เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

 Photoshopเป็นโปรแกรมในชุด Creative Suite 5 หรือเรียกสั้น ๆ ว่า CS5 ซึ่งใช้สำหรับสร้างและตกแต่งภาพกราฟิก ซึ่ง มีประสิทธิภาพและมีชื่อเสียงมากโปรแกรมหนึ่ง ด้วยความสามารถที่หลากหลายทั้งการสร้างภาพใหม่ และตกแต่งภาพด้วยเครื่องมือและเทคนิคพิเศษต่าง ๆ จึงทำให้ Photoshop เป็นโปรแกรมสำคัญที่จำเป็นต้องมีติดตั้งใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ ใช้งานส่วนใหญ่ ในที่นี้ขอกล่าวถึง Photoshop ที่ได้ผ่านการพัฒนามาจนถึงเวอร์ชันที่ 12 ซึ่งมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Adobe Photoshop CS5 โดยในเวอร์ชันนี้ จะแบ่งออกเป็น 2 เวอร์ชันย่อย คือ Photoshop CS5 และ Photoshop CS5 Extended ซึ่งทั้ง 2 เวอร์ชันนี้มีความสามารถแตกต่างกันออกไป
          1)
Photoshop CS5 เป็น เวอร์ชันแบบธรรมดา ที่เน้นการทำงานด้านการตกแต่ง ตัดต่อภาพถ่าย เป็นเวอร์ชันที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เพราะมีฟังก์ชันการทำงานพื้นฐานที่ครบถ้วน

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

          2) Photoshop CS5 Extended ได้เพิ่มความสามารถนอกเหนือจากการตกแต่ง และการตัดต่อ คือ การทำงานด้าน 3D (3 มิติ) ให้รูปทรงมีแสงเงาสมจริง สร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย Timeline

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

          Adobe Photoshop CS5 ได้ปรับปรุงการทำงานเพิ่มเติมจากเวอร์ชันก่อน โดยหน้าตาของโปรแกรมเปลี่ยนไปเล็กน้อย แต่มีเครื่องมือและคำสั่งใหม่ ๆ สำหรับนักออกแบบกราฟิก และผู้ที่ต้องการก้าวไปสู่นักออกแบบและตกแต่งภาพมืออาชีพ ซึ่งช่วยลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อนให้ลดขั้นตอนลง การใช้งานง่ายขึ้น ได้ผลลัพธ์ดีในเวลาอันรวดเร็ว คงพอมองออกว่าหน้าตาและความสามารถใหม่ๆ ของ Adobe Photoshop CS5 นี้มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีอย่างเห็นได้ชัด นักเรียนลองมาศึกษาว่า มีอะไรเปลี่ยนแปลงและน่าสนใจบ้าง สำหรับฟีเจอร์ใหม่ของ Photoshop CS5 ที่น่าสนใจ มีดังต่อไปนี้

1. หน้าตาที่เปลี่ยนแปลงไป
          ถ้าเราเปรียบเทียบหน้าตาของ Photoshop CS4 กับ Photoshop CS5 จะเห็นว่ามีความเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก แต่ถ้าไปเปรียบเทียบกับ Photoshop CS3 หรือเวอร์ชันเก่าๆ ที่ต่ำลงมาก ก็จะพบว่าแตกต่างกันค่อนข้างมาก (แต่เป็นในทางที่ดีและสวยงาม)

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร


2. ค้นหาภาพได้รวดเร็วขึ้นกับ Mini Bridge
          Mini Bridge เป็นฟีเจอร์ใหม่ ซึ่งเป็นการย่อส่วน Adobe Bridge ในเวอร์ชันก่อน ซึ่งใช้สำหรับการแสดงภาพในลักษณะเดียวกับ Windows Explorer แต่นี่แสดงบน Photoshop โดยตรง ทำให้เราสามารถบริหารจัดการภาพได้ง่ายขึ้น แต่ปัญหา Adobe Bridge ก็คือกินทรัพยากรของเครื่องมาก ทำให้เครื่องทำงานช้า แต่ Mini Bridge เป็นส่วนที่มีคุณสมบัติแทบจะไม่แตกต่างจาก Adobe Bridge นำมาใช้แทนให้ใช้งานแทน เพื่อลดการใช้ทรัพยากรของเครื่องลง

