เอฟเอ็มคอนเวอร์เตอร์มีหน้าที่อะไร

เคร่ืองรับวทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮเทอโรดายน์ 5.1 โครงสรา้ งวงจรเครื่องรบั วทิ ยุ AM แบบซเู ปอร์เฮท จากท่ีกลา่ วมาแลว้ เป็ นเบ้ืองตน้ ในหน่วยท่ี 4 ของหลกั การทางานเคร่ืองรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮเทอโรดายน์ หรือที่ นิยมเรียกวา่ เครื่องรบั วทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ถือเป็นเครื่องรับวทิ ยุ AM ท่ถี ูกสรา้ งข้ึนมาใชง้ านอยา่ งแพร่หลายต้งั แต่เร่ิมแรก ถึงปัจจุบนั เมื่อนามาแบง่ โครงสรา้ งในการทางานของเคร่ืองรับวทิ ยุประเภทน้ี แบ่งออกไดเ้ ป็นส่วนประกอบหลกั ดงั น้ี 1. ส่วนเปล่ียนความถี่ (Frequency Converter) หรือเรียกส้ันๆ ว่าภาคคอนเวอร์เตอร์ (Converter) ทาหน้าท่ีเปล่ียน ความถีว่ ิทยุคล่ืนพาห์ของแต่ละสถานีวิทยุกระจายเสียง AM ให้เป็นความถี่ปานกลาง (IF) คา่ เดียวกนั ทุกสถานีทคี่ วามถี่ 455 kHz 2. ส่วนกรองและขยายความถ่ีปานกลาง (IF) ทาหนา้ ท่ีกาหนดให้ความถี่ปานกลาง (IF) 455 kHz ความถเี่ ดยี วผ่าน ไปได้ และทาการขยายความถีป่ านกลาง (IF) น้ีให้มคี วามแรงมากข้ึนมากพอท่จี ะนาไปใชง้ าน 3. ส่วนตดั ความถีป่ านกลาง (IF) ออกไปซีกหน่ึงและกรองความถ่ี หรือดีเทกเตอร์ ทาหนา้ ทต่ี ดั ความถ่ีปานกลาง (IF) ซีกบวกหรือซีกลบซีกใดซีกหน่ึงออกไป พร้อมท้งั ทาการกรองเอาความถ่ีปานกลาง (IF) ท่ีหลงเหลืออยู่ออกไป ให้ เหลอื เฉพาะความถเี่ สียงไปใชง้ าน 4. ส่วนควบคมุ อตั ราขยายอตั โนมตั ิ (AGC) ทาหนา้ ทค่ี วบคุมและปรับระดบั ความแรงของความถ่ีปานกลาง (IF) ที่ถูก ขยายส่งออกมามรี ะดบั ความแรงใกลเ้ คียงกนั เพ่ือให้ไดส้ ัญญาณเสียงท่รี บั ไดม้ รี ะดบั ความดงั ใกลเ้ คยี งกนั ทกุ สถานี 5. ส่วนขยายสัญญาณเสียง ทาหน้าท่ีขยายสัญญาณเสียงให้แรงท่ีสุด โดยสัญญาณเสียงที่ถูกขยายแลว้ ตอ้ งไม่ ผิดเพ้ยี นไป ส่งไปขบั ลาโพงใหเ้ กิดเสียงออกมา ทาให้เคร่ืองรบั วทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮท นิยมนาไปใชง้ านอย่างกวา้ งขวาง ดว้ ยคุณสมบตั ิทด่ี ีหลายประการ ไดแ้ ก่ มี ความไวในการับสัญญาณวิทยุแต่ละสถานีดี แยกแยะการรับสัญญาณได้ดี ไม่เกิดการรบกวนกบั เคร่ืองรับวิทยุที่อยู่ใกลเ้ คียง สัญญาณท่ีรับได้มีความชัดเจนดีไม่ผิดเพ้ียน และมีระดบั ความดงั ของสัญญาณเสียงท่ีรับได้ทุกสถานีใกลเ้ คียงกนั โครงสร้าง เคร่ืองรบั วิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮทในรูปบล็อกไดอะแกรม แสดงดงั รูปที่ 5.1 RF IF AGC รูปท่ี 5.1 บล็อกไดอะแกรมเคร่ืองรบั วิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท จากรูปท่ี 5.1 แสดงบล็อกไดอะแกรมเคร่ืองรับวทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ประกอบดว้ ยภาคการทางาน ดงั น้ี

ภาคคอนเวอร์เตอร์ เป็นภาคท่ีรวมเอาภาคเลือกและขยายความถี่วิทยุ (RF) ภาคโลคอล ออสซิลเลเตอร์ (LO) และ ภาคมิกเซอร์เขา้ ดว้ ยกนั ทาหนา้ ท่ีรบั และเปลีย่ นความถีว่ ิทยุคล่ืนพาหส์ ถานีวิทยุกระจายเสียง AM ทุกสถานี ให้เป็นความถี่ ใหม่ 4 ความถี่ ได้แก่ ความถ่ีวิทยุที่รับเขา้ มา (fRF) ความถี่วิทยุที่ผลิตข้ึนมาจากภาคโลคอลออสซิลเลเตอร์ (fLO) ความถี่วิทยุ ผลบวกระหว่างความถี่วิทยุจากสถานีวิทยุ (fRF) กบั ความถ่ีวิทยุผลิตข้ึนมาจากภาคโลคอลออสซิลเลเตอร์ (fLO) หรือ (fLO + fRF) และ ความถี่วิทยผุ ลตา่ งระหว่างความถีว่ ิทยุจากสถานีวิทยุ (fRF) กบั ความถ่วี ทิ ยุผลติ ข้ึนมาจากภาคโลคอลออสซิลเลเตอร์ (fLO) หรือ (fLO - fRF) เป็นคา่ ความถี่ปานกลาง (IF) ภาคเลือกและขยาย IF ทาหนา้ ที่กรองความถ่ีปานกลาง (IF) 455 kHz ความถี่เดียวผ่านไปได้ และทาการขยายความถ่ี ปานกลาง (IF) น้ีให้มคี วามแรงมากข้นึ ภาคน้ีปกตจิ ะมีหน่ึงภาคใหไ้ ดค้ วามถที่ ่ีถกู ตอ้ งและความแรงท่ีพอเหมาะ ภาคดีเทกเตอร์และกรองความถี่ ทาหน้าท่ีตดั ความถ่ีปานกลาง (IF) ซีกใดซีกหน่ึงออกไป ปกติใช้ไดโอดชนิด ตอบสนองตอ่ ความถส่ี ูงมาตดั ความถ่ปี านกลาง (IF) พรอ้ มท้งั ทาการกรองเอาความถ่ปี านกลาง (IF) ทีห่ ลงเหลอื อยอู่ อกไป ให้ เหลือเฉพาะความถี่เสียงไปใชง้ าน ภาค AGC (ควบคุมอตั ราขยายอตั โนมตั ิ) ทาหน้าท่ีนาสัญญาณเสียงบางส่วนจากภาคดีเทกเตอร์และกรองความถี่ มาแปลงเป็นแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) ป้อนกลบั แบบลบกลบั มาควบคุมให้ภาคกรองและขยาย IF ทาการขยายความถี่ ปานกลาง (IF) ในลกั ษณะการทางานตรงขา้ ม คือ เม่ือรับสัญญาณเขา้ มาแรง ผ่านภาคดีเทกเตอร์และกรองความถี่ไดส้ ัญญาณ เสียงออกมาแรง ถูก AGC แปลงเป็นค่า DCV มาก ป้อนไปควบคุมภาคกรองและขยาย IF ให้ลดอตั ราขยายลง หรือเม่ือรับ สัญญาณเขา้ มาเบา ผ่านภาคดีเทกเตอร์และกรองความถี่ได้สญั ญาณ เสียงออกมาเบา ถูก AGC แปลงเป็นค่า DCV นอ้ ย ป้อน ไปควบคุมภาคกรองและขยาย IF ใหเ้ พม่ิ อตั ราขยายมากข้นึ ไดส้ ญั ญาณเสียงดงั ออกมาใกลเ้ คยี งกนั ทุกสถานี ภาคน้ีอาจเรียกวา่ ภาคควบคุมระดบั เสียงอตั โนมตั ิ (Automatic Volume Control ; AVC) ภาคขยายเสียง ทาหน้าที่ขยายสญั ญาณเสียงท่ีรับมาจากภาคดีเทกเตอร์ใหม้ ีความแรงมากข้ึน โดยสัญญาณเสียงท่ี ถูกขยายออกมายงั มีรูปสัญญาณคงเดิมไม่ผิดเพ้ียนไป ปกติในภาคน้ี จะประกอบดว้ ยส่วนขยายเสียง 2 ชุด ชุดแรกเรียกว่า วงจร ขบั กาลงั (Driver Circuit) ชุดสองเรียกว่า วงจรขยายกาลงั (Power Amplifier Circuit) ส่งต่อสัญญาณเสียงที่ขยายแลว้ ไปขับ ลาโพงให้เปลง่ เสียงในรูปอากาศส่นั สะเทอื นท่ีหูคนไดย้ นิ ออกมา แหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้า เป็นแหล่งให้กาเนิดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง และกระแสไฟฟ้ากระแสตรงออกมา ตาม ความตอ้ งการของวงจร แหลง่ จา่ ยที่ใชง้ านแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนแรกอาจใชแ้ บตเตอร่ี (ถา่ นไฟฉาย) จา่ ยใหว้ งจร โดยตรง ส่วนท่ีสองโดยการนาแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลบั ท่ีใช้ตามบา้ นเรือนมาแปลงให้เป็ นแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงจาก วงจรเรียงกระแสไฟฟ้า (Rectifier Circuit) จา่ ยใหว้ งจร 5.2 ภาคคอนเวอร์เตอร์ ภาคคอนเวอร์เตอร์ เป็นภาคท่ีรวมเอาภาคเลือกและขยายความถ่ีวิทยุ (RF) ภาคโลคอล ออสซิลเลเตอร์ (LO) และ ภาคมิกเซอร์เขา้ ด้วยกนั ทาหน้าท่ีเปลี่ยนความถี่วทิ ยุคลน่ื พาห์ของแต่ละสถานีวิทยุกระจายเสียง AM ให้เป็นความถี่ปานกลาง (IF) ค่าเดียวกนั ทกุ สถานีท่ีความถี่ 455 kHz ส่วนประกอบของภาคคอนเวอร์เตอร์ในรูปบล็อกไดอะแกรม แสดงดงั รูปที่ 5.2

