แรงแวนเดอร์วาลส์ มีอะไรบ้าง

            13. �ç�ִ�˹���������ҧ���š���

 ���� 2 ������

 1.�ç�ǹ��������� (Van Der Waal Borces)

 - �ç�͹�͹

 - �ç�֧�ٴ�����ҧ����

 2.�ѹ������ਹ (Hydrogen Bond)

       1.�ç�ǹ��������� ���ç��ִ�˹���������ҧ���š��ŷ��������ç�ѡ ���͡��

   1.1 �ç�͹�͹ ���ç�ִ�˹���������ҧ���š�������բ����ç��風�����Ҿ�Դ���鹪��Ǥ������ͧ�ҡ����硵�͹�

 �е����������� ����˹���

 �ͧ����硵�͹�ͺ������������¹�ŧ�����骤���˹��蹢ͧ����硵�͹����������� �֧�Դ�繢��Ǣ�����

 ���š��ŷ�������ҧ��§�١�˹���ǹ�����Դ���Ǣ����蹡ѹ �������š�������ҹ�鹡���Դ�ç�֧�ٴ�ѹ ���¡��� "�ç�͹�͹"

   1.2 �ç�֧�ٴ�����ҧ���� ���ç�ִ�˹���������ҧ���š��ŷ�����ç�����ç�͹�͹�͡�ҡ��þǡ���͡�ҡ���

 ��ç�͹�͹���� �ѧ��鹡Ѻ��Ҿ�ͧ���Ǵ���

      2.�ѹ������ਹ ���ç�ִ�˹���������ҧ���š��ŷ����Ҿ�����٧�ҡ �Դ�ҡ�ҵ�� H ��иҵ�ַ���դ��

 �������๡ҵ��Ե���٧����բ�Ҵ��� ���� F,O,N ��Ҿ���Ƿ���٧�����ռ���ҧ EN �ҡ

������ҧ��÷���Դ�ç�ִ�˹���������ҧ���š����繾ѹ������ਹ

 ��ҿ�ʴ�����ʹ�ͧ������֨��ѹ�ҵ������ IV,V,VI, ��� VII

 *�������ç�ִ�˹���������ҧ���š����繾ѹ������ਹ�����ç�ִ�˹���Ƿ����͹���һ��������㹷���� ��� �ç�֧�ٴ

 �����ҧ��������ç�͹�͹

 *���㴷�����ç�ִ�˹���Ǵ��š������ç�����ҧ���� �����ç�ʹ�͹���������

 *���š�������բ��Ǩ��ִ�����ç�ʹ�͹��§���ҧ����

**�����˵�� ��û�Сͺ������ç�ִ�˹���������ҧ���š���੾����ç�͹�͹

�Ҩ�ը�ִ��ʹ�٧������û�Сͺ������ç�ִ�˹���������ҧ���š�����

�ѹ������ਹ���� �����ù�������������š����ҡ�����ҡ�� **

น้ำฝนไหลลงจากกันสาด แรงที่มีส่วนในการก่อตัวของหยดน้ำได้แก่ แรงวานเดอร์วาลส์ แรงตึงผิว การเชื่อมแน่น และความไม่เสถียรพลาโต–เรย์ลี

แรงวานเดอร์วาลส์มีบทบาทสำคัญในหลายสาขาวิชา เช่น เคมีซูปราโมเลกุล ชีววิทยาเชิงโครงสร้าง วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ นาโนเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์พื้นผิว และฟิสิกส์สสารควบแน่น แรงนี้ยังเป็นพื้นฐานของหลายคุณสมบัติในสารประกอบอินทรีย์และของแข็งโมเลกุล รวมถึงการละลายในตัวกลางมีขั้วและไม่มีขั้ว

เมื่อไม่มีแรงอื่นปรากฏ ระยะระหว่างอะตอมจะก่อให้เกิดแรงผลักมากกว่าแรงดึงดูด สิ่งนี้เรียกว่าระยะติดต่อวานเดอร์วาลส์ (Van der Waals contact distance) ปรากฏการณ์นี้เกิดจากแรงผลักซึ่งกันและกันของหมอกอิเล็กตรอนของอะตอม แรงวานเดอร์วาลส์มีต้นกำเนิดเดียวกับปรากฏการณ์คาซิมีร์ อันเป็นแรงที่เกิดจากการกระเพื่อมทางควอนตัมในสนามของแรง