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

3. การดัดโค้งบิดงอ เหมือนหุ่น กับ Puppet Warp
          อีกหนึ่งความสามารถใหม่ และดูจะเป็นความสามารถที่ค่อนข้างเด่น คือ การดัดโค้ง บิดงอหรือจะทำให้เปลี่ยนรูปทรง ปรับแขนขาของภาพ (ไม่จำเป็นต้องเป็นภาพคนก็ได้) สามารถปรับได้เช่นเดียวกับการปรับหุ่น โดยใช้คำสั่ง Edit > Puppet Warp

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร


4. ลบภาพที่ไม่ต้องการออกแบบเนียนๆ ด้วย Content-Aware
          หลายๆ ครั้งรูปภาพที่เราถ่าย หรือภาพจากอินเตอร์เน็ต บางครั้งเรามีความจำเป็นจะต้องเอาบางส่วนของภาพออก การ Retouch ภาพต้องใช้เวลามากพอสมควร แต่วันนี้ Photoshop CS5 มีเครื่องมือที่จะทำให้เราสามารถลบภาพที่ไม่ต้องการออกง่ายๆ โดยใช้คำสั่ง Content-Aware

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

5. สร้างภาพที่ดีขึ้นด้วย HDR (High Dynamic Range)
          สำหรับนักถ่ายภาพโดยเฉพาะ เพราะความสามารถนี้จะใช้สำหรับการถ่ายภาพในสภาพแสงที่มืดและสว่าง จากนั้นก็ใช้ Photoshop ช่วยรวมภาพเพื่อให้ได้รายละเอียดของภาพที่สมบูรณ์มากขึ้น (ซึ่งปกติจะไม่สามารถถ่ายด้วยกล้องได้) คำสั่งนี้จะอยู่ที่หัวข้อ Automate Merge to HDR Pro

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร


6. แก้ไขภาพจากกล้องดิจิตอลด้วย
Lens Corrections
         
อีกหนึ่งความสามารถใหม่สำหรับนักถ่ายภาพโดยเฉพาะ การนำภาพจากกล้องดิจิตอลเข้ามาแก้ไขใน Photoshop สิ่งหนึ่งที่อาจมีความผิดเพี้ยนไปบ้าง โดยเฉพาะกับการนำไฟล์ ประเภท RAW มาใช้และมีการแปลงเป็น Jpeg ผลลัพธ์ที่ได้อาจผิดไปบ้างจากต้นฉบับ เนื่องจากไฟล์ RAW ของแต่ละกล้อง ก็จะมีเทคนิคในการจัดเก็บแตกต่างกันไปบ้าง ดังนั้น Photoshop CS 5 จึงมีการรวมรวบวิธีการของแต่กล้องมา เพื่อให้เวลาดึงภาพมาใช้งาน จะได้ผิดพลาดน้อยที่สุด คำสั่งนี้อยู่ในหัวข้อ Filter

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

7. หัวแปรงแบบ Bristle Tips
เป็นการจำลองหัวแปรง หรือพู่กันสำหรับระบายสีจริง ๆ โดยจะแสดงทิศทางและน้ำหนัก การลาก หรือตวัดหัวแปรง ใน Photoshop CS5 จะมีหัวแปรงลักษณะนี้ อยู่ 10 แบบ โดยเราสามารถกำหนดค่าของหัวแปรงเหล่านี้ได้เพิ่มเติมอีกตามความเหมาะสม

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

 8. แปลงภาพถ่ายธรรมดาให้เป็นภาพ HDR ด้วย HDR Toning
ปกติการสร้างภาพ HDR ต้องนำภาพอย่างน้อย 3 ภาพ มาใช้ แต่ใน Photoshop CS5 ใช้เพียงภาพเดียวก็สามารถทำได้แล้ว

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร



9. สร้างรูปทรง 3 มิติ ด้วย Repousse’
          สร้างภาพ มิติ ด้วย Repousse’ เป็นฟีเจอร์ใหม่ในกลุ่มคำสั่ง 3 D ซึ่งมีความสามารถในการแปลงอักษร รูปร่าง และภาพ 2 มิติ ให้เป็นรูทรง 3 มิติได้อย่างง่ายดาย

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

10. ทำภาพเอียงให้ตรง กับ Ruler Tool
         
กรณีเรามีภาพเอียง เราสามารถให้ Photoshop ปรับภาพให้ตรงได้อัตโนมัติ โดยใช้คำสั่ง Ruler Tool และเลือกตำแหน่งสองจุดที่เอียง เพื่อให้ปรับภาพให้ตรง