540 – 1,600 kHz RF 1. RF 2. LO 3. LO + RF IF 4. LO - RF RF IF 540–1,600 kHz 455 kHz LO LO 995–2,055 kHz รูปที่ 5.2 บลอ็ กไดอะแกรมภาคคอนเวอร์เตอร์เครื่องรบั วิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท จากรูปท่ี 5.2 แสดงบล็อกไดอะแกรมภาคคอนเวอร์เตอร์เคร่ืองรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ประกอบด้วย 3 ภาค รวมกนั คอื ภาคจูน RF ภาคมิกเซอร์ และภาคโลคอลออสซิลเลเตอร์ การทางานของภาคคอนเวอร์เตอร์ อธิบายไดด้ งั น้ี สายอากาศรบั ความถ่ีวิทยุ AM ทุกสถานีในย่าน 540 - 1,600 kHz เขา้ มา ความถี่วทิ ยทุ ีส่ ามารถผ่านเขา้ ไปไดข้ ้ึนอยู่ กบั ภาคจูน RF ท่ีสามารถปรับเลือกความถ่ีวิทยุครอบคลุมในย่านสถานีวิทยุ AM จะปรับเลือกรับเพียง 1 ความถ่ีท่ีตรงกับ ความถีเ่ รโซแนนซ์ของวงจรจูน RF ส่งต่อความถี่วิทยุ (RF) ท่รี ับเขา้ มาไปใหภ้ าคมกิ เซอร์ ภาคโลคอลออสซิลเลเตอร์จะให้กาเนิดความถี่วิทยุ มีค่าความถี่และความแรงคงท่ีค่าหน่ึงข้ึนมา โดยจะให้กาเนิด ความถวี่ ิทยุข้ึนมามีค่าสูงกว่าค่าความถ่วี ิทยุที่ภาคจูน RF รับเขา้ มาเท่ากบั 455 kHz เสมอ มคี วามถ่อี ยใู่ นย่าน 995 - 2,055 kHz ตวั อย่างเช่น จูน RF รับความถ่ีวิทยุ AM ที่ 540 kHz เขา้ มา จูน LO จะให้กาเนิดความถ่ีวิทยุข้ึนมา 995 kHz (540 kHz + 455 kHz) หรือเม่อื จนู RF รบั ความถี่วิทยุ AM ท่ี 1,600 kHz เขา้ มา จนู LO จะใหก้ าเนิดความถว่ี ิทยุข้ึนมา 2,055 kHz (1,600 kHz + 455 kHz) เป็นตน้ การปรบั เปลยี่ นคา่ ความถ่ีวิทยขุ องจนู RF และจนู LO จะถกู ปรับเปลีย่ นไปพร้อมกนั เสมอ (ตามเส้นประ ทแี่ สดง) การกาเนิดความถีว่ ทิ ยุของจูน LO จะตอ้ งมรี ะดบั ความแรงคงทีข่ องความถว่ี ิทยุท่กี าเนิดข้ึนมาตลอดระยะเวลาทางาน จงึ ตอ้ งมภี าคป้อนกลบั แบบบวกเขา้ มาช่วยในการทางาน โดยรับสญั ญาณแบบบวกบางส่วนมาจากภาคมิกเซอร์มากระตุน้ เสริม ความแรงในการกาเนิดความถ่ีวิทยุของจูน LO ให้ได้ความถี่โลคอลออสซิลเลเตอร์ (LO) มีความแรงคงท่ีของความถี่วิทยุ ออกมา ภาคมกิ เซอร์รบั ความถวี่ ิทยเุ ขา้ มาจากจนู RF และจูน LO ทาการผสมความถี่วิทยุท้งั สองไดค้ วามถวี่ ิทยอุ อกมา 4 ความถ่ี ไดแ้ ก่ 1. ความถ่ี RF 2. ความถ่ี LO 3. ความถ่ี LO + RF 4. ความถ่ี LO - RF หรือความถ่ี IF = 455 kHz ความถ่ีวิทยุท้งั 4 ความถ่ี ถูกส่งต่อไปให้ภาคจูน IF เพ่ือกรองผ่านเฉพาะความถ่ี IF ที่ 455 kHz หรือความถี่ LO - RF เทา่ น้นั ส่งต่อไปใชง้ าน ส่วนความถี่อน่ื ๆ ถูกตา้ นไวไ้ มส่ ามารถผ่านไปได้

5.2.1 วงจรคอนเวอร์เตอร์ชนดิ ใช้ทรานซิสเตอร์ทางาน 2 ตัว ภาคคอนเวอร์เตอร์ชนิดน้ีใชท้ รานซิสเตอร์ทางานแยกกนั ระหวา่ งภาคมิกเซอร์ และภาคโลคอลออสซิล เลเตอร์ ลกั ษณะวงจร แสดงดงั รูปที่ 5.3 RF T1 Q1 IF IFT1 L1 L6 L7 IF RF R7 TC1 VC1 L3 C4 L2 C2 R3 C1 R1 R2 Q2 +VCC R4 LO C3 R5 R6 LO C5 T2 TC2 VC2 L5 L4 รูปที่ 5.3 วงจรคอนเวอร์เตอร์ใชท้ รานซิสเตอร์ทางาน 2 ตวั จากรูปท่ี 5.3 แสดงวงจรคอนเวอร์เตอร์ใชท้ รานซิสเตอร์ทางาน 2 ตวั วงจรมีส่วนประกอบหลายชนิด มี หนา้ ที่การทางานแตกตา่ งกนั ดงั น้ี L1  ขดลวดของหมอ้ แปลง T1 ต่อไปสายอากาศดา้ นหน่ึง และลงกราวด์อกี ดา้ นหน่ึง ทาหนา้ ท่ี รบั ความถีว่ ิทยุ AM ทุกสถานีในยา่ น 540 - 1,600 kHz เขา้ มา ส่งไปใหว้ งจรจนู RF TC1, VC1 และ L2  วงจรจูน RF ทาหน้าท่ีเลือกความถี่วิทยุคลื่นพาห์ AM เพียง 1 สถานีจ่ายมาตกคร่อมมี สัญญาณแรงท่ีสุด เพ่ือส่งต่อไปให้ L3 จ่ายไปเขา้ วงจรมิกเซอร์การเลือกรับสถานีวิทยุ AM ที่ตอ้ งการโดยการปรับตวั เก็บประจุ VC1 ส่วน TC1 เป็ นตวั เก็บประจุทริมเมอร์ (Trimmer) ใช้ปรับแต่งเล็กน้อยให้วงจรจูน RF สามารถรับย่านความถ่ีวิทยุ AM ได้ ครอบคลมุ ความถ่ี 540 - 1,600 kHz L3  ขดลวดทตุ ิยภมู ิของหมอ้ แปลง T1 ทาหนา้ ทีร่ ับความถ่วี ิทยุคล่ืนพาห์ AM สถานีท่วี งจรจูน RF เลือกไวส้ ่งต่อไปใหข้ า B ของ Q1 R1, R2 และ R4, R5  จดั วงจรแบบแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า กาหนดแรงดนั ไฟฟ้าจ่ายเป็นไบแอสให้ขา B ของ Q1 และ Q2คา่ พอเหมาะ เพอ่ื ทาให้ทรานซิสเตอร์ท้งั 2 ตวั ทางานอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

C1 และ C3  ตวั กรองสญั ญาณไฟฟ้ากระแสสลบั และสญั ญาณรบกวนทีต่ ิดมากบั แรงดนั ไฟฟ้า +VCC ใหห้ มดไป เหลอื เฉพาะแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจา่ ยใหว้ งจร R3 และ R6  ตวั ตา้ นทานรักษาระดบั แรงดนั ไฟฟ้า (Stabilizing Resistor) ช่วยควบคุมให้ตวั Q1 และ Q2 ทางานคงทีต่ ่ออุณหภูมิ Q1  ทรานซิสเตอร์ทาหน้าท่ีมิกเซอร์ ผสมความถี่วิทยุ AM ของสถานีที่รับเข้ามา (RF) กบั ความถีว่ ิทยทุ ่กี าเนิดข้นึ มาจากวงจรโลคอลออสซิลเลเตอร์ (LO) ส่งความถี่ท่ผี สมออกขา C Q2  ทรานซิสเตอร์ในวงจรโลคอลออสซิลเลเตอร์ ช่วยทาให้การกาเนิดความถี่ของวงจรมคี ่า ความแรงคงทแ่ี ละถกู ตอ้ ง TC2, VC2 และ L4  วงจรจนู LO ทาหนา้ ที่กาเนิดความถ่ีโลคอลออสซิลเลเตอร์ (LO) ค่าถกู ตอ้ งข้ึนมา การให้ กาเนิดความถี่ที่ตอ้ งการโดยการปรับตวั เก็บประจุ VC2 ส่วน TC2 เป็ นตวั เก็บประจุทริม เมอร์ใชป้ รับแต่งเล็กนอ้ ยให้วงจรจูน LO สามารถกาเนิดความถ่ีวิทยุได้ครอบคลุมความถี่ 995 - 2,055 kHz L5  ขดลวดทุติยภูมิของหมอ้ แปลง T2 ทาหน้าที่เป็ นวงจรป้อนกลบั แบบบวก ช่วยกระตุน้ ให้ วงจรจนู LO กาเนิดความถขี่ ้ึนมามีความแรงคงทีต่ ลอดเวลา C2 และ C5  ตวั ส่งผ่านความถว่ี ิทยทุ ่กี าเนิดข้ึนมาจากวงจรจูน LO ส่งไปใหข้ า E ของ Q1 และ Q2 C4 และ L6  วงจรจนู IF ทาหนา้ ทกี่ าหนดความถ่ี IF คา่ 455 kHz ผ่านไปไดค้ วามถเี่ ดียว R7 L7  ตวั ตา้ นทานกาหนดคา่ แรงดนั ไฟฟ้าท่พี อเหมาะ จา่ ยไปให้วงจรขยาย IF  ขดลวดทุตยิ ภูมิของหมอ้ แปลง IFT1 ทาหนา้ ท่ีรับความถี่ IF ส่งต่อไปให้วงจร ขยาย IF และ ชว่ ยปรบั ความเหมาะสมของอิมพีแดนซ์ เพอ่ื ให้สามารถส่งผา่ นสัญญาณความถ่ี IF ไดแ้ รง ทีส่ ุด หลกั การทางานของวงจรคอนเวอร์เตอร์ อธิบายไดด้ งั น้ี ความถว่ี ทิ ยุ AM ทกุ สถานีในย่าน 540 - 1,600 kHz ถกู ส่งผ่านสายอากาศเขา้ มาท่ี L1 เหน่ียวนามาใหว้ งจร จูน RF ตวั วงจรจนู RF จะเลือกรับความถวี่ ิทยุ AM เพียง 1 สถานี ส่งผ่านไปให้ L3 และส่งต่อไปเขา้ ขา B ของ Q1 เป็นวงจร มกิ เซอร์ วงจรจูน LO กาเนิดความถขี่ ้ึนมามีคา่ ความถี่สูงกวา่ ความถ่ีที่รับเขา้ มาจากจูน RF เท่ากบั 455 kHz เสมอ เช่น จูน RF รับความถ่ีเขา้ มา 540 kHz วงจรจูน LO จะกาเนิดให้ความถขี่ ้ึนมา 995 kHz (540 kHz + 455 kHz) ส่งผ่านความถ่ี LO ไป C5 เขา้ ขา E ของ Q2 ออกขา C ไปให้ L5 ให้เกิดอานาจแม่เหล็กกระตนุ้ วงจรจูน LO เป็ นการป้อนกลบั แบบบวก ทาให้ วงจรจูน LO กาเนิดความถ่ีข้ึนมามีท้งั ความแรงและความถี่คงท่ีออกมาตลอดเวลา ความถีค่ งท่ไี ดอ้ อกมาจะถูกส่งผ่าน C2 เขา้ ขา E ของ Q1 ไปผสมกบั ความถ่ี RF ทว่ี งจรจูน RF รบั เขา้ มาถูกส่งผ่าน L3 ไปเขา้ ขา B ของ Q1 วงจรมิกเซอร์ Q1 ทาการผสมความถี่ RF และความถี่ LO เขา้ ด้วยกนั ส่งออกท่ีขา C ได้ความถ่ีออกมา 4 ความถ่ี คือ ความถี่ RF ความถ่ี LO ความถี่ LO + RF และความถี่ LO - RF หรือความถ่ี IF = 455 kHz ส่งตอ่ ไปให้วงจรจูน IF 5.2.2 วงจรคอนเวอร์เตอร์ชนดิ ใช้ทรานซิสเตอร์ตัวเดยี ว ภาคคอนเวอร์เตอร์ชนิดน้ีใชท้ รานซิสเตอร์ทางานเพียงตวั เดียว ท้งั การทางานในภาคมกิ เซอร์ และภาคโล คอลออสซิลเลเตอร์ ลกั ษณะวงจร แสดงดงั รูปที่ 5.4

