คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

ประหยัดเวลา แค่รู้ทริค แนะ 20 คีย์ลัด Photoshop ไว้สำหรับทำงาน โดยเจ้าคีย์ลัดเหล่านี้ทำให้ผู้ใช้งานทำงานสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ไม่ต้องคลิกเมาส์ให้เสียเวลา

Show

20 คีย์ลัด  Photoshop มีดังนี้

1.เปิดหน้าใหม่ : Ctrl/Cmd + N

2.เปิดแฟ้ม : Ctrl/Cmd + O

3.บันทึกงาน (Save) : Ctrl/Cmd + S

4.บันทึกงานเป็นชื่อใหม่หรือเป็นฟอร์แมตอื่น (Save As…) : Ctrl/Cmd + Shift + S

5.ขึ้นเลเยอร์ใหม่ : Ctrl/Cmd + Shift + N

6.รวมเลเยอร์ที่เลือกกับเลเยอร์ข้างล่าง 1 อัน : Ctrl/Cmd + E

7.รวมเลเยอร์ทั้งหมด : Ctrl/Cmd + Shift + E

8.Duplicate เลเยอร์ (ก๊อปปี้เลเยอร์ขึ้นมาใหม่อีก 1 อัน) : Ctrl/Cmd + J

9.เลือกเลเยอร์ทั้งหมด : Ctrl + Alt + A / Cmd + Opt + A

10.ย่อหรือขยายวัตถุ : Ctrl/Cmd + T

11.ยกเลิกการเลือกวัตถุ : Ctrl/Cmd + D

12.ย้อนกลับไป 1 ขั้น : Ctrl + Alt + Z / Cmd + Opt + Z

13.ย้อนไปข้างหน้า 1 ขั้น : Ctrl/Cmd + Shift + Z

14.ซูมเข้า : Ctrl/Cmd + (+)

15.ซูมออก : Ctrl/Cmd + (-)

16.คัดลอกวัตถุ : Ctrl/Cmd + C

17.วางวัตถุ : Ctrl/Cmd + V

18.เรียกคำสั่ง Level : Ctrl/Cmd + L

19.เรียกคำสั่ง Hue/Saturation : Ctrl/Cmd + U

20.ปิดหน้าต่าง Artwork : Ctrl/Cmd + W

ที่มา :  https://www.motiongraphicplus.com/

#LearnEducation #LearningSolutionForAll

———————————————

การใช้งานเบื้องต้น

คุณสมบัติเครื่องมือและองค์ประกอบของโปรแกรม Adobe Photoshop CS6

 สาระการเรียนรู้

        1. ลักษณะของโปรแกรม Adobe Photoshop CS6

        2. คุณสมบัติพื้นฐานของโปรแกรม

        3. เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม

        4. ความหมายและความสำคัญของ เลเยอร์ (Layer)

        5. การเปิดใช้งานการสมัครงานและบันทึกงาน

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

 สาระที่ 2 คุณสมบัติพื้นฐานของโปรแกรม

โปรแกรม Photo shop เป็นโปรแกรมในตระกูล Adobe ที่ใช้สำหรับตกแต่งภาพถ่ายและภาพกราฟฟิก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นงานด้านสิ่งพิมพ์ นิตยสาร และงานด้านมัลติมีเดีย อีกทั้งยังสามารถ retouching ตกแต่งภาพและการสร้างภาพ ซึ่งกำลังเป็นที่มนิยมสูงมากในขณะนี้ เราสามารถใช้โปรแกรม Photoshop ในการตกแต่งภาพ การใส่ Effect ต่าง ๆให้กับภาพ และตัวหนังสือ การทำภาพขาวดำ การทำภาพถ่ายเป็นภาพเขียน การนำภาพมารวมกัน การ Retouch ตกแต่งภาพต่าง 

เราสามารถเรียนรู้วิธีการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop นี้ได้ด้วยตัวเอง  คุณสามารถที่จะทำการแก้ไขภาพ ตกแต่งภาพ ซ้อนภาพในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย และสิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ การใส่ข้อความประกอบลงในภาพด้วย  และเนื่องด้วย Adobe Photoshop มีการพัฒนาโปรแกรมมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เราจำเป็นต้องศึกษาคำสั่งต่างๆ ให้เข้าใจ แต่ที่สำคัญ เมื่อคุณเรียนรู้การใช้คำสั่งในเวอร์ชั่นเก่า คุณก็ยังคงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับเวอร์ชั่นใหม่ๆ 