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

 

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

หน้าจอของ Adobe Photoshop CS5 มีส่วนประกอบ ดังนี้

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

รายละเอียดส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop C5

1. Application Bar ( แอพพลิเคชั่นบาร์ )

          เป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย ๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพ , จัดเรียงวินโดว์ภาพ และจัดองค์ประกอบของเครื่องมือตามพื้นที่ใช้งาน ( Workspace)

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

2. Menu Bar

          เป็นแถบที่รวบรวมคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม โดยแยกประเภทคำสั่งออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการทำงานอย่างเช่น เมนู File มีหน้าที่จัดการไฟล์ เมนู Window จะรวบรวมคำสั่งทั้งหมดในการจัดการหน้าต่างโปรแกรม และสามารถใช้คีย์ลัดในการจัดการ เช่น Ctrl+O คือ การกดปุ่ม Ctrl พร้อมกับ O ก็สามารถเปิดไฟล์ที่ต้องการ หรือเข้าไปคลิก Menu > File> Open เป็นคำสั่งเปิดไฟล์เช่นกัน

3. Workspace Bar (Mode Bar
          เป็นแถบที่อยู่ด้านบนสุดของหน้าต่างโปรแกรม มีหน้าที่สลับรูปแบบการทำงานของโปรแกรม ซึ่งแต่ละรูปแบบจะมีเครื่องมือที่แตกต่างกันออกไป ใน Photoshop CS5 Extended มี Workspace ให้เลือกใช้ 7 แบบ คือ

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

- Essentials เป็น Workspace พื้นฐานที่เหมาะกับการทำงานทุกรูปแบบ เนื่องจากมีพาเนลที่ครอบคลุมงานทั่วไปให้ใช้งาน
- Design เป็น Workspace ที่เหมาะกับการออกแบบงานกราฟิก โดยมีพาเนล Swatches และ Character เพิ่มเข้ามาเพื่อใช้ในการออกแบบ
- Painting เป็น Workspace สำหรับการทำงานด้านวาดภาพ และระบาย ซึ่งสามารถใช้ร่วมกับ Tablet ได้เป็นอย่างดี
- Photography เป็น Workspace สำหรับด้านภาพถ่ายโดยเฉพาะ แต่จะเน้นด้านโทนความสว่าง แสงเงา และสีสันของภาพเป็นหลัก
- 3 D เป็น Workspace ที่มีอยู่เฉพาะในเวอร์ชัน Extended ซึ่งเน้นการทำงาน 3 D
- Motion เป็น Workspace การสร้างภาพเคลื่อนไหว ( Animation )
- New in CS5 เป็น Workspace ที่แสดงเฉพาะเครื่องมือและคำสั่งใหม่ ๆ ในเวอร์ชัน CS5 เหมาะแก่การศึกษาฟีเจอร์ใหม่ของโปรแกรม


4. Option Bar
         
          เป็นพื้นที่ส่วนที่โปรแกรม Photoshop จะแสดงคุณสมบัติของเครื่องมือที่เราเลือกมาใช้งาน เพื่อให้เราปรับแต่งค่าของเครื่องมือนั้นให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ดังนั้น สิ่งที่แสดงขึ้นมาที่ Option Bar จึงต่างกันไปตามคุณสมบัติของเครื่องมือแต่ละชนิด

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

5. Tool Panel

          เป็นกล่องเครื่องมือที่รวบรวมชุดเครื่องมือที่โปรแกรม Photoshop เตรียมไว้ใช้งาน เพื่อแก้ไข ตกแต่ง หรือสร้างชิ้นงานในลักษณะต่างๆ เครื่องมือหรือคำสั่งที่เห็นใน Tool Panel เป็นเครื่องมือที่มักจะถูกเรียกใช้งานบ่อยๆ ซึ่งนำมาไว้ใน Tool Panel เพื่อความสะดวกในการทำงาน ยกเว้นยังมีคำสั่งที่ใช้ในการแก้ไข ตกแต่ง หรือสร้างชิ้นงานอีกมากมาย ซ่อนอยู่ตามเมนูต่างๆ ใน Menu Bar อย่างเช่น Filter ที่ภายในจะรวบรวมคำสั่งที่ใช้ในการสร้างเอฟเฟ็กต์ของรูป