RF T1 L1 Q1 L5 IF IFT1 IF T2 L4 C3 L6 L7 RF C2 TC1 VC1 L3 L2 R3 TC2 VC2 LO R4 -VCC C1 R1 R2 LO รูปที่ 5.4 วงจรคอนเวอร์เตอร์ใชท้ รานซิสเตอร์ทางานตวั เดียว จากรูปที่ 5.4 แสดงวงจรคอนเวอร์เตอร์ใชท้ รานซิสเตอร์ทางานตวั เดียว วงจรมีส่วนประกอบหลายชนิด มีหนา้ ทกี่ ารทางานแตกตา่ งกนั ดงั น้ี L1  ขดลวดของหมอ้ แปลง T1 ต่อไปสายอากาศดา้ นหน่ึง และลงกราวดอ์ ีกดา้ นหน่ึง ทาหนา้ ท่ี รับความถีว่ ิทยุ AM ทุกสถานีในย่าน 540 - 1,600 kHz เขา้ มา ส่งไปใหว้ งจรจูน RF TC1, VC1 และ L2  วงจรจูน RF ทาหนา้ ที่เลือกความถี่วิทยุ RF เพียง 1 สถานีจ่ายมาตกคร่อมมีสัญญาณแรง ท่ีสุด เพื่อส่งต่อไปให้ L3 จ่ายไปเขา้ วงจรมิกเซอร์การเลอื กรับสถานีวิทยุ AM ที่ตอ้ งการ โดยการปรบั ตวั เก็บประจุ VC1 ส่วน TC1 เป็นตวั เก็บประจุทริมเมอร์ใช้ปรับแต่งเล็กนอ้ ย ใหว้ งจรจูน RF สามารถรับยา่ นความถี่วิทยุ AM ไดค้ รอบคลมุ ความถี่ 540 - 1,600 kHz L3  ขดลวดทุติยภูมของหมอ้ แปลง T1 ทาหนา้ ที่รับความถี่วิทยุRF สถานีท่ีวงจรจูน RF เลือก R1 และ R2 ไวส้ ่งต่อไปให้ขา B ของ Q1 C1  จดั วงจรแบบแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า กาหนดแรงดนั ไฟฟ้าจา่ ยเป็นไบแอสใหข้ า B ของ Q1 ในค่า พอเหมาะ เพ่ือทาให้ทรานซิสเตอร์ Q1 ทางานอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม  ตวั กรองสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลบั และสัญญาณรบกวนที่ติดมากบั แรงดนั ไฟฟ้า -VCC ใหห้ มดไป เหลอื เฉพาะแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจ่ายใหว้ งจร R3  ตวั ตา้ นทานรักษาระดบั แรงดนั ไฟฟ้า ช่วยควบคุมให้ตวั Q1 ทางานคงที่ตอ่ อณุ หภมู ิ Q1  ทรานซิสเตอร์ทาหน้าท่ีคอนเวอร์เตอร์ (มิกเซอร์ และโลคอลออสซิลเลเตอร์) ผสมความถี่ วทิ ยุ AM ของสถานีท่รี ับเขา้ มา (RF) กบั ความถี่วิทยุทก่ี าเนิดข้นึ มาจากวงจรโลคอลออสซิล เลเตอร์ (LO) ส่งความถท่ี ่ีผสมออกขา C TC2, VC2 และ L4  วงจรจูน LO ทาหนา้ ท่ีกาเนิดความถ่ีโลคอลออสซิลเลเตอร์ (LO) คา่ ถกู ตอ้ งข้ึนมา การให้ กาเนิดความถี่ที่ตอ้ งการโดยการปรับตวั เก็บประจุ VC2 ส่วน TC2 เป็ นตวั เก็บประจุทริม เมอร์ใชป้ รับแต่งเล็กนอ้ ยให้วงจรจูน LO สามารถกาเนิดความถี่วิทยุไดค้ รอบคลุมความถ่ี 995 - 2,055 kHz

L5  ขดลวดทตุ ิยภูมิของหมอ้ แปลง T2 ทาหนา้ ทเี่ ป็นวงจรป้อนกลบั แบบบวก ช่วยกระตุน้ ให้ วงจรจูน LO กาเนิดความถข่ี ้นึ มามีความแรงคงทตี่ ลอดเวลา C2 C3 และ L6  ตวั ส่งผ่านความถวี่ ิทยุทีก่ าเนิดข้ึนมาจากวงจรจูน LO ส่งไปให้ขา E ของ Q1 R4  วงจรจนู IF ทาหนา้ ทกี่ าหนดความถ่ี IF คา่ 455 kHz ผ่านไปไดค้ วามถ่ีเดยี ว L7  ตวั ตา้ นทานกาหนดค่าแรงดนั ไฟฟ้าทพ่ี อเหมาะ จ่ายไปใหว้ งจรขยาย IF  ขดลวดทุตยิ ภูมิของหมอ้ แปลง IFT1 ทาหน้าท่ีรับความถ่ี IF ส่งต่อไปให้วงจร ขยาย IF และ ช่วยปรบั ความเหมาะสมของอิมพีแดนซ์ เพอื่ ใหส้ ามารถส่งผา่ นสญั ญาณความถ่ี IF ไดแ้ รง ทส่ี ุด หลกั การทางานของวงจรคอนเวอร์เตอร์ อธิบายไดด้ งั น้ี ความถี่วทิ ยุ AM ทุกสถานีในยา่ น 540 - 1,600 kHz ถูกส่งผา่ นสายอากาศเขา้ มาท่ี L1 เหนี่ยวนามาใหว้ งจร จูน RF ตวั วงจรจูน RF จะเลือกรบั ความถีว่ ิทยุ AM เพียง 1 สถานี ส่งผา่ นไปให้ L3 และส่งต่อไปเขา้ ขา B ของ Q1 เป็นวงจร มิกเซอร์ วงจรจนู LO กาเนิดความถี่ข้ึนมามีค่าความถ่ีสูงกวา่ ความถ่ีทรี่ ับเขา้ มาจากจนู RF เทา่ กบั 455 kHz เสมอ ส่งผา่ นความถ่ี LO ไป C2 เขา้ ขา E ของ Q1 ออกขา C ไปให้ L5 ให้เกิดอานาจแมเ่ หลก็ กระตนุ้ วงจรจูน LO เป็นการป้อนกลบั แบบ บวก ทาใหว้ งจรจูน LO กาเนิดความถ่ีข้นึ มามีท้งั ความแรงและความถ่คี งท่อี อกมาตลอดเวลา ความถี่คงทไ่ี ดอ้ อกมาจะถกู ส่งผ่าน C2 เขา้ ขา E ของ Q1 ไปผสมกบั ความถ่ี RF ท่วี งจรจนู RF รับเขา้ มาส่งผา่ น L3 ไปเขา้ ขา B ของ Q1 วงจรมิกเซอร์ Q1 ทาการผสมความถี่ RF และความถี่ LO เขา้ ดว้ ยกนั ส่งออกที่ขา C ได้ความถี่ออกมา 4 ความถ่ี คือ ความถี่ RF ความถ่ี LO ความถี่ LO + RF และความถี่ LO - RF หรือความถ่ี IF = 455 kHz ส่งต่อไปให้วงจรจนู IF 5.2.3 วงจรคอนเวอร์เตอร์ชนิดใช้ IC ภาคคอนเวอร์เตอร์ชนิดน้ีใช้ IC ทางานเพียงตวั เดียว ภายในตวั IC ประกอบด้วยภาคมิกเซอร์ และภาคโล คอลออสซิลเลเตอร์ ลกั ษณะวงจร แสดงดงั รูปท่ี 5.5

LO T2 C4 TC2 VC2 L4 L5 C3 C2 LO R1 +VCC C1 VC8C OS7C OS6C OUT5B IFT1 IF AGC L6 L7 C5 IF T1 SA6U021 AN L1 GN3D OUT4A RF RF IN1A IN2B TC1 VC1 L2 L3 รูปท่ี 5.5 วงจรคอนเวอร์เตอร์ใช้ IC ทางานตวั เดยี ว จากรูปท่ี 5.5 แสดงวงจรคอนเวอร์เตอร์ใช้ IC ทางานตวั เดียว วงจรมีส่วนประกอบหลายชนิด มีหนา้ ที่การ ทางานแตกตา่ งกนั ดงั น้ี L1  ขดลวดของหมอ้ แปลง T1 ต่อไปสายอากาศดา้ นหน่ึง และลงกราวดอ์ กี ดา้ นหน่ึง ทาหนา้ ท่ี รับความถี่วิทยุ AM ทกุ สถานีในยา่ น 540 - 1,600 kHz เขา้ มา ส่งไปให้วงจรจนู RF TC1, VC1 และ L2  วงจรจูน RF ทาหนา้ ท่ีเลือกความถี่วิทยุ RF เพียง 1 สถานีจ่ายมาตกคร่อมมีสัญญาณแรง ที่สุด เพื่อส่งต่อไปให้ L3 จ่ายไปเข้าตวั U1 ที่ขา 1 และ 2 การเลือกรับสถานีวิทยุ AM ที่ ตอ้ งการโดยการปรบั ตวั เก็บประจุ VC1 ส่วน TC1 เป็ นตวั เก็บประจุทริมเมอร์ใชป้ รับแตง่ เลก็ นอ้ ยให้วงจรจูน RF สามารถรบั ย่านความถ่วี ทิ ยุ AM ไดค้ รอบคลมุ ความถ่ี 540 - 1,600 kHz L3  ขดลวดทตุ ยิ ภมู ของหมอ้ แปลง T1 ทาหนา้ ที่รับความถีว่ ิทยุ RF สถานีทว่ี งจรจูน RF เลอื กไว้ ส่งต่อไปให้วงจรขยายภายในตวั U1 ทขี่ า 1 และ 2 TC2, VC2 และ L4  วงจรจนู LO ทาหนา้ ที่กาเนิดความถ่ีโลคอลออสซิลเลเตอร์ (LO) ค่าถูกตอ้ งข้นึ มา การให้ กาเนิดความถี่ที่ตอ้ งการโดยการปรับตวั เก็บประจุ VC2 ส่วน TC2 เป็ นตวั เก็บประจุทริม เมอร์ใชป้ รับแตง่ เล็กนอ้ ยใหว้ งจรจูน LO สามารถกาเนิดความถ่ีวิทยุไดค้ รอบคลุมความถ่ี 995 - 2,055 kHz L5  ขดลวดทุติยภูมของหมอ้ แปลง T2 ทาหน้าที่รับความถ่ีวิทยุท่ีถูกกาเนิดข้ึนมาโดยวงจรจูน LO ป้อนเขา้ มาขยายสญั ญาณดว้ ยทรานซิสเตอร์ภายในตวั U1 ทต่ี อ่ ร่วมกบั ตวั C2, C3 และ C4 เป็ นวงจรกาเนิดความถี่แบบโคลปิ ตส์ ช่วยให้วงจรกาเนิดความถ่ีแบบโคลปิ ตส์กาเนิด ความถ่ขี ้ึนมามีความแรง และความถี่คงท่ีตลอดเวลา

