ชุมชนเจ้าฝาง ปัจจุบันคือจังหวัดใด

ชุมชนเจ้าฝาง ปัจจุบันคือจังหวัดใด

                 กองทัพพระยายมราชกับพระยาพิชัยราชา  เมื่อยกไปถึงเมืองสวางคบุรีแล้วก็ล้อมเมืองไว้  เจ้าพระฝางรักษาเมืองไว้ได้ 3 วัน  ก็นำกำลังยกออกจากเมือง ตีฝ่าวงล้อมหนีขึ้นไปทางเหนือ  ชุมนุมเจ้าพระฝางก็ตกอยู่ในอำนาจกรุงธนบุรี
เมื่อพระเจ้ากรุงธนบุรีปราบชุมนุมเจ้าพระฝางได้แล้ว  ก็เท่ากับได้เมืองเหนือกลับมาทั้งหมด พระองค์ได้ประทับจัดการปกครองเมืองเหนืออยู่ตลอดฤดูน้ำ  เกลี้ยกล่อมราษฎรที่แตกฉานซ่านเซ็น ให้กลับมาอยู่ตามภูมิลำเนาเดิม  จัดการสำรวจไพร่พลในเมืองเหนือทั้งปวง  พบว่า เมืองพิษณุโลกมีพลเมือง15,000 คน  เมืองสวรรคโลก มี 7,000 คน  เมืองพิชัย รวมทั้งเมือง สวรรคบุรี มี 9,000 คน  เมืองสุโขทัย มี 5,000 คน  เมืองกำแพงเพชร  และเมืองนครสวรรค์ มีเมืองละ 3,000 คนเศษ  จากนั้นได้ทรงตั้งข้าราชการซึ่งมีบำเหน็จความชอบในการสงครามครั้งนั้นคือ
พระยายมราช ให้เป็นเจ้าพระยาสุรสีห์พิษณวาธิราช  อยู่สำเร็จราชการเมืองพิษณุโลก
พระยาพิชัยราชา  ให้เป็นเจ้าพระยาพิชัยราชา  สำเร็จราชการเมืองสวรรคโลก
พระยาสีหราชเดโชชัย  ให้เป็นพระยาพิชัย
พระยาท้ายน้ำ  ให้เป็นพระยาสุโขทัย
พระยาสุรบดินทร์  เมืองชัยนาท  ให้เป็นพระยากำแพงเพชร
พระยาอนุรักษ์ภูธร  ให้เป็นพระยานครสวรรค์
เจ้าพระยาจักรี (แขก) นั้นอ่อนแอในสงคราม  มีรับสั่งให้เอาออกเสียจากตำแหน่งสมุหนายก
พระยาอภัยรณฤทธิ์ ให้เป็นพระยายมราช  และให้บัญชาการกระทรวงมหาดไทยแทนสมุหนายกด้วย เมื่อจัดการหัวเมืองเหนือเสร็จแล้ว จึงเสด็จกลับกรุงธนบุรี 

          ในเวลานั้นพม่ายังปกครองเมืองเชียงใหม่อยู่  พระเจ้าอังวะตั้งอภัยคามณี  ซึ่งได้เลื่อนยศเป็นโปมะยุง่วน มาเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่  ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยายังไม่เสียแก่พม่า  เมื่อกองทัพกรุงธนบุรียกขึ้นไปตีเมืองสวางคบุรี  พวกเจ้าพระฝางหนีไปพึ่งพม่าทางเชียงใหม่  โปมะยุง่วน เห็นเป็นโอกาสที่จะแผ่อาณาเขตต่อลงมาทางใต้  จึงยกกองทัพลงมาตีเมืองสวรรคโลก  เมื่อเดือน 3 ปีขาล พ.ศ. 2313  ขณะนั้น เจ้าพระยาพิชัยราชาเพิ่งไปอยู่เมืองสวรรคโลกยังไม่ถึง 3 เดือน  กำลังรี้พลยังน้อยอยู่ แต่เมืองสวรรคโลกมีป้อมปราการสร้างไว้แต่โบราณ ยังมั่นคงแข็งแรงดีอยู่  เจ้าพระยาพิชัยราชาจึงรักษาเมืองมั่นไว้ แล้วบอกหัวเมืองใกล้เคียง ขอกำลังมาช่วยรบพม่า  กองทัพเชียงใหม่ก็ตั้งล้อมเมืองไว้  ครั้นเจ้าพระยาสุรสีห์ พระยาพิชัย พระยาสุโขทัย  ยกกองทัพไปถึง จึงเข้าตีกระหนาบ  กองทัพพม่าก็แตกพ่ายกลับไปโดยง่าย 