ความสามารถพื้นฐานของ Adobe Photoshop ที่ควรทราบ 

  • ตกแต่งหรือแก้ไขรูปภาพ

  • ตัดต่อภาพบางส่วน หรือที่เรียกว่า crop ภาพ

  • เปลี่ยนแปลงสีของภาพ จากสีหนึ่งเป็นอีกสีหนึ่งได้

  • สามารถลากเส้น แบบฟรีสไตล์ หรือใส่รูปภาพ สี่เหลี่ยม วงกลม หรือสร้างภาพได้อย่างอิสระ

  • มีการแบ่งชั้นของภาพเป็น Layer สามารถเคลื่อนย้ายภาพได้เป็นอิสระต่อกัน

  • การทำ cloning ภาพ หรือการทำภาพซ้ำในรูปภาพเดียวกัน

  • เพิ่มเติมข้อความ ใส่ effect ของข้อความได้

  • Brush หรือแปรงทาสี ที่สามารถเลือกรูปแบบสำเร็จรูปในการสร้างภาพได้และอื่นๆ อีกมากมา

                                  โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 เมื่อทำการเปิดโปรแกรมแล้ว จะพบหน้าตาของโปรแกรมดัง รูป 

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

มีส่วนสำคัญหลักที่ที่ต้องรู้ดังนี้

1. เมนูของโปรแกรมเมนูแอ็พพลิเคชั่นหรือเมนูบาร์รวม

     1. ไฟล์หมายถึงรวมคำสั่งที่ใช้จัดการกับไฟล์รูปภาพเช่นสร้างไฟล์ใหม่, เปิด, ปิด, บันทึกไฟล์, นำเข้าไฟล์, ส่งออกไฟล์และอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับไฟล์

     2. แก้ไขสิ่งที่ต้องการรวมคำสั่งที่ใช้สำหรับแก้ไขภาพและปรับแต่งการทำงานของโปรแกรมเบื้องต้นเช่นก๊อปปี้, วาง, ยกเลิกคำสั่ง, แก้ไขปัญหาและอื่น ๆ
     3. ภาพรวมคำสั่งที่ใช้การปรับแต่งภาพเช่นสี , แสง, ขนาดของภาพ (ขนาดภาพ), ขนาดเอกสาร (canvas), โหมดของภาพ, หมุนภาพและอื่น ๆ

     4. เลเยอร์รวมถึงคำสั่งที่ใช้จัดการกับเลเยอร์การสร้างเลเยอร์, ​​แปลงเลเยอร์และการจัดการกับเลเบลในด้านต่าง ๆ

     5. เลือกรวมคำสั่งเกี่ยวกับการเลือกสรรสิ่งที่ต้องทำ

     6. กรองเป็นคำสั่งการเล่นลักษณะพิเศษต่างๆสำหรับภาพและข้อมูล

     7. View as คำสั่งเกี่ยวกับมุมมองภาพรวมและลักษณะที่หลากหลายเช่นการขยายภาพและภาพขนาดย่อให้ดูเล็ก

     8. หน้าต่างเป็นส่วนคำสั่งในการเลือกใช้อุปกรณ์ต่างๆที่จำเป็นในการใช้สร้างเอฟเฟ็กต่างๆ

     9. Help as คำสั่งสำหรับแนะนำเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมฯ และจะมีลักษณะเป็นของโปรแกรมอยู่ในนั้น

เมนูแผงควบคุม

     (พาเนล) เป็นวินโดว์ใบย่อยที่ใช้รายละเอียดหรือคำสั่งควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของโปรแกรมใน Photoshop มีวางเป็นจำนวนมากเช่นพาเนลท์สีใช้สำหรับเลือกสี, พาเนลเลเยอร์ใช้สำหรับจัดการกับเลเยอร์และพาเนลข้อมูลใช้ แสดงสีน้ำเงินตรงตำแหน่งที่ตรงกับเขต / พื้นที่ที่เลือกไว้