แรงวานเดอร์วาลส์ตั้งชื่อตามโยฮันเนส ดิเดริก ฟาน เดอ วาลส์ นักฟิสิกส์ชาวดัตช์ มักถูกอธิบายว่าเป็นกลุ่มร่วมของแรงลอนดอน (ระหว่างขั้วเหนี่ยวนำชั่วคราว) แรงเดอบาย (ระหว่างมีขั้วถาวรกับขั้วเหนี่ยวนำ) และแรงเคโซม (ระหว่างขั้วถาวร)

แรงวานเดอร์วาลส์รวมถึงแรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างอะตอมและโมเลกุล แรงนี้แตกต่างจากพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิกเพราะเกิดจากความสัมพันธ์ทางสภาพมีขั้วที่ผันผวนของอนุภาคใกล้เคียง แรงวานเดอร์วาลส์เป็นแรงอ่อนที่สุดในบรรดาแรงเคมีอย่างอ่อน มีความแข็งแรงประมาณ 0.4 ถึง 4 kJ/mol แรงนี้เป็นผลจากการเปลี่ยนผ่านชั่วคราวของความหนาแน่นอิเล็กตรอน กล่าวคือเมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงของอิเล็กตรอนไปมาระหว่างด้านใดด้านหนึ่งของนิวเคลียส จะก่อให้เกิดประจุย่อยที่สามารถดึงดูดและผลักอะตอมใกล้เคียง แรงวานเดอร์วาลส์ตรวจพบได้ยากเมื่อระยะระหว่างอะตอมมากกว่า 0.6 นาโนเมตร ขณะที่หากระยะระหว่างอะตอมน้อยกว่า 0.4 นาโนเมตร แรงนี้จะกลายเป็นแรงผลัก

แรงวานเดอร์วาลส์มีลักษณะเด่นคือ เป็นแรงที่อ่อนกว่าพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก เป็นแรงที่ไม่เกี่ยวข้องกับทิศทาง เป็นแรงในระยะใกล้จึงกระทำต่ออนุภาคใกล้เคียงเท่านั้น และไม่ได้ขึ้นกับอุณหภูมิ ยกเว้นแรงดึงดูดระหว่างขั้ว (dipole–dipole interactions) หรือแรงเคโซม

แรงลอนดอน (London dispersion force) เป็นแรงที่เกิดจากอะตอมหรือโมเลกุลมีขั้วชั่วคราว สภาพมีขั้วนี้สามารถเหนี่ยวนำจากโมเลกุลมีขั้วหรือการผลักของหมอกอิเล็กตรอนประจุลบในโมเลกุลไม่มีขั้ว ฉะนั้นแรงลอนดอนจึงถือว่าเกิดจากการผันผวนของความหนาแน่นอิเล็กตรอนในหมอกอิเล็กตรอน อะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอนมากจะมีแรงลอนดอนมากกว่าอะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอนน้อย แรงลอนดอนตั้งชื่อตามฟริตซ์ ลอนดอน นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน

แรงเดอบาย (Debye force) เป็นแรงที่เกิดจากอันตรกิริยาระหว่างโมเลกุลมีขั้วถาวรกับโมเลกุลมีขั้วเหนี่ยวนำ โมเลกุลมีขั้วเหนี่ยวนำเกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลหนึ่งที่มีขั้วถาวรผลักอิเล็กตรอนของอีกโมเลกุล เหนี่ยวนำให้เกิดแรงดึงดูดซึ่งกันและกันระหว่างโมเลกุล แรงเดอบายไม่สามารถเกิดได้ระหว่างอะตอมและไม่ขึ้นกับอุณหภูมิเหมือนแรงเคโซม แรงเดอบายตั้งชื่อตามปีเตอร์ เดอบาย นักฟิสิกส์ชาวดัตช์