C2 และ C3  ตวั เก็บประจุท่ีเป็นส่วนประกอบของวงจรกาเนิดความถ่ีแบบโคลปิ ตส์ ต่อวงจรร่วมกบั C4 L5 และทรานซิสเตอร์ภายในตัว U1 ท่ีต่อขา E ของทรานซิสเตอร์ออกมาท่ีขา 7 ทาให้วงจร R1 กาเนิดความถแ่ี บบโคลปิตส์สามารถให้กาเนิดความถี่ข้นึ มาไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม C1 L6  ตวั ส่งผ่านความถี่วิทยุท่กี าเนิดข้ึนมาจากวงจรจูน LO และวงจรกาเนิดความถ่ีแบบโคลปิ ตส์ C5 และ L7 ผ่านเขา้ ขา 6 ของ U1 ส่งไปผสมสัญญาณทีว่ งจรมิกเซอร์ในตวั U1  ตวั ตา้ นทานกาหนดระดบั แรงดนั ไฟฟ้าคา่ ทเ่ี หมาะสมส่งไปให้ U1 สามารถทางานไดด้ ี  ตวั กรองสญั ญาณไฟฟ้ากระแสสลบั และสัญญาณรบกวนที่ติดมากบั แรงดนั ไฟฟ้า +VCC ให้หมดไป เหลือเฉพาะแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจ่ายใหต้ วั U1  ขดลวดปฐมภูมิของหมอ้ แปลง IFT1 ทาหน้าที่รับความถี่วิทยุที่ถูกจ่ายออกมาจากวงจร มิกเซอร์ภายในตวั U1 เพ่ือส่งต่อไปให้จูน IF ต่อไป และช่วยปรับความเหมาะสมของ อิมพีแดนซ์ เพือ่ ให้สามารถส่งผ่านสญั ญาณความถี่วทิ ยุไดแ้ รงทส่ี ุด  วงจรจูน IF ทาหนา้ ทก่ี าหนดความถี่ IF ค่า 455 kHz ผา่ นไปไดเ้ พียงความถ่ีเดยี ว หลกั การทางานของวงจรคอนเวอร์เตอร์ อธิบายไดด้ งั น้ี ความถว่ี ทิ ยุ AM ทกุ สถานีในย่าน 540 - 1,600 kHz ถูกส่งผ่านสายอากาศเขา้ มาที่ L1 เหน่ียวนามาให้วงจร จนู RF ตวั วงจรจูน RF จะเลือกรับความถ่ีวิทยุ AM เพียง 1 สถานี ส่งผ่านไปให้ L3 และส่งตอ่ ไปเขา้ ขา 1 และ 2 ของ U1 เป็น IC ภาคคอนเวอร์เตอร์ ส่งตอ่ ความถี่ RF ไปให้วงจรมิกเซอร์ วงจรจูน LO กาเนิดความถ่ีข้นึ มามีค่าความถสี่ ูงกว่าความถี่ที่รับเขา้ มาจากจูน RF เท่ากบั 455 kHz เสมอ ส่งผ่านความถ่ี LO ไป L5 เขา้ ขา 6 และขา 7 ของ U1 ให้กาเนิดความถี่ข้ึนมามีท้งั ความแรงและความถ่ีคงท่ีออกมาตลอดเวลา จา่ ยเขา้ ขา 6 ของ U1 ไปให้วงจรมิกเซอร์ วงจรมิกเซอร์ภายในตวั U1 ทาการผสมความถี่ RF และความถ่ี LO เขา้ ดว้ ยกนั ส่งออกทขี่ า 4 และขา 5 ของ U1 ไดค้ วามถอ่ี อกมา 4 ความถ่ี คือ ความถ่ี RF ความถ่ี LO ความถ่ี LO + RF และความถ่ี LO - RF หรือความถี่ IF = 455 kHz ส่ง ตอ่ ไปใหว้ งจรจูน IF 5.3 ภาคความถปี่ านกลาง (IF) ภาคความถี่ปานกลาง (IF) เป็นภาคที่รับความถี่จากภาคมิกเซอร์ส่งมา รับความถ่ีเขา้ มา 4 ความถ่ี คือ ความถี่ RF ความถี่ LO ความถ่ี LO + RF และความถี่ LO - RF หรือความถ่ี IF = 455 kHz ส่งไปใหว้ งจรจูน IF กาหนดเฉพาะความถี่ IF = 455 kHz ผ่านเท่าน้ัน นาความถี่ IF ไปทาการขยาย ปกติจะมีประมาณ 2 - 3 ภาค ส่วนประกอบภาคความถี่ IF ในรูป บล็อกไดอะแกรม แสดงดงั รูปท่ี 5.6 1. RF IF IF 2. LO IF1 3. LO + RF IF 4. LO - RF IF1 IF2 IF2 IF3 455 kHz 455 kHz 455 kHz

รูปที่ 5.6 บล็อกไดอะแกรมภาคความถี่ IF เคร่ืองรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท จากรูปท่ี 5.6 แสดงบล็อกไดอะแกรมภาคความถ่ี IF เคร่ืองรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ประกอบด้วยภาคจูน IF และภาคขยาย IF การทางานของภาคความถ่ี IF อธิบายไดด้ งั น้ี ความถ่ีส่งมา 4 ความถี่ ไดแ้ ก่ ความถี่ RF ความถี่ LO ความถี่ LO + RF และความถี่ LO - RF หรือความถี่ IF = 455 kHz ส่งไปให้วงจรจูน IF1 กรองผ่านความถ่ี IF = 455 kHz ผ่านไปให้วงจรขยาย IF1 ขยายสัญญาณให้มีความแรงมากข้ึน ส่งผา่ นไปใหว้ งจรจนู IF2 กรองผา่ นความถี่ IF = 455 kHz ผ่านไปให้วงจรขยาย IF2 ขยายสัญญาณใหม้ ีความแรงมากข้ึน ทา เช่นน้ีจนครบทุกวงจร ไดค้ วามถี่ IF = 455 kHz มีความแรงมากพอส่งตอ่ ไปใหภ้ าคดเี ทกเตอร์ 5.3.1 วงจรภาคความถ่ี IF ชนดิ ใช้ทรานซิสเตอร์ ภาคความถี่ IF ชนิดน้ีใชท้ รานซิสเตอร์ทาหนา้ ท่ีเป็ นภาคขยายความถี่ IF วงจรประกอบดว้ ยภาคจูน IF และภาคขยาย IF ลกั ษณะวงจร แสดงดงั รูปท่ี 5.7 IF -VCC IF IFT1 R4 Q2 IF1 IFT2 R6 Q3 IF2 IFT3 C6 C9 C4 R5 C5 R7 C7 R8 C8 AGC รูปท่ี 5.7 วงจรภาคความถ่ี IF ชนิดใชท้ รานซิสเตอร์ จากรูปที่ 5.7 แสดงวงจรภาคความถี่ IF ชนิดใชท้ รานซิสเตอร์ขยายสญั ญาณ วงจรมีส่วนประกอบหลาย ชนิด มีหนา้ ทก่ี ารทางานแตกต่างกนั ดงั น้ี IFT1, IFT2  หมอ้ แปลงทาหนา้ ทก่ี าหนดความถ่ี IF ค่า 455 kHz ผ่านไปไดเ้ พียงความถ่ีเดียว โดยกาหนด และ IFT3 ทางดา้ นขดปฐมภูมิท่ีมีตวั L และตวั C (ประกอบอย่ภู ายในตวั หมอ้ แปลง) ตอ่ ขนานกนั เป็น วงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน ส่วนทางดา้ นขดทุติยภูมทิ าหนา้ ทชี่ ่วยปรับคา่ อมิ พแี ดนซ์ใน การเชื่อมต่อให้เหมาะสมกนั พร้อมท้งั ช่วยส่งผ่านความถ่ี IF ไปให้วงจรขยาย IF ทาการ ขยายสัญญาณ ตวั หมอ้ แปลง IFT ถูกคลุมดว้ ยกระป๋ องโลหะ (กรอบสีเหลือง) และมสี ่วน ท่ีถูกต่อลงกราวด์ด้วย ช่วยป้องกนั สัญญาณรบกวนจากภายนอกท่ีอาจเขา้ มา และช่วย ป้องกันการแพร่กระจายคล่ืนความถ่ี IF ออกไปภายนอก หมอ้ แปลง IFT แต่ละตัว ใน ตาแหน่งแกนเฟอร์ไรตท์ ่ใี ชป้ รบั แตง่ ความถจี่ ะถูกทาสีไว้ ให้จาไดง้ ่าย นิยมทาสีเหลือง สี ขาว สีดา หรือสีอ่ืนๆ ลกั ษณะหมอ้ แปลงIFT แสดงดงั รูปที่ 5.8