3. พื้นที่ทำงาน Stage หรือ Panel

      เป็นพื้นที่ว่างสำหรับแสดงงานที่กำลังทำอยู่ 

4. เครื่องมือที่ใช้งานแผงเครื่องมือหรือเครื่องมือกล่อง

     Tool Panel (ทูลพาเนล) หรือกล่องเครื่องมือจะประกอบไปด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาดภาพและภาพประกอบเหล่านี้มีจำนวนมากดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กันไว้ในปุ่มเลือกโดยจะมี ลักษณะรูปสามเหลี่ยมอยู่ด้านข้างภาพที่ 2 เพื่อให้แน่ใจว่าในปุ่มนี้ยังมีเครื่องมืออื่น ๆ อยู่ด้วย

5. สิ่งที่ใช้ในการควบคุมเมนูเครื่องมือหรือแถบตัวเลือก

      ตัวเลือกบาร์ (ออสซีรี่ส์บาร์) เป็นส่วนหนึ่งของการใช้งานของอุปกรณ์ต่าง ๆ โดยรายละเอียดในส่วนของเครื่องมือที่เราเลือกจากทูลบ็อกซ์ในขณะนั้น เลือกเครื่องมือแปรง (พู่กัน) ในการกำหนดขนาดและลักษณะของแปรงสีฟัน, โหมดในการให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวและอัตราการไหลเวียนของเลือด

สาระสำคัญของเครื่องมือโปรแกรม

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

Tool Panel (ทูลพาเนล) หรือกล่องเครื่องมือจะประกอบไปด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาดภาพและภาพประกอบเหล่านี้มีจำนวนมากดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กันไว้ในปุ่มเลือกโดยจะมี ลักษณะรูปสามเหลี่ยมอยู่ด้านข้างภาพที่ 2 เพื่อให้แน่ใจว่าในปุ่มนี้ยังมีเครื่องมืออื่น ๆ อยู่ด้วย

สาระที่ 4 ความหมายและความสำคัญของเลเยอร์ Layer

เลเยอร์ Layer ชิ้นงานย่อย หรือเรียกให้เข้าใจง่ายคือ ชั้นของชิ้นงานใหญ่ เป็นหลักการทำงานของโปรแกรม Photoshop นั่นคือการนำชั้นต่างๆ มาผสมกันเพื่อปรับแต่งให้เกิดความสวยงามมากขึ้น

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

                                                                                                                        Layer

สามารถทำอะไรกับเลเยอร์ แสดงหรือซ่อน (Show or Hide Layer) การคลิกที่รูปดวงตาแต่ละครั้ง จะเป็นการเปิดเพื่อแสดง หรือปิดเพื่อซ่อนสีิงที่อยู่ในเลเยอร์ เช่น ถ้าเราไม่ต้องการให้แสดงภาพของเลเยอร์ใด ก็ทำการปิด หรือซ่อนไป คัดลอก และ ทำซ้ำเลเยอร์ (Copy and Duplicate Layer) แบ่งเป็น การคัดลอเเลเยอร์จากชิ้นงานหนึ่งไปยังอีกชิ้นงานหนึ่ง ทำได้หลายวิธี

  • คลิกเลเยอร์ที่ต้องการทำการคัดลอก ใช้โปรแกรมเมนู Edit เลือก Copy หรือกดปุ่ม Ctrl C คลิก Tab ของชิ้นงานที่เราต้องการจะให้เลเยอร์นั้นมาวางไว้แล้วคลิก Edit เลือก Paste หรือกดปุ่ม Ctrl V  

  •  คลิกเลเยอร์ที่ต้องการทำการคัดลอก คลิกขวาที่เม้าส์ เลือก Duplicate Layer จะได้หน้าต่างตามภาพด้านล่าง ใส่ชื่อในช่อง Destination ให้เป็นชื่อชิ้นงานที่เราต้องการนำเลเยอร์นี้ไปไว้

  • คลิกเลเยอร์ที่ต้องการทำการคัดลอกค้างไว้ แล้วลากไปยังอีก Tab ของอีกชิ้นหนึ่งโดยตรง 

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

การคัดลอกเลเยอร์ในชิ้นงานเดียวกัน

  •  คลิกที่เลเยอร์ ใช้โปรแกรมเมนู Layer เลือก Duplicate Layer จะมีหน้าต่างเหมือนภาพที่ด้านบนเช่นกัน แต่ช่อง Destination ไม่ต้องกำหนดชื่อชิ้นงานอื่น