แรงเคโซม (Keesom force) เป็นอันตรกิริยาที่เกิดระหว่างโมเลกุลมีขั้วถาวรสองโมเลกุล โมเลกุลมีขั้วถาวรนี้มีการจัดเรียงที่ทำให้ประจุย่อยต่างขั้วของทั้งสองโมเลกุลอยู่ใกล้กันจึงก่อให้เกิดแรงดึงดูด แรงเคโซมเป็นแรงที่ขึ้นกับอุณหภูมิและไม่เกิดในสารละลายในน้ำที่มีอิเล็กโทรไลต์ แรงนี้ตั้งชื่อตามวิลเลิม เฮนดริก เคโซม นักฟิสิกส์ชาวดัตช์

  1. Garrett, Reginald H.; Grisham, Charles M. (2016). Biochemistry (6th ed.). University of Virginia. pp. 12–13.
  2. Klimchitskaya, G. L.; Mostepanenko, V. M. (July 2015). "Casimir and Van der Waals Forces: Advances and Problems". Proceedings of Peter the Great St. Petersburg Polytechnic University (517): 41–65. arXiv:. doi:. S2CID .
  3. . Britannica. สืบค้นเมื่อApril 8, 2021.
  4. Mahan, Gerald D. (2009). . Princeton: Princeton University Press. ISBN 0-691-13713-7. OCLC .
  5. . Chemistry LibreTexts. August 15, 2020. สืบค้นเมื่อApril 8, 2021.
  6. Helmenstine, Anne Marie (November 30, 2019). . ThoughtCo. สืบค้นเมื่อApril 8, 2021.
  7. Sethi, M. S.; Satake, M. (1992). Chemical bonding. New Delhi: Discovery Publishing House. ISBN 978-81-7141-163-4. OCLC .
  8. . Chemistry LibreTexts. August 15, 2020. สืบค้นเมื่อApril 8, 2021.
  9. Leite, F. L.; Bueno, C. C.; Da Róz, A. L.; Ziemath, E. C.; Oliveira, O. N. (2012). . International Journal of Molecular Sciences. 13 (12): 12773–856. doi:. PMC. PMID .

    แรงแวนเดอร์วาลส์ คืออะไร

    แรงแวนเดอร์วาลส์ คือ แรงยึดเหนี่ยวในโมเลกุลโคเวเลนต์ให้อยู่ด้วยกัน แรงนี้จะมีค่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับแรงในพันธะไอออนนิกหรือพันธะโคเวเลนต์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ แรงที่เกิดจากการกระท าระหว่างโมเลกุลแบบมีขั้วซึ่งมีไดโพลแบบถาวร (permanent dipole) เรียกว่า “แรงดึงดูดระหว่างขั้ว”(dipole-dipole interaction)

    แรงระหว่างโมเลกุล มีกี่ชนิด

    แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1. แรงลอนดอน (ไม่มีขั้ว) เช่น F2 (F-F F-F) 2. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว เช่น FCl ( F-Cl F-Cl ) 3. พันธะไฮโดรเจน เช่น H2O กับ H2O.

    แรงแวนเดอร์วาลส์ค้นพบโดยใคร

    แรงวานเดอร์วาลส์ตั้งชื่อตามโยฮันเนส ดิเดริก ฟาน เดอ วาลส์ นักฟิสิกส์ชาวดัตช์ มักถูกอธิบายว่าเป็นกลุ่มร่วมของแรงลอนดอน (ระหว่างขั้วเหนี่ยวนำชั่วคราว) แรงเดอบาย (ระหว่างมีขั้วถาวรกับขั้วเหนี่ยวนำ) และแรงเคโซม (ระหว่างขั้วถาวร)

    แรงลอนดอน มีสารอะไรบ้าง

    แรงลอนดอนเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงอ่อนๆ ซึ่งเกิดขึ้นในสารทั่วไป และจะมีค่าเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลของสาร จัดเป็นแรงที่มีความแข็งแรงน้อยที่สุดในชนิดของแรงแวนเดอวาลล์ จึงต้องการพลังงานในการสลายพันธะหรือแรงระหว่างโมเลกุลน้อยมาก โมเลกุลที่ยึดจับกันด้วยแรงชนิดนี้มีจุดเดือด และจุดหลอม เหลวต่ำมาก