IFT (ก) ดา้ นบน IFT (ข) ดา้ นล่าง IFT (ค) สญั ลกั ษณ์ รูปที่ 5.8 หมอ้ แปลง IFT ของเครื่องรับวทิ ยุ AM ซุปเปอร์เฮท จากรูปท่ี 5.8 แสดงหมอ้ แปลง IFT ของเครื่องรับวิทยุ AM ซุปเปอร์เฮท ถูกสร้างไวใ้ นกระป๋ องโลหะ ตวั เกบ็ ประจุที่ติดต้งั ไวภ้ ายในตวั หมอ้ แปลง ถูกตอ่ วงจรไวด้ ้านล่าง ขาต่อออกมาภายนอกมีเพียงขาหมอ้ แปลงท้งั ขดปฐมภมู ิ และ ขดทุตยิ ภมู ิรวมท้งั หมด 5 ขา Q2 และ Q3  ทรานซิสเตอร์ขยายสัญญาณความถ่ี IF ค่า 455 kHz ให้มีระดบั ความแรงมากข้ึนเป็ น ลาดบั และสัญญาณไม่ผิดเพ้ยี นไป R4  ตวั ตา้ นทานกาหนดแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสคา่ พอเหมาะจ่ายให้ขา B ของ Q2 C4  ตัวเก็บประจุกรองความถ่ีเสียง ทางานร่วมกับภาค AGC ช่วยทาให้แรงดัน ไฟฟ้า สญั ญาณเสียงที่รับเขา้ มาจากภาค AGC ถกู แปลงเป็นแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงคา่ พอเหมาะ R5 และ R8 ร่วมควบคุมการจ่ายไบแอสให้ขา B ของ Q2 ร่วมกบั R4 ทาให้ Q2 มีอตั ราขยายพอเหมาะ C5, C7 และ C8  ตวั ตา้ นทานรักษาระดบั ช่วยทาใหท้ รานซิสเตอร์ Q2 และ Q3 ทางานคงที่ตอ่ อุณหภูมิ  ตวั เก็บประจุกรองสัญญาณไฟกระแสสลบั หรือสัญญาณรบกวนท่ีเกิดข้ึนท้ิงลงกราวด์ เหลือเฉพาะแรงดันไฟฟ้าไบแอสท่ีทรานซิสเตอร์ต้องการ จ่ายเล้ียงขา B หรือขา E R6 และ R7 ทรานซิสเตอร์ Q2 และ Q3 C6 และ C9  ตวั ตา้ นทานจดั วงจรเป็นวงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า กาหนดแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงให้ขา B ของ Q3 ค่าพอเหมาะ  ตวั เก็บประจุทาหน้าท่ีนิวตรอไลเซชัน (Neutralization) หรือทาให้เป็นกลาง เน่ืองจาก วงจรขยาย IF นิยมจดั วงจรให้มีอตั ราขยายสญั ญาณความถ่ี IF สูงมาก ซ่ึงการจดั อตั ราขยาย ค่าสูงมากน้ีเอง ทาให้เกิดการออสซิลเลต (เป็นเสียงหวีดส่งไปขยายเสียงดงั ออกลาโพง) การลดอตั ราขยายวงจรขยาย IF ทาได้โดยใชต้ ัวเก็บประจุต่อเป็นวงจรป้อนกลับแบบลบ (Negative Feedback) ดงึ เอาสัญญาณทขี่ า C ป้อนมาหกั ลา้ งกบั สัญญาณทีข่ า B ของ Q2 และ Q3 ชว่ ยลดอตั ราขยายลง และป้องกนั การป้อนกลบั แบบบวก หลกั การทางานของวงจรภาคความถี่ IF ตามรูปท่ี 5.7 อธิบายไดด้ งั น้ี สัญญาณความถี่วิทยุท่ีส่งมาจากภาคคอนเวอร์เตอร์มีท้ังหมด 4 ความถี่ส่งเข้าหมอ้ แปลง IFT1 กรอง ความถ่ีเฉพาะความถ่ี IF = 455 kHz ผ่านไปให้ Q2 ทาการขยายสัญญาณความถี่ IF ให้แรงมากข้ึนระดบั หน่ึงส่งออกขา C ป้อนเขา้ หมอ้ แปลง IFT2 กรองความถเ่ี ฉพาะความถี่ IF = 455 kHz ผ่านไปให้ Q3 ทาการขยายสัญญาณความถ่ี IF ใหแ้ รงมากข้ึน อีกระดบั หน่ึง การขยายสัญญาณความถี่ IF ท้งั 2 วงจรสัญญาณความถี่ IF ท่ีถูกขยายออกมาตอ้ งไม่ผิดเพ้ียน ได้สัญญาณ ความถ่ี IF ออกทีข่ า C ของ Q3 ป้อนเขา้ หมอ้ แปลง IFT3 กรองความถีเ่ ฉพาะความถี่ IF = 455 kHz ผา่ นไปใหว้ งจรดเี ทกเตอร์

5.3.2 วงจรภาคความถ่ี IF ชนิดใช้ IC ภาคความถ่ี IF ชนิดน้ีใช้ IC ทาหน้าที่เป็ นภาคขยายความถี่ IF วงจรประกอบด้วยภาคจูน IF (IFT) และ ภาคขยาย IF (มีภาคดีเทกเตอร์รวมอย่ดู ว้ ย) ลกั ษณะวงจร แสดงดงั รูปท่ี 5.9 IF AGC IF IF C5 IF +VCC IFT ZN414UZ2 (MK484) 3 IFT 2 Z RF RF RF 1 รูปที่ 5.9 วงจรภาคความถ่ี IF ชนิดใช้ IC จากรูปที่ 5.9 แสดงวงจรภาคความถ่ี IF ชนิดใช้ IC ขยายสญั ญาณ IF และมวี งจรดีเทกเตอร์รวมอยู่ดว้ ย วงจรมีส่วนประกอบไมม่ ากแต่ทางานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ แตล่ ะส่วนมีหนา้ ทกี่ ารทางาน ดงั น้ี IFT  หมอ้ แปลงทาหนา้ ทีก่ าหนดความถ่ี IF ค่า 455 kHz ผ่านไปไดเ้ พยี งความถเี่ ดียว โดยกาหนด ทางดา้ นขดทุตยิ ภูมทิ ่ีมีตวั L และตวั C (ประกอบอยู่ภายในตวั หมอ้ แปลง) ตอ่ ขนานกนั เป็น วงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน ส่วนทางดา้ นขดปฐมภูมทิ าหนา้ ท่ชี ว่ ยปรับคา่ อิมพีแดนซ์ใน การเชื่อมต่อใหเ้ หมาะสมกนั พร้อมท้งั ชว่ ยส่งผ่านความถ่ที รี่ ับเขา้ มาจากภาคคอนเวอร์เตอร์ ตวั หมอ้ แปลง IFT ถูกคลุมด้วยกระป๋ องโลหะ (กรอบสีเหลือง) และมีส่วนท่ีถูกต่อลง กราวด์ด้วย ช่วยป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกที่อาจเขา้ มา และช่วยป้องกนั การ แพร่กระจายคล่ืนความถี่ IF ออกไปภายนอก หมอ้ แปลง IFT ในตาแหน่งแกนเฟอร์ไรตท์ ี่ ใชป้ รับแตง่ ความถ่จี ะถกู ทาสีไวใ้ หจ้ าไดง้ ่าย นิยมทาสีเหลอื ง สีขาว หรือสีดาไว้ U2  IC เบอร์ ZN414Z หรือใช้เบอร์ MK484 แทนได้ ทาหน้าท่ีเป็นภาคขยายความถ่ี IF (RF) ที่รบั เขา้ มาให้แรงข้ึนเป็นลาดบั เพราะภายในประกอบดว้ ยภาค ขยายความถี่ IF หลายภาค พร้อมท้งั มีภาคดีเทกเตอร์ประกอบร่วมดว้ ย โดยสร้างออกมาอยู่ในรูป IC ชนิด 3 ขา คลา้ ย ตวั ทรานซิสเตอร์ ทาใหส้ ะดวกในการใชง้ าน และมอี ปุ กรณ์ต่อร่วมใชง้ านไม่มาก เป็น IC เบอร์เดยี วกบั ทีใ่ ชใ้ นเครื่องรับวิทยุ AM แบบ TRF (กล่าวไวใ้ นหน่วยที่ 4) C5  ตัวเก็บประจุกรองความถี่เสียง ทางานร่วมกับภาค AGC ช่วยทาให้แรงดัน ไฟฟ้า สญั ญาณเสียงทร่ี ับเขา้ มาจากภาค AGC ถูกแปลงเป็นแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงค่าพอเหมาะ ร่วมควบคุมการจา่ ยไบแอสให้ขา 2 ของ U2 จ่ายไปควบคุมการขยายความถ่ี IF ภายในตวั U1 มีอตั ราขยายพอเหมาะ หลกั การทางานของวงจรภาคความถี่ IF อธิบายไดด้ งั น้ี

สัญญาณความถว่ี ิทยทุ ส่ี ่งมาจากภาคคอนเวอร์เตอร์มีท้งั หมด 4 ความถ่ีส่งเขา้ หมอ้ แปลง IFT กรองความถ่ี เฉพาะความถ่ี IF = 455 kHz ผ่านไปเขา้ ขา 2 ของ U2 ทาการขยายสญั ญาณความถี่ IF ให้แรงมากข้ึนเป็นระดบั โดยไม่ผดิ เพ้ียน ก่อนส่งผา่ นไปใหว้ งจรดเี ทกเตอร์ตดั ความถ่ี IF ซีกลบท้ิงไปไดเ้ ป็นความถ่ี IF ซีกบวกส่งออกเอาตพ์ ุตขา 3 ของ U2 5.4 ภาคดเี ทกเตอร์ ภาคดีเทกเตอร์เป็นภาคทรี่ ับความถ่ี IF เขา้ มาจากภาคขยายความถี่ IF มาทาการตดั ความถ่ี IF ออกไปซีกหน่ึง และ ทาการกรองเอาความถี่ IF ทิ้งไป ให้เหลือเฉพาะความถ่เี สียงส่งต่อไปให้ภาคขยายเสียง ส่วนประกอบภาคดีเทกเตอร์ในรูป บลอ็ กไดอะแกรม แสดงดงั รูปที่ 5.10 IF IF + AF 0 IF3 455 kHz AGC รูปท่ี 5.10 บลอ็ กไดอะแกรมภาคดเี ทกเตอร์เคร่ืองรับวทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮท จากรูปที่ 5.10 แสดงบลอ็ กไดอะแกรมภาคดีเทกเตอร์เครื่องรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮทประกอบดว้ ยภาคดีเทกเตอร์ และภาคกรองความถี่ การทางานของภาคดีเทกเตอร์ อธิบายไดด้ งั น้ี ความถี่ IF = 455 kHz ส่งผ่านภาคจนู IF3 มาจะถกู ส่งต่อเขา้ ภาคดีเทกเตอร์ หนา้ ท่ขี องภาคดีเทกเตอร์แบบ AM คอื ตดั สัญญาณความถ่ี IF ออกไปซีกหน่ึง อาจเป็นซีกบวก หรือซีกลบก็ได้ ข้ึนอยู่กบั การออกแบบวงจร ส่งผ่านความถ่ี IF ซีก เดียวไปเขา้ ภาคกรองความถ่ี ทาการกรองเอาความถ่ี IF = 455 kHz ออกไปให้เหลือเฉพาความถี่เสียง (AF) ส่งต่อไปให้กับ ภาคขยายเสียง และภาค AGC 5.4.1 วงจรภาคดเี ทกเตอร์ชนิดใช้ไดโอด ภาคดเี ทกเตอร์เคร่ืองรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท โดยปกตินิยมใช้ตวั ไดโอดในการทาหน้าท่ีดีเทกเตอร์ ทาการตดั สัญญาณความถี่ IF = 455 kHz ออกไปซีกหน่ึงเช่นเดียวกบั วงจรเรียงกระแสไฟฟ้า ลกั ษณะวงจร แสดงดงั รูปที่ 5.11 IF IF + AF 0 IFT3 D1 R9 C10 C11 AGC รูปที่ 5.11 วงจรภาคดีเทกเตอร์ชนิดใชไ้ ดโอด