3. ��������Ҿ�нҧ ��Ҿ�нҧ���ѧ��Ҫ ���ͧ��ҧ����� ���� ���ͧ�ҧ �Ѩ�غѹ����㹨ѧ��Ѵ�صôԵ�� �ժ��������� ���͹ �繪���˹�� ��ŧ���������¹����ûԮ� � ��ا�����ظ�� �����Ѻ����ѡ�������� �����ѧ���繷���оҡ����� ����ҪҤ�н�����ѭ���� (�ǹ �س¹���, 2513 : 59) ���� � �Ѵ����¸�� ������Ѻ��С�س��ô����� ����駢���繷�����ѧ��Ҫ � ���ͧ��ҧ����� �繷��Ѻ��ͧ͢��ЪҪ��ӹǹ�ҡ ��Ҿ�нҧ����繾�з���դ�������ö�ҧ�Ƿ����Ҷ������ʵ��

4. ��������ҹ����ո����Ҫ ( ˹� ) ��觻�С�������Ҿ��е�駵�������蹴Թ���ҳ�ࢵ��ᴹ������ ����Ҩ��֧����� �繡��������ա��ѧ������С��ѧ�ҧ���ɰ�Ԩ�������蹤�

��ҹ����ո����Ҫ (˹�) ����������Ѻ�Ҫ�������㹡�ا�����ظ�Ҩ����繷����ǧ�Է�Թ�������Ҵ��� �����͡��繻�Ѵ���ͧ�����ո����Ҫ

����͡�ا�����ظ����������� �蹴Թ��ҧ��ѵ���� ��л�Ѵ (˹�) ��й������Ҫ���᷹㹵��˹� ������ͧ�����ո����Ҫ (������Ҫ����Ǵ� ������ͧ����դ����Դ��ͧ�͡�ҡ���˹� (�ǹ �س¹���, 2513 : 59 ) ���駵������Ҥ�ͧ ���ͧ�����ո����Ҫ ����������¡��� ��ҹ�� ������ͧ�ѡ������µ��ѹ����ҧ�Ѻ���������ӹҨ��ҹ�÷����� �Ѻ����繪������˭����˹��

5. �������������෾�ԾԸ ���ͪ�������Ҿ���� ����ա������෾�ԾԸ ���;��ͧ�����ᢡ�����˹�ҫ�ͧ������ѧ������ ���ͧ����� ���ҳ�ࢵ�ǹ���Ҫ���� ������价ҧ���ѹ�͡ ���֧ᴹ��ا����ѵ�Ҥ��ص��С���٪� ŧ�ҷҧ��֧��к��յ�ʹ�ǻ���ѡ �������෾�ԾԸ�ç������㹾�����������Ǻ������觡�ا�����ظ�� ��ǹ��Ъ����繾��ʹ��͡ �ç�Ѻ�Ҫ���㹵��˹������ҡ���ѡ�ҹ �ѹ��ɰҹ����繾���Ҫ����ͧ���˭����Ѻ�Ҫ��� ��ҧ���๵þ�С�ó ��д�ç���˹��Ӥѭ㹡���ѧ����

�������ҿ�ҡ���ع�þԹԵ�����Ҫ���ѵ�����ҿ�ҡ���ع͹��ѡ������� (���稾�з��������������Թ��� ���;������͡��ȹ�) �����͡��Ǫ �������෾�ԾԸ��觷ç�ѡ��ҡ��ǡѺ��ҿ�ҡ���ع�þԹԵ (��ҿ���ط����) �ҡ�͹ �֧���ʴ��͡��Ǫ����Ѵ����� (�Ѵ����������������Ѵ�ҧ�� �������ӵç�ҡ��ͧ���¡Ѻ�٢���˹���ѧ�ѹ������Һ�è��ѹ ��ѧ�Ѵ����͡价ҧ���ѹ�͡���Ѵ��д�������ع�þԹԵ�ʴ稻�зѺ����)

เจ้าพระฝาง เป็นภิกษุชาวเมืองเหนือ เดิมมีชื่อว่า “เรือน” ลงมาศึกษาเล่าเรียนอยู่ในกรุงศรีอยุธยาจนได้เป็นพระพากุลเถระ พระราชาคณะอยู่ ณ วัดศรีอโยธยา ต่อมาพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงตั้งให้ครองตำแหน่งสังฆราชา ณ เมืองสวางคบุรี

เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาแตก พระพากุลเถระได้ซ่องสุมผู้คน ตั้งตัวขึ้นเป็นเจ้าอีกตำบลหนึ่ง โดยมิได้สึกเป็นคฤหัสถ์ไม่ คงอยู่ในเพศสมณะ แต่นุ่งห่มผ้าแดง คนทั้งปวงเรียกว่า “เจ้าพระฝาง” เป็นที่เกรงกลัวของบรรดาเจ้าเมืองกรมการหัวเมืองฝ่ายเหนือตั้งแต่เหนือเมืองพิษณุโลกขึ้นไป