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร


6. Paletes (พาเลท) หรือ Panel (พาเนล)
          กลุ่มหน้าต่างเล็กๆ ที่มีหน้าที่การทำงานเฉพาะ ส่วนใหญ่แล้วจะช่วยเสริมการทำงาน และควบคุมรายละเอียดในด้านต่างๆ ของโปรแกรม อย่างเช่น พาเลท Swatches ใช้สำหรับเลือก หรือกำหนดสี , พาเลท History ใช้จัดการข้อมูลการทำงานในขั้นตอนต่างๆ ที่ผ่านมา เป็นต้น

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

          
เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

เราสามารถ ปิดพาเลทหรือเปิดพาเลทใหม่ขึ้นมาเพิ่มได้ โดยคลิก เมนู window รายชื่อของพาเลททั้งหมดจะปรากฏขึ้นมา พาเลทที่เปิดอยู่คือพาเลทที่มีเครื่องหมายถูกอยู่หน้าชื่อ ดังนั้น การเปิดพาเลทก็คือ การคลิกให้มีเครื่องหมายถูกหน้าชื่อพาเลทนั้นๆ ส่วนการปิดจะคลิกซ้ำหน้าชื่อให้เครื่องหมายถูกหายไป


7. Work Area (Canvas)
          เป็นพื้นที่ทำงาน หรือกระดานวาดภาพ ตรงนี้เป็นส่วนที่เราจะสร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมาทำงาน ตกแต่งชิ้นงาน หรือเปิดไฟล์รูปขึ้นมาแก้ไข

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

8. File Name Tab (แถบชื่อไฟล์)
          เป็นแถบที่แสดชื่อไฟล์ที่กำลังใช้งานอยู่ ด้านท้ายจะมีปุ่มกากบาท
X ใช้สำหรับปิดไฟล์นั้น ๆ

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

การกำหนดมุมมองในโปรแกรม Photoshop
          การกำหนดเพื่อดูภาพทั้งหมดโดยใช้ Screen Mode เป็นการกำหนดมุมมอง เพื่อจะมองเห็นภาพทั้งภาพอย่างชัดเจน โดยการคลิกเมาส์ที่ Screen Mode   

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

  ซึ่งประกอบด้วย 3 รูปแบบ ดังนี้ คือ
1. Standard Window เป็นหน้าจอปกติของ Photoshop จะแสดงภาพทั้งหมดให้เห็นภายในกรอบหน้าต่างที่เปิดอยู่ในมุมมองปกติ
2. Full Screen Mode with Menu Bar เป็นการแสดงภาพแบบไม่มีกรอบหน้าต่างภาพทั้งหมดจะถูกแสดงเต็มหน้าจอแต่ยังเหลือเมนูบาร์อยู่
3. Full Screen Mode เป็นการแสดงภาพทั้งหมเต็มหน้าจอไม่มีกรอบหน้าต่างไม่มีเมนูบาร์และพื้นที่ที่เหลือของหน้าจอจะถูกแทนที่ด้วยสีดำ

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

          การสร้างและตกแต่งภาพกราฟิกด้วยโปรแกรม Photoshop CS5 เริ่มจากการนำไฟล์ภาพประเภทต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วมาใช้เป็นจุดตั้งต้น หรือสร้างภาพขึ้นมาใหม่โดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรม Photoshop ได้
การสร้างงานใหม่ และกำหนดขนาด

          ในกรณีที่ต้องการสร้างรูปภาพขึ้นใหม่เอง เช่น การใช้เครื่องมือวาดภาพแบบต่าง ๆ ใน Photoshop CS5 จะให้กำหนดขนาดของพื้นทีีในการสร้างงาน ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้ เราสามารถสร้างงานใหม่และกำหนดขนาด Working Area ได้โดยให้ปฏิบัติดังนี้

1. คลิกเมนู File > New   ดังภาพ  

                   

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร
                                                                 
เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

    หรือ

 จะปรากฎหน้าต่าง New ขึ้นมา

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

ซึ่งมีรายละเอียด ดังภาพ

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

2. พิมพ์ชื่อไฟล์เพื่อตั้งชื่องาน

3. กำหนดขนาดความกว้าง ( Width ), ความสูง ( Height) แล้วเลือกหน่วย เช่น Pixel

4. กำหนดคุณสมบัติของภาพ

          1) Resolution ความละเอียดของภาพ สำหรับนำไปใช้ในเว็บเพจ ใช้ 72 Pixcel/Inch สำหรับนำไปใช้พิมพ์ ใช้ 300 Pixcel/Inch