  •  คลิกที่เลเยอร์ ใช้โปรแกรมเมนู Layer เลือก New เลือก Layer via Copy (คีย์ลัด Ctrl + J)

  • คลิกที่เลเยอร์นั้น และกดคีย์ Alt พร้อมกับลากเลเยอร์ไปยังตำแหน่งใน Panel ที่ต้องการวาง ปล่อยเม้าส์

ย้ายตำแหน่งเลเยอร์ (Move Layer)
ขั้นตอนการทำคล้ายกับการคัดลอก เพียงเปลี่ยนคำสั่งจาก Edit - Copy เป็น Edit Cut หรือ Ctrl X ในกรณีที่ย้ายคนละชิ้นงาน แต่ถ้าชิ้นงานเดียวกันเพียงคลิกที่เลเยอร์ และทำการเลื่อนไปยังตำแหน่งบน Panel ที่ต้องการเท่านัน
เพิ่มเลเยอร์ (Add Layer)

เพียงแค่คลิกไอคอน Create a new Layer ซึ่งอยู่ด้านล่างของ Layer Panel ติดกับรูปถัง ก็จะได้เลเยอร์เพิ่มแล้ว หรือถ้าต้องการใช้คำสั่งจากเมนูโปรแกรม เลือก Layer เลือก New เลือก Layer ตั้งชื่อ และ Enter ก็ได้เหมือนกัน 

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

ลบเลเยอร์ (Delete Layer)

วิธีลบเลเยอร์ทำโดย คลิกที่เลเยอร์ที่ต้องการลบ กดปุ่ม Backspace หรือใช้โปรแกรมเมนู Layer เลือก Delete เลือก Layer หรือโดยการคลิกที่เลเยอร์แล้วลากมาที่รูปถัง

การล็อค และ ปลดล็อค เลเยอร์ (Lock and Unlock Layer)
การล็อคเลเยอร์ ทำได้โดย คลิกที่เลเยอร์ที่ต้องการล็อค แล้วคลิกที่รูปกุญแจ ส่วนการปลดล็อคก็เพียงทำซ้ำขั้นตอนเดียวกัน

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

การปลดล็อคเลเยอร์  Background วิธีปลดล็อคทำได้โดย ดับเบิ้ลคลิกที่เลเยอร์ จะมีหน้าต่างดังภาพขึ้นมา จะตั้งชื่อเลเยอร์ใหม่หรือไม่ก็ได้ เลเยอร์นั้นก็จะปลดล็อคเป็นเลเยอร์ธรรมดา

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

ตั้งชื่อเลเยอร์ (Name Layer) วิธีตั้งชื่อให้กับเลเยอร์ ทำโดยดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อบนเลเยอร์นั้น และพิมพ์ชื่อ เสร็จแล้ว Enter สำหรับ Photoshop CS6 เมื่อพิมพ์ชื่อเลเยอร์หนึ่เสร็จแล้ว สามารถกด Tab เพื่อเลื่อนไปยังเลเยอร์อื่นเพื่อทำการพิมพ์ชื่อได้เลย ไม่ต้องมาทำซ้ำขั้นตอนเดิม ทำให้ประหยัดเวลาได้มาก

คลิปปิ้งเลเยอร์ (Clipping Layer) หมายถึงการทำให้เลเยอร์หนึ่งมีผลกับอีกเลเยอร์หนึ่งเท่านั้น ไม่ไปกระทบเลเยอร์อื่นซึ่งอยู่ถัดลงไป อ่านแล้วคงจะ งง ลองดูภาพด้านล่างนะครับ จากภาพจะเห็นเลเยอร์ Wood Gain ซึ่งเป็นลายไม้ ผมต้องการให้ลายไม้นี้มีผลกับกรอบภาพซึ่งเป็นเลเยอร์ Frame ที่อยู่ถัดลงไปด้านล่างเท่านั้น ผมจึงใช้การ Clipping ซึ่งจะเห็นลูกศรอยู่ที่ด้านหน้านของเลเยอร์ Wood Gain การทำเช่นนี้ จะทำให้ได้กรอบภาพที่มีลายไม้สวยงามขึ้นมาแทนกรอบสีแดงเหลือง ในเลเยอร์ Frame

