การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพใช้ความหนักของการออกกำลังกายระดับใด

​​

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพใช้ความหนักของการออกกำลังกายระดับใด

การออกกำลังกายให้สุขภาพดี ไม่จำเป็นจะต้องหักโหมหรือยุ่งยาก เริ่มต้นอย่างง่ายที่สุดแค่เดินหรือวิ่งก็มีสุขภาพที่ดีขึ้นได้ ส่วนระดับที่เหมาะคือแค่ไหน มาดูกัน!

ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับ “อัตราการเต้นหัวใจหนักสุด” (Max. Heart Rate) กันก่อน ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละบุคคล ขึ้นอยู่กับเพศและอายุ คำนวณง่ายๆ โดยเอานำ 220 - อายุ เช่น อายุ 35 ปี อัตราการเต้นหัวใจหนักสุดจะอยู่ที่ 185 ครั้งต่อนาที แล้วจึงนำมาหาค่าอัตราเต้นของหัวใจในแต่ละ Zone ที่เหมาะสมกับเป้าหมายการออกกำลังกาย อย่างมีประสิทธิภาพ

ระดับการออกกำลังกายที่ Healthy กำลังดี วัดง่าย ๆ จากอัตราการเต้นของหัวใจซึ่งแบ่งเป็น 5 Zone คือ

  • Zone 1: Very Light = 50-60% ของอัตราการเต้นหัวใจหนักสุด (Max. Heart Rate)
    ช่วงวอร์ม ช่วยในการฟื้นฟูสภาพร่างกาย ใช้ลดน้ำหนักได้เล็กน้อย จะยังรู้สึกสบายไม่มีอาการเหนื่อย
  • Zone 2: Light = 60-70% ของอัตราการเต้นหัวใจหนักสุด (Max. Heart Rate)
    ช่วงฟิตเนส ช่วยลดน้ำหนักไขมันส่วนเกินได้ดีที่สุดและเพิ่มความแข็งแรงได้ดี พลังงานที่ใช้จะดึงมาจากไขมันส่วนเกินในร่างกายโดยขณะออกกำลังจะรู้สึกเหนื่อยเพียงเล็กน้อย นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ต่อหัวใจและปอดอีกด้วย
  • Zone 3: Moderate = 70-80% ของอัตราการเต้นหัวใจหนักสุด (Max. Heart Rate)
    ช่วงแอโรบิค จะรู้สึกเหนื่อยเล็กน้อย มีเหงื่อออกมากขึ้น สามารถเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน น้ำตาล และลดน้ำหนักได้ เป็น Zone ที่ได้ประโยชน์ที่สุดเหมาะกับคนทั่วไปที่ต้องการออกกำลังเพื่อสุขภาพ
  • Zone 4: Hard = 80-90% ของอัตราการเต้นหัวใจหนักสุด (Max. Heart Rate)
    ช่วงแอโรบิคสั้นๆ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของร่างกายในการออกกำลังกาย จะรู้สึกเหนื่อย หายใจเร็ว มีการตึงล้าของกล้ามเนื้อมาก เหมาะกับนักกีฬาหรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการเพิ่มความทนให้กับกล้ามเนื้อและการออกกำลังกาย
  • Zone 5: Very Hard = 90-100% ของอัตราการเต้นหัวใจหนักสุด (Max. Heart Rate)
    ช่วงออกกำลังสูงสุด เช่น HITT Exercise ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของร่างกายในการออกกำลัง และความเร็ว จะรู้สึกเหนื่อยมาก หายใจเร็ว มีการตึงล้าของกล้ามเนื้อมาก เหมาะสำหรับการฝึกซ้อมนักกีฬาที่เตรียมแข่งขัน

ส่วนระดับที่แนะนำสำหรับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพคือช่วง Zone 2 – 3 ซึ่งคิดเป็น 60-80% ของอัตราการเต้นหัวใจหนักสุด (Max. Heart Rate) เป็นช่วงที่มีประโยชน์ต่อหัวใจ ปอด และช่วยเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตและไขมัน

มาดูแลหัวใจให้แข็งแรง พร้อมรองรับความเสี่ยงโรคร้ายกับ “บีแอลเอ สมาร์ท ซีไอ” ประกันที่ครอบคลุม 5 กลุ่มโรคร้าย ได้แก่ มะเร็งและเนื้องอก หัวใจ หลอดเลือดและผลสืบเนื่อง โรคเกี่ยวกับอวัยวะและระบบการทำงานที่สำคัญ ภาวะติดเชื้อหรือการบาดเจ็บร้ายแรง และโรคร้ายแรงอื่นๆ รวม 20 โรค ให้คุณสบายใจ...ตรวจพบโรคร้ายแรงครั้งแรก รับเลย 100% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย สูงสุดถึง 5 ล้านบาท

รายละเอียดเพิ่มเติม http://bit.ly/BLASmartCI
หรือติดต่อตัวแทนและที่ปรึกษาการเงินกรุงเทพประกันชีวิต โทร. 02 777 8888

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพใช้ความหนักของการออกกำลังกายระดับใด

ความหนักของการออกกำลังกาย

หนักแค่ไหน?

โดย�นพ.เรืองศักดิ์ ศิริผล

ออกมากได้ประโยชน์มาก หรือมีอะไรบอกหรือไม่ว่าออกกำลังมากเพียงไหนที่จะลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค? การออกกำลังปานกลางดีกว่าออกหนัก ๆ จริงหรือ? พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนให้พุทธศาสนิกชน�เดินสายกลาง�

ซึ่งสามารถนำมาใชได้ดีกับการทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือด และการออกกำลังกายแพทย์ให้คำแนะนำว่าการออกกำลังกายพอสมควรมีค่าอย่าง่ยิ่งต่อผู้ป่วย และกระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังชนิดแอโรบิกที่หนักพอสมควรและสม่ำเสมอขณะที่หลาย ๆ คนหันมาออกกำลังกายมากขึ้น ก็เกิดคำถามขึ้นมามากมาย เช่น ความหนักของการออกกำลังกายเป็นเรื่องที่ต้องสนใจจริงหรือ ทำไมต้องสนใจ? การออกกำลังกายเป็นสูตรตายตัวหรือไม่ว่า ออกกำลังน้อยได้ประโยชน์น้อย

คำตอบสำหรับคนทั่ว ๆ ไป ก็คือการออกกำลังกายที่หนักหรือรุนแรงเกินไปเพื่อต้อการควบคุมน้ำหนักตัวหรือควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดหรือการเริ่มต้นออกกำลัเพื่อทำให้ระบบการไหลเวียนเลือดดีขึ้นเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น แต่การออกกำลังที่หนักเป็นประโยชน์เพิ่มมากยิ่งขึ้น แต่ทั้งนี้ต้องแล้วแต่ว่าเป็นคนกลุ่มไหน นั่งทำงาน หรือทำงานออกกำลัง และต้องการออกกำลังเพื่อทำให้สุขภาพดีขึ้นหรือเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของการเล่นกีฬาหรือทั้งสองอย่าง

ความหนักของการออกกำลังกายคืออะไร?

คำตอบก็คืออัตราการใช้พลังงานในการออกกำลังไม่ใช่จำนวนพลังที่ใช้ การวัดความหนักดูได้จากการใช้ออกซิเจนระหว่างออกกำลัง สุขภาพจะดีได้มาจากการออกกำลังแบบแอโรบิกเช่น ช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ การออกกำลังโดยใช้พลังงานมากพอสมควรมีความสัมพันธ์กับการลดอัตราการตายทั่ว ๆ ไป
 อย่างไรก็ตามการออกกำลังกายเพื่อความสนุกสนานก็ช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจได้ แต่ต้องเป็นการออกกำลังที่หนักและนานพอประมาณ การมีสมรรถภาพทางร่างกายต่ำเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเสียชีวิต มีรายงานว่าการมีสมรรถภาพที่แข็งแรงจะช่วยลดอัตราการตาย โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือดและมะเร็ง