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร


          -
White กำหนดให้พื้นเป็นสีขาว

          - Background Color กำหนดให้พื้นเป็นสีเดียวกับ Background

          - Transparent กำหนดให้พื้นโปร่งใสไม่มีเนื้อหาหรือสีปรากฎ

6. เป็นการกำหนดโปรไฟล์สีขั้นสูง

7. เมื่อกำหนดค่าต่าง ๆ ตามต้องการให้คลิกปุ่ม OK ถ้าต้องการยกเลิกให้คลิกปุ่ม Cancel

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

ก่อนเริ่มต้นการทำการตกแต่งหรือตัดต่อ ให้เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการขึ้นมาโดยเลือกแฟ้มที่ได้จัดเก็บไฟล์ภาพไว้ มีขั้นตอน ดังนี้

                      1.คลิกเมนู File > Open

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

2.เลือกเปิดภาพจากตำแหน่งที่เก็บไฟล์ภาพไว้ โดยเลือกจากช่อง Look in   จากตัวอย่าง เลือกภาพที่มีอยู่ใน My Pictures

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

3. คลิกเลือกไฟล์ภาพที่ต้องการ


4. กดปุ่ม Open

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

    เมื่อสร้างหรือตกแต่งภาพเสร็จแล้ว เราจะต้องบันทึกไฟล์ด้วยเพื่อเก็บการเปลี่ยนแปลงที่ทำกับภาพ โดยเลือกบันทึกไฟล์ได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้งาน สำหรับไฟล์ประเภทแรกที่ควรบันทึกคือ รูปแบบ PSD ของ Photoshop เองเพื่อเก็บเป็นต้นฉบับไว้สำหรับนำมาแก้ไขในภายหลัง จากนั้นจึงสั่งบันทึกไฟล์เป็นประเภทอื่น เช่น GIF หรือ JPG เพื่อให้เหมาะสำหรับการนำไปใช้งานในแต่ละกรณี


บันทึกไฟล์

1. คลิกเมนู File > Save     จะปรากฎหน้าต่าง ดังภาพ

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

2. เลือกตำแหน่งบันทึกไฟล์ภาพ ในช่อง Save in
3. ตั้งชื่อไฟล์ภาพในช่อง File name
4. เลือกชนิดของไฟล์ที่ต้องการบันทึก ถ้าต้องการเก็บไว้แก้ไข ให้เลือกเป็น .PSD
5. คลิกปุ่ม Save


บันทึกไฟล์ Photoshop (.PSD)
          การแก้ไขไฟล์ภาพโดยการสร้างกราฟิก เพิ่มการตัดต่อ หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะของไฟล์ภาพที่มีผลกับโครงสร้างเดิมของภาพ เมื่อเลือกคำสั่ง File > Save จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Save As ขึ้นมา โดยจะเลือกรูปแบบของไฟล์เป็น Photoshop (*.PSD, *.PDD) เป็นค่าพื้นฐาน
          ** คุณสมบัติของไฟล์ PSD จะเก็บรายละเอียดการทำงานต่าง ๆ เช่น เลเยอร์, ฟอนต์ และเส้นพาธ ไว้ได้อย่างครบถ้วนช่วยให้การนำไฟล์ภาพกลับมาแก้ไขทำได้ง่าย ในขณะที่ไฟล์ประเภทอื่นจะเก็บข้อมูลเหล่านี้ไม่ได้ หรือได้เพียงบางส่วน


บันทึกไฟล์ทับไฟล์เดิม
          การเปิดไฟล์ภาพเดิม มาตกแต่งสี, แสงเงา หรือกำหนดค่าเอฟเฟ็กต์ให้กับภาพ แต่ไม่ได้ใช้คำสั่งเกี่ยวกับการสร้างเลเยอร์ หรือสร้างกราฟิกอื่น ๆ เพิ่มเติมในภาพ เมื่อเลือกคำสั่ง File > Save โปรแกรมจะให้บันทึกทับชื่อไฟล์เดิม รูปแบบเดิม

(จะไม่มีไดอะล็อกบ๊อกซ์ Save As เปิดขึ้นมา หากไม่ต้องการให้ทับไฟล์เดิม ต้องคลิกเลือกคำสั่ง File > Save As เอง)