จากรูปที่ 5.11 แสดงวงจรภาคดเี ทกเตอร์ชนิดใชไ้ ดโอด วงจรมีส่วนประกอบหลายชนิด มีหนา้ ท่ีการ ทางานแตกต่างกนั ดงั น้ี IFT3  หมอ้ แปลง IF ตวั สุดทา้ ย กรองความถี่ IF = 455 kHz ผ่านไปไดเ้ พียงความถ่ีเดียว ส่งไปให้ ไดโอดดเี ทกเตอร์ D1 D1  ไดโอดดเี ทกเตอร์ ทาการตดั สัญญาณความถ่ี IF ออกไปซีกหน่ึง ตามรูปที่ 5.11 ไดโอด D1 ยอมให้สัญญาณความถ่ี IF ซีกบวกผ่านออกเอาต์พุตส่วนสัญญาณความถี่ IF ซีกลบถูก ตัดท้ิงไป การทางานของไดโอดดีเทกเตอร์เหมือนกับการทางานของไดโอดเรียง กระแสไฟฟ้า โดยอาศยั คุณสมบตั ิการจ่ายไบแอสให้ตวั ไดโอด คอื ไบแอสตรงไดโอดยอม ให้ผ่าน ไบแอสกลบั ไดโอดไม่ยอมให้ผ่าน ดงั น้นั ถา้ ใช้แคโทด (K) ต่อออกเอาต์พุตจะได้ สัญญาณซีกบวกออกมา และถ้าใช้แอโนด (A) ต่อออกเอาต์พุตจะได้สัญญาณซีกลบ ออกมา การต่อไดโอดเขา้ วงจร และการทางานของไดโอด แสดงไดด้ งั รูปที่ 5.12 IF IFT3 D1 IF IF IFT3 D1 IF (ก) ต่อขาแคโทด (K) ของไดโอดออกเอาตพ์ ตุ (ข) ต่อขาแอโนด (A) ของไดโอดออกเอาตพ์ ตุ IF IFT3 IF IF IFT3 D1 IF D1 (ค) ตอ่ ขาแอโนด (A) ของไดโอดออกลงกราวด์ (ง) ต่อขาแคโทด (K) ของไดโอดออกลงกราวด์ รูปที่ 5.12 การตอ่ ไดโอดในวงจรดเี ทกเตอร์ R9, C10  วงจรกรองความถ่ี ทาการกาจดั ความถี่ IF = 455kHz ท่ียงั ติดมากบั สญั ญาณ IF ซีกบวกออกไป และ C11 ใหเ้ หลอื เฉพาะความถี่เสียง ส่งตอ่ ไปยงั วงจรขยายเสียงและวงจร AGC หลกั การทางานของวงจรภาคดีเทกเตอร์ตามรูปที่ 5.11 อธิบายไดด้ งั น้ี ความถ่ี IF = 455 kHz ผ่านหมอ้ แปลง IFT3 ส่งต่อไปให้ไดโอด D1 ทาการตดั สัญญาณความถ่ี IF ซีกลบ ออกไป เหลือเฉพาะความถี่ IF ซีกบวก ส่งต่อไปให้วงจรกรองความถ่ีประกอบด้วย R9, C10 และ C11 กรองเอาความถ่ี IF = 455 kHz ออกไปเหลอื เฉพาะความถเ่ี สียง (AF) ส่งไปวงจรขยายเสียง และวงจร AGC

5.4.2 วงจรภาคดเี ทคเตอร์ชนดิ ใช้ทรานซิสเตอร์ ภาคดเี ทกเตอร์เคร่ืองรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ชนิดน้ีใชต้ วั ทรานซิสเตอร์ในการทาหนา้ ท่ีดเี ทกเตอร์ ทาการตดั สญั ญาณความถ่ี IF = 455 kHz ออกไปซีกหน่ึงเช่นเดยี วกบั การใชไ้ ดโอด ลกั ษณะวงจร แสดงดงั รูปที่ 5.13 IF IF IFT3 Q4 R10 +VCC C12 AGC + AF R9 0 C10 C11 VR1 รูปท่ี 5.13 วงจรภาคดเี ทกเตอร์ชนิดใชท้ รานซิสเตอร์ จากรูปท่ี 5.13 แสดงวงจรภาคดีเทกเตอร์ชนิดใชท้ รานซิสเตอร์ วงจรมีส่วนประกอบหลายชนิด มีหนา้ ท่ีการ ทางานแตกต่างกนั ดงั น้ี IFT3  หมอ้ แปลง IF ตวั สุดทา้ ย กรองความถ่ี IF = 455 kHz ผ่านไปไดเ้ พียงความถี่เดียว ส่งไปให้ ทรานซิสเตอร์ดเี ทกเตอร์ Q4 Q4  ทรานซิสเตอร์ดีเทกเตอร์ถูกจดั วงจรแบบเบสร่วม การดเี ทกเตอร์ความถี่ IF = 455 kHz ทาไดท้ ่ี ขา E และขา B โดยขา E แสดงค่าเป็นขา K และขา B แสดงค่าเป็นขา A ทาการตดั สัญญาณ ความถี่ IF ซีกลบท้ิงไป เหลือเฉพาะสัญญาณความถี่ IF ซีกบวกส่งต่อไปให้วงจรกรอง ความถ่ี R9, C10 และ C11  วงจรกรองความถ่ี ทาการกาจดั ความถ่ี IF = 455 kHz ทีย่ งั ติดมากบั สัญญาณ IF ซีกบวกออกไป ใหเ้ หลือเฉพาะความถเี่ สียง ส่งต่อไปยงั วงจรขยายเสียง R10  ตวั ตา้ นทานจากดั ระดบั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจ่ายเป็ นไบแอสให้ขา C ของ Q4 C12  ตวั เกบ็ ประจกุ รองความถี่ IF ผา่ นทง้ิ ลงกราวด์ VR1  ตวั ตา้ นทานปรับเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor) ปรับระดบั ความแรงของสัญญาณเสียง เพ่ือจ่ายไปให้วงจรขยายเสียง เรียกตัวต้านทานตวั น้ีว่า ตวั ควบคุมความดัง (Volume Control) หลกั การทางานของวงจรภาคดีเทกเตอร์ อธิบายไดด้ งั น้ี ความถี่ IF = 455 kHz ผ่านหม้อแปลง IFT3 ส่งต่อไปให้ทรานซิสเตอร์ Q4 ท่ีขา E และขา B ทาการตดั สัญญาณความถ่ี IF ซีกลบออกไป เหลอื เฉพาะความถี่ IF ซีกบวก ส่งต่อไปให้วงจรกรองความถ่ีประกอบดว้ ย R9, C10 และ C11

กรองเอาความถี่ IF = 455 kHz ออกไปเหลือเฉพาะความถเ่ี สียง (AF) ส่งไปให้ตวั VR1 ปรับเพ่ิมลดความดงั เสียงก่อนส่งไปให้ วงจรขยายเสียง นอกจากน้นั ความถ่ี IF = 455 kHz ยงั ถูกจา่ ยผา่ นขา E ไปออกขา C ของ Q4 ไปให้ C12 กรองผ่านความถี่ IF = 455 kHz ให้เป็นแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจ่ายไปใหว้ งจร AGC 5.4.3 วงจรภาคดีเทคเตอร์ชนดิ ใช้ IC ภาคดีเทกเตอร์ชนิดน้ีใช้ IC ทาหน้าท่ีตดั ความถ่ี IF = 455 kHz ออกไปซีกหน่ึง ถูกสร้างไวในตวั IC ร่วมกบั ภาคขยาย IF ทาใหส้ ะดวกต่อการใชง้ าน ลกั ษณะวงจร แสดงดงั รูปที่ 5.14 IF IF IF +VCC AF RF + ZN414UZ2 (MK484) AGC 0 IF 2 Z RF RF 3 C6 1 รูปที่ 5.14 วงจรภาคดเี ทกเตอร์ชนิดใช้ IC จากรูปที่ 5.14 แสดงวงจรภาคดีเทกเตอร์ชนิดใช้ IC วงจรมีส่วนประกอบไม่มากแต่ทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ แต่ละส่วนมหี นา้ ท่กี ารทางาน ดงั น้ี U2  IC เบอร์ ZN414Z หรือใช้เบอร์ MK484 แทนได้ ทาหน้าที่เป็นภาคขยายความถี่ IF และ ภาคดีเทกเตอร์ประกอบรวมอยู่ด้วยกนั โดยสร้างออกมาอยู่ในรูป IC ชนิด 3 ขา คลา้ ยตวั ทรานซิสเตอร์ ทาให้สะดวกในการใชง้ าน และมีอปุ กรณ์ต่อร่วมใชง้ านไม่มาก C6  ตวั เกบ็ ประจุกรองความถี่ ทาการกาจดั ความถี่ IF = 455 kHz ทีย่ งั ติดมากบั สัญญาณ IF ซีก บวกออกไป ใหเ้ หลือเฉพาะความถเ่ี สียง ส่งต่อไปยงั วงจร ขยายเสียง และวงจร AGC หลกั การทางานของวงจรภาคดีเทกเตอร์ อธิบายไดด้ งั น้ี ความถี่ IF = 455 kHz ผา่ นภาคขยายความถ่ี IF เขา้ มา ส่งต่อใหภ้ าคดเี ทกเตอร์ตดั สัญญาณความถี่ IF ซีกลบ ออกไป เหลือเฉพาะความถ่ี IF ซีกบวก ส่งต่อไปให้วงจรกรองความถี่ C6 กรองเอาความถ่ี IF = 455 kHz ออกไปเหลือเฉพาะ ความถเ่ี สียง (AF) ส่งไปให้วงจรขยายเสียง และวงจร AGC 5.5 ภาค AGC (AVC) ภาค AGC หรือ AVC ในเคร่ืองรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ทาหน้าท่ีควบคุมอัตราขยายโดยอัตโนมัติ ทาให้ได้ สัญญาณเสียงท่ีรับได้จากสถานีวิทยุกระจายเสียงทุกสถานี มีความดงั เสียงใกลเ้ คียงกัน ส่วนประกอบภาค AGC ในรูป บล็อกไดอะแกรม แสดงดงั รูปที่ 5.15