สมาคมหัวใจแห่งอเมริกาตระหนักดีถึงความสำคัญของการออกกำลังกายในการลดอัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยประกาศว่าการขาดการออกกำลังเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ 4 ที่ทำให้เกิดโรค นอกเหนือจากปัจจัยการสูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูงและระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูงถ้าจะพูดถึงว่าออกกำลังหนักขนาดไหนที่จะมีผลต่อสุขภาพ คงจะตอบได้ยากสักหน่อย เหตุผลก็คือไม่รู้ว่าสุขภาพ คงจะตอบได้ยากสักหน่อย เหตุผลก็คือไม่รู้ว่าสุขภาพนั้นหมายถึงแค่ไหน เช่นในด้านระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
แต่โดยทั่ว ๆ ไปในคนที่เริ่มมีอายุคงจะหมายถึงระบบการทำงานของหัวใจซึ่งสำคัญสำหรับคนในวัยนี้มากที่สุดในอดีต เคยเน้นให้ออกกำลังมาก ๆ โดยเห็นว่าสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับสุขภาพทั่ว ๆ ไป และหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายก็คือปริมาณของการออกกำลังกาย
 คนที่นั่งทำงานในสำนักงานจะปรับปรุงสมรรถภาพและได้ประโยชน์จากการออกกำลังกายถ้าในชีวิตการทำงานในแต่ละวันใช้แรงทำงานไม่มากนัก เคยมีการศึกษาว่าการเพิ่มความหนักของการออกกำลังกายจะช่วยทำให้สุขภาพของระบบหัวใจและหลอดเลือดดีขึ้นโดยพบว่าในบรรดาผู้ที่ใช้พลักงงานมากกว่า 2,000 แคลอรี่ต่อวัน จะช่วยลดอัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้ 39 % แต่ถ้าเพิ่มการใช้แคลอรี่ได้ถึง 3,500 แคลอรี่ จะช่วยลดอัตราเสี่ยงต่อโรคหัวใจได้มากยิ่งขึ้น อัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจจะยิ่งลดน้อยลงถ้าออกกำลังด้วยความหนัก
ยิ่งหนักยิ่งเป็นผลดีในปัจจุบันเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของนักกีฬาความหนักของการฝึกก็มีความสำคัญ นักกีฬาต้องการฝึกที่ระดับหนักพอควร แต่ในคนทั่วๆไปการจะทำให้สมรรถภาพของระบบหัวใจและหลอดเลือด
จะต้องออกกำ ลังให้ได้อย่างน้อย 60% ของความสามารถสูงสุด
แต่ทั้งนี้ไม่ได้ความว่าคนที่ออกกำลังกายที่ 40-50% จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นเลย แพทย์และผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายยังเชื่อว่าการออกกำลังกายแม้เพียงเล็กน้อยก็ช่วยให้ร่างกายได้ประโยชน์เช่นกันสมาคมกีฬาเวชศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกาได้ออกประกาศปริมาณการออกกำลังกายอย่างน้อยที่ได้ผลดีต่อร่างกายควรต้องออกกำลังอย่างน้อยที่ได้ผลดีต่อร่างกายควรต้องออกกำลังอย่างน้อย 40% ของการใช้พลังงานสูงสุด แต่ไม่ได้หมายความว่าถ้าผู้ที่ออกกำลังไม่ถึง จะไม่ได้รับประโยชน์เลย หัวใจยังได้รับประโยชน์เช่นกัน แต่ได้น้อยกว่า ปริมาณการออกกำลังที่น้อยที่สุดที่จะเป็นประโยชน์ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลโดยขึ้นกับสมรรถภาพก่อนออกกำลัง