บันทึกไปใช้กับเว็บเพจ หรืออุปกรณ์อื่น
          รูปภาพที่นำไปใช้กับเว็บเพจ จะต่างจากรูปภาพที่นำไปใช้กับงานด้านอื่น ๆ คือ ชนิดของภาพที่จะนำไปใช้บนเว็บเพจนั้น ต้องเป็น GIF, JPG หรือ PNG เท่านั้น และควรให้ไฟล์มีขนาดเล็ก ขนาดภาพต้องพอดี ไม่ใหญ่จนเกินไป เมื่อผู้ชมเปิดเข้าไปในเว็บไซต์จะได้โหลดภาพได้เร็วยิ่งขึ้น โปรแกรมจึงมีคำสั่งสำหรับบันทึกรูปภาพไปใช้ในเว็บเพจโดยเฉพาะ คือ Save for Web & Devices โดยคำสั่งนี้จะให้กำหนดค่าออปชั่นการบันทึกภาพประเภทต่าง ๆ พร้อมกับดูภาพตัวอย่าง ขนาดของไฟล์ และระยะเวลาในการดาวน์โหลดเปรียบเทียบกันได้อีกด้วย ดังนี้


1. เลือกคำสั่ง File > Save for Web & Devices

2.เลือกเปิดภาพจากตำแหน่งที่เก็บไฟล์ภาพไว้ โดยเลือกจากช่อง Look in
จากตัวอย่าง เลือกภาพที่มีอยู่ใน My Pictures

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

2. กำหนดออปชั่นต่าง ๆ ในการแปลงไฟล์ แล้วดูภาพ ขนาด และเวลาในการดาวน์โหลดเปรียบเทียบกันในไดอะล็อกบ็อกซ์ Save for Web &

Devices ดังภาพ เลือกภาพจากกรอบตัวอย่างที่ต้องการใช้งาน

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

3 คลิกปุ่ม Save เพื่อบันทึกภาพ


4. จะปรากฏไดอะล็อกบ๊อกซ์ Save Optimized As เลือกตำแหน่งโฟลเดอร์ที่จะจัดเก็บในช่อง Save in

เลเยอร์แรกที่จะเกิดขึ้นอัตโนมัติในการสร้างชิ้นงานชื่อว่าอะไร

5. กำหนดชื่อไฟล์ภาพในช่อง File name


6 คลิกปุ่ม Save

รูปแบบไฟล์ภาพที่ใช้ใน Photoshop
Photoshop สามารถรองรับการทำงานกับไฟล์ภาพได้หลายชนิด ดังนี้

.PSD เป็นไฟล์มาตรฐานที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรม Photoshop สามารถเปิดไฟล์ที่สร้างขึ้นด้วยเวอร์ชันก่อนหน้านี้ได้ด้วย โดยไฟล์ .PSD จะไม่สามารถ

เปิดใช้งานได้ จากโปรแกรมอื่น ๆ


.GIF เป็นไฟล์ที่ใช้กันมากในการสร้างเว็บไซต์ เพราะไฟล์มีขนาดไม่ใหญ่ ง่ายต่อการบีบอัดข้อมูลทั้งไฟล์ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะสามารถเคลื่อนไหว ได้สร้างขึ้น

จาก โปรแกรมกราฟก และแอนิเมชั่น เช่น โปรแกรม Image Ready


.PNG ใช้บันทึกรูปภาพประเภทเวกเตอร์ จะมีคุณสมบัติคล้ายกับไฟล์ GIF ซึ่งสามารถบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็ก เกิดความสูญเสียน้อยมากหากมีการบีบอัด

ข้อมูล ทำให้มีความเหมาะสมในการโอนถ่ายข้อมูลบนระบบเครือข่าย Internet บันทึกส่วนที่โปร่งใสและสามารถเลือกระดับสีให้แสดงถึง 16.7 ล้านสี


.Tif เป็นการบันทึกไฟล์ภาพซึ่งสามารถบีบอัดข้อมูลทำให้คุณภาพของสีภาพเหมือนต้น ฉบับแต่ไฟล์ภาพนั้นจะมีขนาดใหญ่ ในกรณีที่บันทึกเป็นไฟล์สกุล