IF IF IF1 IF1 IF2 IF2 IF3 455 kHz 455 kHz 455 kHz 0 AGC - DCV + AF 0 รูปท่ี 5.15 บลอ็ กไดอะแกรมภาค AGC เคร่ืองรับวทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮท จากรูปท่ี 5.15 แสดงบล็อกไดอะแกรมภาค AGC เคร่ืองรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท การทางานของภาค AGC อธิบายไดด้ งั น้ี ความถ่ี IF ซีกบวกทีผ่ ่านภาคดีเทกเตอร์มา ถูกส่งไปภาคกรองความถเี่ พ่ือกาจดั ความถ่ี IF ทงิ้ ไปเหลอื เฉพาะความถี่ เสียงส่งต่อไปให้ภาคขยายเสียง และภาค AGC สญั ญาณเสียงทส่ี ่งมาเขา้ ภาค AGC น้นั จะถกู ภาค AGC แปลงสัญญาณเสียงให้ เป็นแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) ค่าบวกหรือลบ (แลว้ แต่ความตอ้ งการของวงจร) ส่งต่อไปจ่ายเป็นแรงดนั ไฟฟ้าไบแอส เพื่อหกั ลา้ งกบั แรงดนั ไฟฟ้าไบแอสเดิมท่ีมอี ยูข่ องภาคขยาย IF1 ให้มรี ะดบั แรงดนั ไฟฟ้าไบแอสเปล่ยี นแปลงลดลง ถา้ ความถ่ี IF เขา้ มาที่ภาคขยาย IF1 มีความแรงมาก ทาให้ไดส้ ญั ญาณเสียงส่งออกมาจากภาคกรองความถ่ีมาก ภาค AGC แปลงเป็ นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงค่าบวกหรือลบมาก ส่งไปหักล้างแรงดันไฟฟ้าไบแอสของภาคขยาย IF1 มาก แรงดนั ไฟฟ้าไบแอสที่เหลือจา่ ยใหภ้ าคขยาย IF1 ลดลง ภาคขยาย IF1 ลดอตั ราการขยายสัญญาณความถี่ IF ลง ในทางตรงขา้ มถา้ ความถี่ IF เขา้ มาทภ่ี าคขยาย IF1 มีความแรงนอ้ ย ทาให้ไดส้ ัญญาณ เสียงส่งออกมาจากภาคกรอง ความถ่ีน้อย ภาค AGC แปลงเป็นแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงค่าบวกหรือลบน้อย ส่งไปหักลา้ งแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสเดิมของ ภาคขยาย IF1 นอ้ ย แรงดนั ไฟฟ้าไบแอสทเี่ หลือจ่ายให้ภาคขยาย IF1 มากข้ึน ภาคขยาย IF1 เพ่ิมอตั ราการขยายสญั ญาณความถ่ี IF มากข้ึน การทางานดงั กล่าวช่วยควบคมุ ใหไ้ ดร้ ะดบั ความแรงของสัญญาณเสียงมีค่าใกลเ้ คียงกนั ทุกสถานีวิทยุ AM ที่รับ ได้ 5.5.1 วงจรภาค AGC ชนดิ ใช้กับวงจรทรานซิสเตอร์ วงจรภาค AGC ชนิดใชก้ บั เคร่ืองรับวทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ท่ีใช้ทรานซิสเตอร์ในการทางาน ส่ิงสาคญั คือแรงดนั ไฟฟ้าทสี่ ่งมาจากภาค AGC จะตอ้ งมีศกั ยไ์ ฟฟ้าตรงขา้ มกบั แรงดนั ไฟฟ้าไบแอสทภ่ี าคขยาย IF ภาคแรกตอ้ งการ เสมอ เพื่อควบคมุ อตั ราการขยายสญั ญาณความถ่ี IF ให้มีระดบั คงท่ีในทุกสถานีวทิ ยุท่ีรบั เขา้ มา วงจรภาค AGC ใชก้ บั วงจร ทรานซิสเตอร์ แสดงดงั รูปท่ี 5.16

IFT1 R4 Q2 IF1 IFT2 R6 Q3 IF2 -VCC IF + AF IFT3 D1 0 R9 C6 C9 C10 C11 0 C5 R5 C7 R7 R8 C8 - DCV R10 C4 - AGC + รูปที่ 5.16 วงจรภาค AGC ชนิดใชก้ บั ทรานซิสเตอร์ จากรูปที่ 5.16 แสดงวงจรภาค AGC ชนิดใชก้ บั ทรานซิสเตอร์ ส่วนประกอบของวงจร AGC ประกอบดว้ ย R10 และ C4 อุปกรณ์แตล่ ะตวั มีหนา้ ทก่ี ารทางาน ดงั น้ี R10  ตวั ตา้ นทานในภาค AGC ลดระดบั ความแรงของแรงดนั ไฟฟ้าสัญญาณเสียง (AF) ท่ตี ่อมา จากวงจรกรองความถี่ ให้มีค่าความแรงระดับหน่ึง เพ่ือป้อนไปหักลา้ งในการประจุ แรงดนั ไฟฟ้าของ C4 C4  ตวั เก็บประจุในภาค AGC ทาหน้าที่รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงมาประจุไว้ในตัว มี แรงดนั ไฟฟ้าจ่ายมา 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นแรงดนั ไฟฟ้าลบจา่ ยมาจากแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้า - VCC จ่ายผ่าน R4 มา ส่วนที่สองแรงดนั ไฟฟ้าบวกพลิว้ ของสัญญาณเสียง (AF) จ่ายผ่าน R10 มา การประจขุ อง C4 เป็นการประจุแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงลบ (- DC) เพ่ือป้อนเป็ น ไบแอสตรงให้ขา B ของ Q2 ทาหน้าที่ขยาย IF1 โดยการนาแรงดันไฟฟ้าท้ัง 2 ส่วนมา หักลา้ งกนั แรงดนั ไฟฟ้าลบส่วนท่ีเหลือถูกประจุเก็บไว้จ่ายไปเป็นไบแอสให้ขา B ของ Q2 ทางาน หลกั การทางานของวงจรภาค AGC อธิบายไดด้ งั น้ี ความถี่ IF ซีกบวกเมื่อผ่านวงจรกรองความถี่ (R9, C10และ C11) มา จะได้สัญญาณ เสียงเป็ นลักษณะ แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงชว่ งบวกพล้ิวออกมา ตามสญั ญาณเสียงท่รี บั เขา้ มา ส่งตอ่ ไปวงจรขยายเสียง และวงจร AGC (R10 และ C4) ตวั R10 ทาหน้าที่ลดระดบั แรงดนั ไฟฟ้าซีกบวกพลิ้วให้เหลือค่าหน่ึงส่งไปให้ C4 ส่วนตวั R4 ทาหนา้ ท่ีลดระดบั แรงดนั ไฟฟ้า ลบจากแหล่งจ่าย - VCC เหลอื คา่ หน่ึงคงที่จา่ ยไปประจุให้ C4 เป็นแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงให้ขา B ของ Q2 แรงดนั ไฟฟ้าท่ีประจุใน C4 เกิดจากแรงดนั ไฟฟ้าลบจากแหล่งจ่าย - VCC ผ่าน R4 มา เป็ นแรงดนั ไฟฟ้า กระแสตรงลบคงท่ตี ลอดเวลา และเกิดจากแรงดนั ไฟฟ้าพลิ้วซีกบวกจากวงจรกรองความถ่ี ค่าแรงดนั ไฟฟ้าพลิว้ ซีกบวกน้ีเอง จะไปหักกบั แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงลบจากแหล่งจ่าย - VCC ส่งผลให้ระดบั แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงลบที่ C4 ประจุไว้ เปล่ียนแปลงระดบั ไป ถา้ สัญญาณเสียงมีระดบั ความแรงมาก แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงบวกพล้ิวเกิดมาก จ่ายมาหักลา้ งกบั

แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงลบจากแหล่งจ่าย - VCC มาก ตวั C4 ประจุแรงดนั ไฟฟ้าท่ีเหลือเป็ นแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงลบนอ้ ยลง ไบแอสตรงที่ Q2 นอ้ ยลงอตั ราขยายสญั ญาณ IF ของวงจรลดลง ควบคมุ สญั ญาณเสียงใหม้ ีความแรงลดลง ถ้าสัญญาณเสียงมีระดบั ความแรงน้อย แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงบวกพลิ้วเกิดน้อย จ่ายมาหักล้างกับ แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงลบจากแหล่งจ่าย - VCC นอ้ ย ตวั C4 จะประจุแรงดนั ไฟฟ้าที่เหลือเป็ นแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงลบมาก ข้ึนไบแอสตรงท่ี Q2 มากข้ึนอตั ราขยายสญั ญาณ IF ของวงจรเพิม่ ข้นึ ควบคมุ สัญญาณเสียงใหม้ ีความแรงมากข้ึน การปรับระดบั แรงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงที่ขา B ของ Q2 เปล่ยี นแปลง ชว่ ยเปลี่ยนอตั ราขยายสญั ญาณ IF ให้ มีระดบั ความแรงคงทรี่ ะดบั หน่ึง ทาให้ไดค้ วามดงั ของสัญญาณเสียงทุกสถานีวทิ ยุ AM ออกมามีคา่ ใกลเ้ คียงกนั 5.5.2 วงจรภาค AGC ชนดิ ใช้กับวงจร IC วงจรภาค AGC ชนิดใช้กับเครื่องรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ที่ใช้ IC ในการทางาน สิ่งสาคัญก็ เช่นเดียวกนั คอื แรงดนั ไฟฟ้าท่สี ่งมาจากภาค AGC จะตอ้ งมีศกั ยไ์ ฟฟ้าตรงขา้ มกบั แรงดนั ไฟฟ้าไบแอสที่ภาคขยาย IF ภาค แรกตอ้ งการเสมอ เพอื่ ควบคุมอตั ราการขยายสัญญาณความถ่ี IF ใหม้ ีระดบั คงท่ใี นทกุ สถานีวิทยุทรี่ ับเขา้ มา วงจรภาค AGC ใชก้ บั วงจร IC แสดงดงั รูปที่ 5.17 R2 AGC +VCC C5 AF IFT IF IF ZN414UZ2 (MK484) IFT 2 Z RF RF RF + 0 3 C6 1 รูปท่ี 5.17 วงจรภาค AGC ชนิดใชก้ บั IC จากรูปท่ี 5.17 แสดงวงจรภาค AGC ชนิดใชก้ บั IC ส่วนประกอบของวงจร AGC ประกอบด้วย R2 และ C5 อุปกรณแ์ ตล่ ะตวั มหี นา้ ทก่ี ารทางาน ดงั น้ี R2  ตวั ตา้ นทานในภาค AGC ลดระดบั ความแรงของแรงดนั ไฟฟ้าท่ีป้อนกลบั มาสัญญาณเสียง (AF) ท่ีต่อมาจากวงจรกรองความถี่ และแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจากแหล่งจา่ ย + VCC ใหม้ คี า่ ความแรงระดบั หน่ึง เพื่อป้อนไปใหเ้ ป็ นแรงดนั ไฟฟ้าอินพุตทีข่ า 2 ของ U2 C5  ตัวเก็บประจุในภาค AGC ทาหน้าที่รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงมาประจุไวใ้ นตวั มี แรงดันไฟฟ้าจ่ายมา 2 ส่วน ส่วนแรกเป็ นแรงดันไฟฟ้าบวกจ่ายมาจากแหล่งจ่าย แรงดนั ไฟฟ้า + VCC จ่ายผ่าน R2 มา ส่วนท่ีสองแรงดนั ไฟฟ้าบวกพลิ้วของสัญญาณเสียง (AF) จ่ายผ่าน C6 มา การประจุของ C5 เป็ นการประจุแรงดนั ไฟฟ้าจากค่าท้ังสอง เพ่ือ