หลักฐานจากพงศาวดารอ้างว่า กองทัพเจ้าพระฝางนอกจากจะเป็นภัยต่อความมั่นคงของศูนย์อำนาจรัฐกรุงธนบุรีแล้ว ยังถูกเสนอในภาพของกลุ่มพระภิกษุที่ไม่ปฏิบัติอยู่ในพระธรรมวินัย (“ประพฤติพาลทุจริตทุศีลกรรมลามกบริโภคสุรา” พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา) การกระทำของพระภิกษุในชุมนุมเจ้าพระฝางจึงอันเป็นภัยต่อทั้งฝ่ายอาณาจักรและฝ่ายพุทธจักร

(ข้อมูลจากบทความ ศึกเจ้าพระฝาง พ.ศ. 2313 : สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกับการปราบ “พวกสงฆ์อลัชชี” ที่เมืองสวางคบุรี โดย ธีระวัฒน์ แสนคำ ใน ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมีนาคม 2559)

คลิกอ่านเพิ่มเติม : ศึกเจ้าพระฝาง เมื่อพระเจ้าตากสินปราบ “พวกสงฆ์อลัชชี” ที่เมืองสวางคบุรี

ขณะที่ ธีระพงษ์ มีไธสง นักวิชาการด้านศาสนาและปรัชญาเสนอว่า “โดยสถานภาพการเป็นพระภิกษุที่มีความรู้ความสามารถได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระราชาคณะ น่าจะมีสามัญสำนึกต่อความอยุติธรรม และมีความเห็นอกเห็นใจประชาชน…ทำให้เจ้าพระฝางซึ่งเป็นผู้นำชุมชนที่ชาวบ้านศรัทธาอยู่แล้ว ลุกขึ้นมาช่วยเหลือชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยไม่ยอมรับอำนาจส่วนกลาง (ธนบุรี) ซึ่งอยู่ห่างไกล และไม่ได้เอื้ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในแง่ของสิทธิและเสรีภาพในการเข้าถึงทรัพยากรของรัฐ แต่ได้เอารัดเอาเปรียบด้วยการเก็บบรรณาการในฐานะเป็นเมืองขึ้นของธนบุรี”

(ข้อมูลจากบทความ พระสงฆ์กับอำนาจรัฐไทย: บทเรียนจากอดีต-พระธรรมยุตสายอีสาน โดย ธีระพงษ์ มีไธสง ใน ศิลปวัฒนธรรม ฉบับกุมภาพันธ์ 2557)

ธีระพงษ์กล่าวต่อไปว่า การที่กองทัพของเจ้าพระฝางถูกตีแตกใน 3 วัน มิใช่เพราะกองทัพอันเกรียงไกรของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แต่เป็นเพราะชุมนุมของเจ้าพระฝางเป็นเพียงการรวมกลุ่มของชาวบ้านที่ได้รับความเดือดร้อนจากอำนาจรัฐ โดยมีพระสงฆ์แสดงบทบาทเป็นผู้นำชุมชนเท่านั้น และการที่เจ้าพระฝางยอมแพ้อย่างง่ายดายอาจเป็นไปเพื่อเลี่ยงความรุนแรงจนเสียเลือดเสียเนื้ออีกด้วย

ธีระพงษ์มองว่า เจ้าพระฝางได้ทำหน้าที่ของพระสงฆ์ในฐานะพระนักพัฒนาที่ไม่ละเลยต่อความทุกข์ยากของประชาชนในขณะนั้น แต่ถูกทำให้เป็นผู้ร้ายในบริบทของประวัติศาสตร์ชาตินิยม เป็นกบฏต่อบ้านเมืองและเป็นอลัชชีในฐานะสงฆ์ที่ละเมิดวินัย

ในทางกลับกัน ธีระพงษ์กล่าวว่า พระอาจารย์ธรรมโชติแห่งหมู่บ้านบางระจัน ที่ได้รับนิมนต์มาปลุกขวัญชาวบ้านเพื่อต่อต้าน “พม่า” โดยการแจกตะกรุด ทำพิธีไสยศาสตร์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ชาวบ้านบางระจันไปทำสงคราม ซึ่งในทางธรรมวินัยถือเป็นการส่งเสริมให้เกิดการละเมิดต่อชีวิต (ปาณาติบาต) แล้ว แต่ประวัติศาสตร์ชาตินิยมกลับเชิดชูให้พระอาจารย์ธรรมโชติเป็นพระเอก เป็นวีรภิกษุไป