TIFF สามารถนำไปใช้ร่วมกับ PageMaker เพื่อสร้างสื่อสิ่งพิมพ์ต่อไป


.BMP เป็นรูปแบบของไฟล์มาตรฐานที่ใช้ในระบบปฏิบัติการ Windows และ Dos ซึ่งสามารถที่จะจัดเรียงสีดำไปหาสีขาว (1 ไบต์ต่อ 1 pixel) และ

จะสามารถเลือกระดับสีสูงถึง 24 บิต หรือ 16.7 ล้านสี


.EPS เป็นรูปของไฟล์ที่สามารถบรรจุภาพแบบเวกเตอร์และบิตแม็บสนับสนุนการนำรูปภาพ ไปเป็นภาพประกอบใน Illustrator หรือนำไปใช้ร่วมกับ

โปรแกรมจัดหน้าเอกสาร ในกรณีที่นำภาพแบบเวกเตอร์มาเปิดใน Photoshopจะถูกแปลงเป็น Bitmap ทันที


.PDF เป็นรูปแบบของไฟล์ที่ใช้เป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หรือนำเสนอข้อมูลบนอิน เทอร์เน็ต ข้อดีของไฟล์ PDF คือ รักษารูปแบบหน้ากระดาษ ตัวอักษร

รูปภาพให้เหมือนกับต้นฉบับและนิยมนำไฟล์ PDF บันทึกไฟล์งานก่อนส่งโรงพิมพ์ส่วนโปรแกรมที่ใช้อ่านไฟล์ PDF คือ Adobe Acrobat Reader


.JPEG เป็นไฟล์ที่สามารถบีบอัดข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพประเภท Bitmap หรือ ภาพถ่ายและสามารถกำหนดการแสดงภาพบนเว็บจากหยาบไปหาความ

ละเอียดที่เรียกว่า Progressive ซึ่งเราสามารถปรับค่าออปชันของรูปแบบไฟล์ JPEG ได้ (ส่วนมากไฟล์ภาพเป็น *.jpeg เกือบทั้งหมดสามารถสร้างขึ้น

ได้จากโปรแกรมกราฟิกทั่ว ๆ ไป


.PCT เป็นไฟล์ที่ใช้ในบนเครื่อง Macintosh เท่านั้นและมีขนาดของไฟล์ค่อนข้างใหญ่มาก เป็นไฟล์ที่สามารถยืดหยุ่นได้เป็นอย่างดี ถ้าหากมีการเปลี่ยน

แปลงการทำงานในระหว่าง Application หรือ ต่างเครื่องคอมพิวเตอร์

Layerแรกของการสร้างชิ้นงานที่ถูกสร้างขึ้นอัตโนมัติชื่อว่าอะไร

Layer แรกที่จะขึ้นในการเปิด File แรกโดย อัตโนมัติมีชื่อว่าอะไร Background. First Layer.

Eraser Tool ใช้ทำอะไร

Eraser Tool เป็นเครื่องมือยางลบทั่วไป ใช้สำหรับลบภาพ Background Eraser Tool เป็นยางลบไว้สำหรับลบเฉพาะพื้นหลัง Magic Eraser Tool เป็นยางลบที่ทำงานแบบเดียวกันกับ Magic Wand Tool. Gradient Tool เป็นเครื่องมือเติมสีลงในภาพแบบไล่ระดับสีที่เราเลือกไว้

การสร้างสําเนา Layer ที่เลือก คือข้อใด

การคัดลอกเลเยอร์ ทางเลือกในการสร้างสำเนาของเลเยอร์: ลากและวางเลเยอร์ไปยังไอคอน New Layer ที่ส่วนท้ายของพาเลท Layers. คลิกขวาที่เลเยอร์ เลือก Duplicate Layer และคลิก OK. กดปุ่ม Option ค้างไว้แล้วลากเลเยอร์ภายในหน้าต่าง Layers ไปยังตำแหน่งในลำดับการซ้อนกันที่คุณต้องการ

ออปชั่นบาร์คืออะไร

ออปชั่นบาร์ (options bar) คือ แถบตัวเลือกสำหรับกำหนดค่าการทำงานของเครื่องมือที่เรากำลังใช้งานอยู่ โดยเมื่อเราคลิกเมาส์ที่เครื่องมือในกล่องเครื่องมือที่แถบนี้ก็จะแสดงตัวเลือกให้เรียกใช้งาน เพื่อช่วยให้การทำงานสะดวกยิ่งขึ้น