้อใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับ รัตนโกสินทร์ตอนต้น

- สิ่งของที่รัฐบาลเรียกร้องเอาจากเมืองที่อยู่ภายใต้ปกครอง หรืออยู่ในความคุ้มครองเป็นค่าตอบแทนการปกครองหรือคุ้มครอง ส่วยตามความหมายนี้จึงมีลักษณะเป็นเครื่องราชบรรณาการ

- เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล เนื่องจากสังคมไทยแต่ดั้งเดิม มีระบบเกณฑ์แรงงานจากราษฎร โดยรัฐไม่ต้องจ่ายค่าจ้าง แต่จะให้ความคุ้มครองทางกฎหมายเป็นการตอบแทน ทั้งนี้เดิมราษฎรที่ถูกเกณฑ์แรงงาน จะมาประจำการเป็นเวลาปีละ 6 เดือน โดยผู้ที่ไม่มารับราชการเมื่อถึงเวรของตน จะต้องเสียส่วยเรียกว่า ส่วยแทนแรง เพื่อที่ราชการจะได้จ้างคนมาทำงานแทน ส่วยแทนแรง เพื่อที่ราชการจะได้จ้างคนมาทำงานแทน ส่วยแทนแรงนี้ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเงินรัชชูปการในระยะต่อมา ( รัชกาลที่ 6 )

- เงินที่ทางราชการกำหนดให้ราษฎรร่วมรับภาระในการกระทำบางอย่าง เช่น เกณฑ์ให้ช่วยสร้างป้อมปราการ เป็นต้น

- ทรัพย์มรดกของผู้มรณภาพซึ่งต้องถูกริบเป็นของหลวง อันเนื่องจากเกินกำลังของทายาทที่จะเอาไว้ใช้สอย เป็นต้น

4. ฤชา คือค่าธรรมเนียมที่ทางราชการเรียกเก็บจากราษฎรซึ่งได้รับประโยชน์จากรัฐเป็นการเฉพาะตัว เช่น ผู้ใดจะขอโฉนดตราสาร เพื่อมิให้ผู้อื่นบุกรุกแย่งชิงที่เรือกสวนไร่นา จักต้องเสียฤชาแก่รัฐ เป็นต้น ฤชาที่สำคัญได้แก่ ค่าธรรมเนียม และค่าปรับทางการศาล

เมื่อพิจารณาตามลักษณะการจัดเก็บภาษีอากรข้างต้น จะเห็นว่ามีการจัดเก็บภาษีทั้งในรูปของการบังคับจัดเก็บจะได้รับประโยชน์ในทางอ้อม คือ กรณีจังกอบและส่วย ส่วนอีกกรณีหนึ่งคือในรูป ที่ผู้ถูกจัดเก็บจะได้รับผลประโยชน์จากรัฐโดยตรง คือ อากรและฤชา

ในขณะเดียวกัน เมื่อมีการศึกษาค้นคว้าถึงวิวัฒนาการในด้านการบริหารงานจัดเก็บในสมัยกรุงศรีอยุธยา จะพบว่าในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นช่วงเวลาที่มีการปฏิรูประบบการปกครองแผ่นดินครั้งใหญ่ ทั้งในด้านการวางระเบียบทางการคลัง การส่วยสาอากร ฯลฯ โดยพระองค์ได้ทรงแบ่งการบริหารการปกครองออกเป็น 4 ส่วน เรียกว่า จตุสดมภ์ โดยแต่ละส่วนมีหน้าที่ดังนี้

ข้อใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับ รัตนโกสินทร์ตอนต้น

  • เวียง เรียกว่า นครบาล มีหน้าที่ราชการปกครองท้องที่ และดูแลทุกข์สุขของราษฎรพลเมือง
  • วัง เรียกว่า ธรรมธิกรณ์ มีหน้าที่ว่าราชการศาลหลวง และว่าราชการอรรถคดีในพระราชสำนัก
  • คลัง เรียกว่า โกษาธิบดี มีหน้าที่ราชการจัดการพระราชทรัพย์ เก็บส่วยสาอากรซึ่งเป็นผลประโยชน์แผ่นดิน
  • นา เรียกว่า เกษตราธิบดี มีหน้าที่ปฏิบัติราชการเกี่ยวกับ เรื่องนาและสวน การเพาะปลูกพืชพันธุ์ธัญญาหาร ทั้งนี้โดยรูปแบบการบริหารงานฯของพระองค์ข้างต้น ได้ถูกใช้เป็นแบบอย่างรูปแบบการปกครองต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

ที่มา :: หนังสือที่ระลึกในการเปิดอาคารกรมสรรพากร 2 กันยายน 2540

คะแนนเต็ม 30 คะแนน ข้อสอบมี 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน

1.คุณสมบัติพื้นฐานสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์คือข้อใด *

มีความรู้ทางประวัติศาสตร์.

