วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย

ดินแดนไทยได้รับศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และพระพุทธศาสนามาตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น ทวารดี ในสมัยสุโขทัยรับพระพุทธศาสนาจากนครศรีธรรมราช ทำให้พระพุทธศาสนาเป็นส่วนสำคัญในวิถีชีวิตของคนไทย



วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย


วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย



2.ด้านการเมืองการปกครอง

 รับความเชื่อเรื่องสมมติเทพและกฎหมายพระมนูธรรมศาสตร์ของอินเดียมาเป็นแม่แบบของกฎหมาย ในอดีตประเทศไทยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก การรับศาสนาพราหมณ์ทำให้มีความเชื่อเรื่องกษัตริย์เป็นสมมติเทพตามแนวความเชื่อของอินเดีย ต่อมาได้นำหลักธรรมในพระพุทธศาสนามาผสมผสานเพื่อใช้ในการปกครอง พระมหากษัตริย์จึงเป็นธรรมราชาในเวลาต่อมา


วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย



3.ด้านอักษรศาสตร์ 

ประเทศไทยรับภาษาบาลี สันสฤตจากอินเดียมาใช้ ทำให้ประเทศประเทศไทย มีภาษาที่มีคำในภาษาบาลี สันสฤต ผสมอยู่มากมาย เช่น ชื่อของคนในประเทศไทย รับวรรณคดีอินเดีย เช่น มหากาพย์รามายณะ ซึ่งมีอิทธิพลต่อวรรณคดีของไทย รวมถึงวรรณคดีทางพระพุทธศาสนา เช่น ชาดก


วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย




4.ด้านวิถีชีวิต 

คนไทยได้รับวัฒนธรรมการแต่งกายและวัฒนธรรมการกินอาหารจากอารยธรรมอินเดีย เช่น รับประทานอาหารที่มีเครื่องเทศเป็นส่วนผสม ใส่เสื้อผ้าแบบชาวอินเดีย 


วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย




5.ด้านศิลปะวิทยาการ 

รับรูปแบบสถาปัตยกรรมของพระพุทธศาสนาจากอินเดีย ลังกา เช่น เจดีย์ทรงลังกา พระพุทธรูป


วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย


วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย


วรรณกรรม ใด ที่ วัฒนธรรม ไทย รับ มาจาก อินเดีย



members:


ด.ญ. ปภาดา    จันทราภินันท์ ม.2/7 เลขที่ 23
ด.ญ. พิมพ์พิชชา ฉัตรปัญญาพร ม.2/7 เลขที่ 24
ด.ญ. วิภาวี     หามณี      ม.2/7 เลขที่ 27


ด.ญ. สุรัตน์วดี   พลวงษ์ศรี   ม.2/7 เลขที่ 28


credit:


https://sites.google.com/site/uunntelarning/unit502-2?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1

การติดต่อค้าขายระหว่างชาวอินเดียและชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นสื่อสำคัญที่ก่อให้เกิดการเผยแพร่วัฒนธรรมอินเดียมายังรัฐโบราณแถบนี้ การแลกเปลี่ยนมีมาตั่งแต่ก่อนยุคประวัติศาสตร์ ในช่วงวัฒนธรรมหินใหม่หรือช่วงสังคมเกษตร หลักฐานทางโบราณคดีคือ พบขวานหินขัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและขวานหินแบบมีบ่าอายุในช่วง 4,000 – 2,000 ปี แพร่กระจายไปดินแดนที่ชนเผ่าที่พูดกลุ่มภาษาออสโตรเอเชียติค ได้แก่ภาษาญวน มอญ เขมร ภาษามุณฑะ(ภาษาหนึ่งในอินดีย) กับ ชนเผ่ากลุ่มภาษาออสโตนีเชียน ได้แก่ภาษาอินโดนีเชีย และพวกจาม

เหตุการณ์ที่เป็นแรงกระตุ้นสำคัญที่ทำให้เกิดการเพิ่มปริมาณการค้าขายระหว่างชาวอินเดียและชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะประเทศไทยคือ แต่เดิมอินเดียได้ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยโดยเฉพาะทองคำในบริเวณเมดิเตอร์เรเนี่ยนและเอเชียกลาง แต่ราว พ.ศ.ว. ที่ 4 – 5 ได้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองขึ้นในแถบนี้ ทำให้การคมนาคมในแถบนี้ถูกตัดขาด อินเดียไม่อาจซื้อทองคำในไซบีเรียได้อีกต่อไป จึงหันไปซื้อทองคำในโรมันจนทำให้เศรษฐกิจโรมันกระทบกระเทือนไม่อาจขายทองให้อินเดียได้อีก ด้วยเหตุนี้อินเดียจึงเดินทางมาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อหาแหล่งที่ซื้อทองคำใหม่ และเรียกดินแดนแถบนี้ว่า “สุวรรณภูมิ”

ชาวอินเดียที่เป็นพ่อค้า นักบวชเหล่านี้ได้เดินทางเข้ามาทั้งทางบกและทางน้ำดังที่พบในหลักฐานในจารึก อ.วังไผ่ จ.เพชรบูรณ์ ของกษัตริย์แห่งเจนละ และการพบลูกปัดหินประเภทหินคาเนเลียน หินโอนิกซ์ หินอาเกต ลูกปัดแก้วสีต่าง ๆ ซึ่งมีแหล่งผลิตในอินเดีย แพร่กระจายอยู่ตามแหล่งโบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะที่ค้นพบในประเทศไทย แหล่งโบราณคดีคลองท่อม จ.กระบี่ และ เกาะคอเขา จ.พังงา

          5. ด้านวิถีการดำเนินชีวิต การรับวัฒนธรรมตะวันตกและสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ มาใช้ ทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยแบบเดิมเปลี่ยนแปลงไป เช่น การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหารแทนการใช้มือ การนั่งเก้าอี้แทนการนั่งพื้น การใช้เครื่องแต่งกายแบบตะวันตกหรือปรับจากตะวันตก การปลูกสร้างพระราชวัง อาคารบ้านเรือนแบบตะวันตก ตลอดจนนำกีฬาของชาวตะวันตก เช่น ฟุตบอล กอล์ฟ เข้ามาเผยแพร่ เป็นต้น