การทำ Clipping โดยการใช้คีย์ลัด ให้กดปุ่ม Alt แล้ววางเม้าส์ไว้ระหว่างทั้งสองเลเยอร์ จากนั้นคลิก หรือถ้าจะใช้คำสั่งโปรแกรมเมนู Layer เลือก Create Clipping Mask (คีย์ลัด Alt + Ctrl + G) ถ้าต้องการยกเลิกก็เพียงแค่ทำซ้ำวิธีเดิม โปรแกรมเมนู Layer เลือก Release Clipping Mask หรือ กดปุ่ม Alt แล้วคลิกเม้าส์ที่เดิมอีกครั้ง

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

 สาระที่ 5 การเปิดพื้นที่การใช้งาน การนำภาพเข้าใช้งาน และการบันทึกงาน

         การเปิดพื้นที่การใช้งานใหม่

         1. ไปที่ Application menu เลือก File > New จะปรากฎหน้าต่างดังรูปด่านล่าง

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

2. จากรูปมีการกำหนดค่าต่างๆมากมาย 

  • ช่อง Name คือการกำหนดชื่อของชิ้นงาน

  • ช่อง Preset คือ ชนิดของงานต่างๆ ที่กำหนดไว้ให้แล้ว มีให้เลือกมากมาย เช่น Web , Photo ,U.S.paper , international paper

  • ช่อง size จะสัมพันธ์กับช่อง Preset คือ ขนาดของงานแต่ละชนิด เช่น ค่า Preset เป็น International paper ช่อง Size ก็จะมีตัวเลือก คือ A4 , A3 , A2 ,A1 และอื่นๆ

  • ช่อง width คือขนาดความกว้างของชิ้นงาน หากต้องการกำหนดเอง มีหน่วนให้เลือก 7 ชนิด

  • ช่อง Hight คือขนาดความสูงของชิ้นงาน 

  • ช่อง Resolution คือ ความละเอียดของงาน มีหน่วยเป็น Pixelต่อนิ้ว และ Pixel ต่อเซนติเมตร

  • ช่อง Color mode คือชนิดของพื้นที่สีในการทำงาน มีให้เลือกหลากหลาย เช่น RGB , CMYK และมีค่าความละเอียดให้เลือกเป็น bit

  • ช่อง Background Contents คือเลือกชนิดของ พื้นหลังงาน มี 3 แบบ คือ แบบขาว แบบสี และแบบโปร่งใส

          เมื่อทำการกำหนดขนาดของงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิปปุ่ม OK เพื่อทำการเปิดพื้นที่การทำงานดังตัวอย่างภาพ เปิดพื้นที่งานขนาด A4 พื้นหลัง สีขาว

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

การนำภาพเข้าใช้งาน

      หากเรามีภาพที่ต้องการเปิดเข้าใช้งานในโปรแกรม ในทำการ ตามขั้นตอนต่อไปนี้

       ไปที่ File > open เลือก Floder ที่มีรูปที่เราต้องการ เลือกรูปนั้นแล้วกด Open

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

 จะได้รูปมาปรากฎอยู่ที่ Stage หรือพื้นที่การทำงานดังรูป ตามตัวอย่างด้านล่าง

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

การบันทึกงาน

     สมมุติว่า เราได้แต่งรูป พระทราย ดังตัวอย่างภาพด้านล่าง เสร็จเรียบร้อยแล้ว เราต้องการบันทึกการทำงาน ทำตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

การบันทึกงาน

     สมมุติว่า เราได้แต่งรูป พระทราย ดังตัวอย่างภาพด้านล่าง เสร็จเรียบร้อยแล้ว เราต้องการบันทึกการทำงาน ทำตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

คีย์ลัด ของ การ เรียก ใช้งาน Panel Layer คือ ข้อ ใด

1. ไปที่ File > Save as จะปรากฎหน้าต่างดังรูปด้านล่าง

  • ช่อง File name คือให้เราตั้งชื่องาน

  • ช่อง Format คือ การบันทึกไฟล์งานประเภทต่างๆ เช่น PSD , JPEG , TIFF และอื่นๆ 

  • เมื่อเลือกเสร็จเรียบร้อยแล้ว กด Save ก็จะทำการบันทึกสำเร็จ

ข้อมูลจาก http://teacherjaray.blogspot.com