มีจิตนาการต่อเรื่องราวต่างๆ

2.การวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักฐานชิ้นหนึ่งกับหลักฐานชิ้นอื่น มีจุดประสงค์เพื่ออะไร *

เพื่อพิจารณาความน่าเชื่อถือของหลักฐาน

เพื่อพิจารณาว่าเป็นหลักฐานปลอมหรือไม่

เพื่อพิจารณาว่าหลักฐานใดคือหลักฐานชั้นต้น

เพื่อจัดหมวดหมู่หลักฐานที่สอดคล้องกันเข้าไว้ด้วยกัน

3.ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการวิเคราะห์เรื่องราว หรือเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ *

ทำให้ได้รับการยกย่องจากคนในสังคม

ทำให้มีความคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล

ทำให้สามารถแยกแยะเรื่องราวต่างๆ ได้ดี

ทำให้มีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล

4.จากคำกล่าวที่ว่า "รูปแบบการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น จำลองมาจากสมัยอยุธยาตอนปลาย" นักเรียนสามารถทราบได้จากอะไร *

การดำเนินชีวิตของราษฎรทั่วไป

5.รายได้หลักของราชการไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้มาจากอะไร *

6.สินค้าในข้อใดจัดเป็นสินค้าต้องห้ามในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งห้ามนำเข้ามาจำหน่ายในราชอาณาจักร *

7.ชนชั้นใดที่เป็นเจ้าชีวิตและได้รับการยกย่องจากราษฎร ว่ามีลักษณะเป็นสมมุติเทพ และธรรมราชา *

8.ระบบศักดินาส่งผลต่อสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ในข้อใดมากที่สุด *

เกิดระบบชนชั้นในสังคมมากที่สุด

เกิดการแบ่งอำนาจการปกครองที่ชัดเจน

เกิดการกระจายการถือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน

ทำให้คนในสังคมมีฐานะและอภิสิทธิ์ที่เท่าเทียมกัน

9.ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเตรียมรับศึกพม่าในสงครามเก้าทัพ แตกต่างจากสงครามครั้งก่อนๆ อย่างไร *

ยกทัพใหญ่ไปตั้งรับข้าศึกถึงชายแดน

10.ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ถูกต้อง *

ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของการทำสงคราม

จะเป็นการค้าขายแบบถ้อยทีถ้อยอาศัย

ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมักมีชาวตะวันตกเข้ามาแทรกแซง

ไทยต้องเข้าไปช่วยไกล่เกลี่ยเพื่อยุติสงครามภายในเป็นบางครั้ง

11.การจัดตั้งสภาที่ปรึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ใด *

12.ถ้านักเรียนต้องรับผิดชอบในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตให้กับชาติตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ 5 ควรต้องทำตามข้อใด *

ตัดสัมพันธ์กับชาติตะวันตก

13.หัวใจสำคัญของการปฎิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร *

การตั้งหน่วยงานให้เหมาะสมกับบ้านเมือง

14.สนธิสัญญาบราว์ริงมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของไทยข้อใดมากที่สุด *

15.ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการปฎิรูปการศึกษาของไทย สมัยรัชกาลที่ 5 *

เพื่อเอาใจชาติตะวันตกที่พัฒนาแล้ว

รองรับแรงงานที่กำลังขยายตัว

ให้ไทยมีความทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ

สร้างบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถเพื่อรับราชการ

16.การวางระเบียบปฎิบัติให้กับพระสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ของสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ เมื่อครั้งทรงผนวช ก่อให้เกิดผลสำคัญอย่างไร *

ทำให้คนไทยนิยมบวชเป็นพระสงฆ์มากขึ้น

เกิดความแตกแยกระหว่างพระสงฆ์สองนิกาย

พระสงฆ์เข้าไปมีบทบาทในการปกครองอาณาจักร

เกิดการปรับปรุงข้อวัตรปฎิบัติให้รัดกุมยิ่งขึ้นในหมู่พระสงฆ์มหานิกาย

17.ข้อใดเป็นผลจากการตราพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหาร ร.ศ.124 *