 ในคนที่นั่งทำงานในสำนักงานเพียงการออกกำลังกายเพิ่มเพียง 20% ของการใช้พลังงานสูงสุดก็เหมือนกับไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลยการออกกำลังกายที่ได้ผลคงไม่ใช่การยึดติดอยู่กับการออกกำลังกายตามใบสั่งว่าหนักเท่านี้ นานกี่นาทีและกี่ครั้งต่อสัปดาห์ การออกกำลังกายเพียงเล็กน้อยก็ยังได้ผลกว่าการไม่ออกกำลังกายเลย ผู้ที่ออกกำลังกายได้มากกว่าก็น่าจะได้ประโยชน์มากกว่า
แต่ถ้าจะให้ได้ผลต่อสมรรถภาพของหัวใจและหลอดเลือดเต็มที่ก็คงต้องพยายามออกกำลังให้ได้ตามเป้า (ชีพจรเต้นประมาณ 170 ครั้ง ลบด้วยอายุ) แต่การตั้งเป้าหมายการออกกำลังกายให้ได้อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน ก็อาจเปลี่ยนแปลงเป็นการออกกำลัง 10 นาที 3 ครั้งก็ได้ แม้จะได้ผลไม่ดีเท่ากัน แต่ก็ได้ผลพอสมควร



สำหรับผู้หญิง     

ความหนักของการออกกำลังเพียงเพื่อลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจย่อมไม่หนักเท่ากับความหนักเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจแต่การออกกำลังที่หนักพอสมควรก็ช่วยการทำงานของหัวใจได้เช่นกัน

ก่อนจบ ผมขอย้ำอีกครั้งนะครับว่า ออกกำลังเท่าที่ออกได้ ค่อย ๆ เพิ่มความหนักทีละน้อย ออกน้อยดีกว่าไม่ออกเลย ถ้าออกแล้วหากจะให้ได้ผลเต็มที่ต้องออกกำลังให้ได้ตามเป้า แต่อย่าเครียดมากนัก ออกกำลังเพื่อสุขภาพ (ดี) นี่ครับ

นิตยสารเพื่อชีวิตที่ดีกว่า RUNNING

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพใช้ความหนักของการออกกำลังกายระดับใด

ความหนักของการออกกำลังกายควรอยู่ในระดับใด

การออกกำลังแบบเบาๆหัวใจจะเต้นอยู่ในเกณฑ์ 40-60 % การออกกำลังแบบปานกลางหัวใจจะเต้นอยู่ในเกณฑ์ 60-80% การออกกำลังแบบหนักหัวใจจะเต้นอยู่ในเกณฑ์ 80-100%

ออกกำลังกายหนักคืออะไรบ้าง

การออกกำลังกายที่ใช้พลังงานสูงหรือ high-intensity workouts – คือ การออกกำลังกายอย่างหนักๆ ทั้งการออกกำลังกายที่เน้น heart rate สูงๆ เช่น การวิ่งเร็วๆ หรือการออกกำลังกายแบบใช้แรงต้านเยอะๆ เช่น weight traning ซึ่งการออกกำลังกายแบบนี้ส่วนใหญ่จะเบิร์นแคลอรี่จาก “คาร์โบไฮเดรต” ซึ่งถูกเก็บอยู่บริเวณกล้ามเนื้อเรียกว่า ...

มีอะไรบ้างที่เป็นเกณฑ์วัดความหนักของการออกกำลังกาย

ความหนักของการออกกำลังกาย ไม่จำเป็นต้องวัดด้วย HR เสมอไป.
Heart rate อัตราการเต้นหัวใจ ยิ่งออกกำลังกายหนัก หัวใจยิ่งเต้นเร็ว คนแต่ละคน มีอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจไม่เท่ากัน มีสูตรคำนวณ ประมาณ 220 – อายุ ป็นตัวช่วย คิด คำนวณ Zone หัวใจ ออกเป็น 5 Zone. ... .
ความเร็ว ... .
ค่าความเหนื่อย ... .
4.Power ค่าพลังในการวิ่ง.

ข้อใดเป็นระดับหรือความหนักเบาของการออกกำลังกายสำหรับการเพิ่มความอึดของร่างกายโดยวัดจากอัตราการเต้นของชีพจร

ระดับความหนักที่ 60-70% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุดต่อนาที ช่วยพัฒนาความทนทานของร่างกายให้สามารถออกกำลังกายหรือทำกิจกรรมต่างๆ ได้นานขึ้น ความหนักระดับนี้ร่างกายจะมีอัตราการใช้พลังงานจากไขมันสูงที่สุด ดังนั้นจึงเหมาะกับคนที่ต้องการลดความอ้วน