ยกเลิกระบบไพร่โดยสิ้นเชิง

ทำให้รู้กำลังพลได้อย่างถูกต้อง

การเข้ารับราชการเป็นระบบมากขึ้น

ป้องกันผู้ที่หลบเลี่ยงการเป็นทหารได้

18.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของสนธิสัญญาบราว์ริง *

ให้มีการเปิดเสรีทางการค้า

ไทยเก็บภาษาีสินค้าขาเข้าได้เพียงร้อยละ 3

พ่อค้าและผู้ซื้อสามารถขายสินค้าทุกชนิดได้ทั่วประเทศ

ชาวอังกฤษและคนในบังคับอังกฤษต้องขึ้นศาลกงศุลอังกฤษ

19.การที่ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ส่งผลดีต่อประเทศไทยอย่างไร *

ได้ดินแดนที่เคยเสียไปกลับคืน

ได้แก้ไขสนธิสัญญาที่เสียเปรียบ

สามารถขยายตลาดการค้าได้กว้างขวาง

ได้เงินกู้จากต่างประเทศเพื่อนำมาพัฒนาประเทศ

20.ดร.ฟรานซิส บี แซร์ เป็นผู้แทนไทยในการเจรจากับต่างประเทศในเรื่องใด *

ต่อรองลดราคาค่าปฎิกรรมสงคราม

แก่ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค

ขอปรับปรุงเส้นเขตแดนกับฝรั่งเศษ

21.สาเหตุสำคัญที่ทำให้คณะราษฎ์ ยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คือข้อใด *

ความกลัวจะเสียอำนาจของขุนนาง

22.การจัดตั้งขบวนการเสรีไทยของคนไทยผู้รักชาติ ส่งผลดีต่อชาวไทย ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงอย่างไร *

23เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงต้องมีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ *

เป็นแนวทางการบริหารงานของรัฐบาล

เป็นแนวทางสำหรับการลงทุนในอนาคต

เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ

เป็นแนวทางในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรให่เกิดประโยชน์สูงสุด

24.ข้อใดเป็นพื้นฐานทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย *

พระมหากษัตริย์ ประชาธิปไตย

25.จากพระราชนิพนธ์ เรื่องพระมหาชนก คนไทยสามารถนำเรื่องใดไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน *

26.ทุกข้อกล่าวถึงที่ตั้งของทวีปยุโรบได้ถูกต้อง ยกเว้นข้อใด *

27.ความพยายามที่จะล้มเลิกระบบเก่าก่อนการปฎิวัติฝรั่งเศษ กระทำขึ้นเพื่อเหตุผลในข้อใด *

เพื่อจัดกฎหมายให้เป็นระบบ

เพื่อความเสมอภาคทางสังคมและการเมือง

เพื่อลดอำนาจความขัดแย้งของสภาฐานันดร

28.การสำรวจทางทะเลและการแสงหาอาณานิคม ส่งผลดีต่อการปฎิวัติอุตสาหกรรมในลักษณะใด *

มีแหล่งวัตถุดิบและตลาดสินค้ามาก

มีการคมนาคมติดต่อถึงกันทั่วโลก

มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างทวีปยุโรบกับทวีปเอเชีย

29.สงครามกลางเมืองอเมริกัน คศ.1861-1865 มีสาเหตุสำคัญมาจากอะไร *

การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ

ความไม่พอใจเรื่องสีผิวและเชื้อชาติ

30."มูลาตโต" เป็นคำที่ใช้เรียกพวกที่มีเชื้อชาติผสมระหว่างข้อใด *

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นหมายถึงข้อใด

การพัฒนาของไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น หมายถึง ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 3 ซึ่งนับว่าเป็นระยะเชื่อมต่อระหว่างประวัติศาสตร์ไทยยุคเก่ามาสู่การปฏิรูป และพัฒนาประเทศตามแบบอารยธรรมตะวันตกในยุคปัจจุบัน ความเจริญในด้านต่างๆ ในช่วงนี้คือ - การปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขสูงสุด

ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นต้นในสมัยรัตนโกสินทร์

หลักฐานทางประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ 1. หลักฐานชั้นต้น เช่น พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ หนังสือประชุมพงศาวดาร ประชุม หมายรับสั่งสมัยรัตนโกสินทร์ จดหมายเหตุ กฎหมายตราสามดวง ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 และราชกิจจา นุเบกษา พระราชหัตถเลขา

ข้อใดกล่าวถึงตำแหน่งวังหน้าในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้ถูกต้องที่สุด

Q. ข้อใดกล่าวถึงตำแหน่งวังหน้าได้ถูกต้องที่สุด เป็นตำแหน่งเทียบเท่าอุปราช พระยศของกรมพระราชวังบวรสถานภิมุข

รูปแบบการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นแบบใด

การปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จนถึง รัชกาลที่ 5 ได้มีการปฏิรูปการปกครองการบริหารที่สำคัญของชาติไทยโดยมีมูลเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด การปกครอง คือ มูลเหตุที่ทำให้มีการปรับปรุงการปกครอง