ป้อนเป็ นไบแอสตรงให้ขา 2 ของ U2 ทาการขยายความถ่ี IF ให้มีค่าคงที่พอเหมาะ ตลอดเวลา หลกั การทางานของวงจรภาค AGC อธิบายไดด้ งั น้ี ความถ่ี IF ซีกบวกเม่ือผ่านวงจรกรองความถ่ี C6 มา จะได้สัญญาณเสียงเป็ นลักษณะแรงดนั ไฟฟ้า กระแสตรงช่วงบวกพลิว้ ออกมา ตามสัญญาณเสียงท่ีรับเขา้ มา ส่งต่อไปวงจร ขยายเสียง และวงจร AGC (R2 และ C5) ตวั R2 ทา หนา้ ท่ีลดระดบั แรงดนั ไฟฟ้าซีกบวกพล้ิวให้เหลอื ค่าหน่ึงส่งไปให้ C5 ประจแุ รงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงจ่ายให้ขา 2 ของ U2 ทาการ ขยายความถี่ IF ใหม้ คี ่าคงท่ีพอเหมาะตลอดเวลา ทาให้ไดค้ วามดงั ของสญั ญาณเสียงทุกสถานีวทิ ยุ AM ออกมามีคา่ ใกลเ้ คียง กนั 5.6 ภาคขยายเสยี ง ภาคขยายเสียง ทาหน้าท่ีขยายสัญญาณเสียงให้มีความแรงเพ่ิมมากข้ึน มากพอที่จะไปขบั ลาโพงให้เปล่งเสียงดงั ออกมา โดยปกติภาคขยายเสียงไม่วา่ จะนาไปใชข้ ยายเสียงในวงจรใดก็ตามจะมคี ณุ สมบตั ิในการทางานเหมอื นกนั คอื ขยาย สัญญาณเสียงให้มีความดงั เพิ่มมากข้ึนแบบไม่ผิดเพ้ียน แตกต่างเพียงรูปแบบการจดั วงจรขยายเสียง และอตั ราขยายกาลงั ท่ี ถกู ขยายออกมา ในเคร่ืองรบั วทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮท ภาคขยายเสียงทน่ี ามาใชง้ านจะมอี ตั ราขยายกาลงั ไม่สูงมากนกั สามารถ ใชอ้ ุปกรณ์สารก่ึงตวั นามาจดั วงจรขยายไดท้ ้งั ใชท้ รานซิสเตอร์ เฟต และ IC วงจรมีส่วนประกอบทสี่ าคญั ไดแ้ ก่ วงจรปรับ เร่งลดสัญญาณเสียง วงจรขบั กาลงั และวงจร ขยายกาลงั ส่วนประกอบภาคขยายเสียงในรูปบลอ็ กไดอะแกรม แสดงดงั รูปที่ 5.18 รูปท่ี 5.18 บลอ็ กไดอะแกรมภาคขยายเสียงเคร่ืองรบั วทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮท จากรูปท่ี 5.18 แสดงบล็อกไดอะแกรมภาคขยายเสียงเครื่องรับวิทยุ AM แบบซูเปอร์เฮท การทางานของ ภาคขยายเสียง อธิบายไดด้ งั น้ี สัญญาณเสียงที่ไดจ้ ากภาคกรองความถี่มีระดบั ความแรงต่าไม่พอท่ีจะขบั ลาโพงใหเ้ กิดเสียง ถูกส่งเขา้ มายงั วงจร ปรบั เร่งลดความดงั ปรับระดบั ความแรงทีเ่ หมาะสมกอ่ นส่งไปทาการขยายเสียง ส่งต่อสญั ญาณเสียงไปให้วงจรขบั กาลังและ วงจรขยายกาลงั ทาการขยายสญั ญาณเสียงใหแ้ รงท่ีสุดก่อนส่งไปขบั ลาโพงใหเ้ ปลง่ เสียงออกมา 5.6.1 วงจรภาคขยายเสียงชนิดใช้ทรานซิสเตอร์ วงจรขยายเสียงชนิดใชท้ รานซิสเตอร์ เป็นวงจรขยายเสียงชนิดท่ีนิยมนาไปใช้งาน เพราะสามารถจัด อตั ราขยายไดห้ ลากหลาย จดั วงจรทางานไดห้ ลายแบบ วงจรขยายเสียงชนิดใชท้ รานซิสเตอร์ แสดงดงั รูปที่ 5.19

R6 +VCC C2 + R3 +C3 R7 Q3 +C6 A R2 D1 R8 C5 D2 R9 ++C5- C5 C1 B Q4 - + VR1 + +C4 R5 +- Q1 Q2 R1 R4 รูปที่ 5.19 วงจรขยายเสียงชนิดใชท้ รานซิสเตอร์ จากรูปท่ี 5.19 แสดงวงจรขยายเสียงชนิดใช้ทรานซิสเตอร์ วงจรมีส่วนประกอบหลายชนิด มีหนา้ ที่การ ทางานแตกต่างกนั ดงั น้ี VR1  ตัวต้านทานปรับเปลี่ยนค่าได้ ทาหน้าท่ีปรับเร่งลดความแรงสัญญาณเสียงที่จะส่งผ่านเขา้ วงจรขยายเสียง C1 และ C4  ตวั เก็บประจุ ทาหน้าท่ีเป็ นตวั ส่งผ่านสัญญาณเสียงไปให้ Q1 และ Q2 ขยายสัญญาณเสียง และป้องกนั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงไม่ให้ผ่าน R1, R2 และ R4, R5  เป็ นวงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า ทาหนา้ ที่กาหนดค่าแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงจ่ายไปให้ขา B ของ Q1 และ Q2 C1, C3 และ C6  ตวั เก็บประจุ ทาหนา้ ทีเ่ ป็ นตวั กรองสัญญาณรบกวนทต่ี ิดมากบั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงทิ้ง ลงกราวด์ R3 และ R6  ตวั ตา้ นทาน ทาหนา้ ทก่ี าหนดคา่ แรงดนั ไฟฟ้าค่าเหมาะสมจ่ายให้ขา C ของ Q1 ทางาน R7  ตัวต้านทาน ทาหน้าท่ีจากัดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไดโอด D1, D2 และ Q2 ให้ทางานได้ พอเหมาะ D1 และ D2  ไดโอด ทาหน้าท่ีปรับไบแอสอตั โนมตั ิ ช่วยให้ Q3 และ Q4 ทางานไดถ้ ูกตอ้ ง และทางาน คงทตี่ ่ออุณหภมู ิ C5  ตวั เก็บประจุ ทาหน้าท่ีส่งผ่านสัญญาณเสียงไปยงั ลาโพง โดยการประจุคา่ แรงดนั ไฟฟ้า เท่ากบั VCC จากแหล่งจ่าย VCC ในขณะที่ Q3 ทางาน และทาการคายประจุแรงดนั ไฟฟ้า VCC ท่ี ประจไุ วอ้ อกมาผ่าน Q4 ในขณะท่ี Q4 ทางาน ทาให้วงจรขยายเสียงคอมพลีเมนตารีบริสุทธ์ิ ชนิด OTL ทางานไดส้ มบูรณ์ R8 และ R9  ตวั ตา้ นทานปรับแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงทจี่ ่ายไป Q3 และ Q4 ให้ทางานคงท่ีต่ออุณหภูมิ เพิม่ ข้ึน จากดั กระแสไฟฟ้าไหลผา่ น Q3 และ Q4 ชว่ ยใหม้ ีเสถยี รภาพในการทางาน

Q1  ทรานซิสเตอร์ ทาหนา้ ที่ขยายสญั ญาณเสียงภาคตน้ Q2  ทรานซิสเตอร์ ทาหนา้ ที่ขยายสญั ญาณเสียงเป็นวงจรขบั กาลงั  ทรานซิสเตอร์ ทาหนา้ ท่ีขยายสัญญาณเสียงเป็นวงจรขยายกาลงั ต่อวงจรแบบคอมพลี Q3 และ Q4 เมนตารีบริสุทธ์ ทาการขยายสญั ญาณเสียงให้แรงเพ่ิมข้นึ มากที่สุดแบบไมผ่ ิดเพ้ียนตวั ละ ซีกในเฟสสัญญาณเสียงที่ถกู ตอ้ ง ตวั Q3 ขยายซีกบวก (+) ตวั Q4 ขยายซีกลบ (–) โดยการ สลบั กนั ทางาน หลกั การทางานของวงจรขยายเสียงชนิดใชท้ รานซิสเตอร์ อธิบายไดด้ งั น้ี เมื่อมีสัญญาณเสียงซีกบวก (+) ป้อนเขา้ มาท่ีอินพุต ผ่าน VR1 ทาหน้าที่ปรับเร่งลดความแรงผา่ นไปให้ขา B ของ Q1 ขยายสัญญาณเสียงออกขา C ได้เป็นสัญญาณเสียงซีกลบ (-) ออกมาส่งไปเป็นสัญญาณอินพุตให้ขา B ของ Q2 ขยาย สญั ญาณเสียงซีกลบ (-) ออกขา C ไดเ้ ป็นสญั ญาณเสียงซีกบวก (+) ไปทาให้จดุ B มีศกั ยเ์ ป็นบวก (+) มากข้นึ ส่งผลใหจ้ ดุ A มี ศกั ยเ์ ป็นบวก (+) มากข้ึนตามไปดว้ ย ตวั Q3 ไดร้ ับแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงเพ่ิมข้ึนทางาน มีกระแสไฟฟ้าไหลจากแหล่งจา่ ย แรงดนั ไฟฟ้า + VCC ไป Q3, R8, C5 ผ่านลาโพงครบวงจรท่ีข้วั ลบแหล่งจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้า ตวั C5 ประจุแรงดนั ไฟฟ้าเก็บไวใ้ น ตวั เท่ากบั แหล่งจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้า + VCC มีศกั ยต์ กคร่อม C5 ด้านซ้ายบวก (+) ดา้ นขวาลบ (-) กระแสไฟฟ้าไหลผ่านลาโพง คร้ังน้ี ทาให้ลาโพงเคล่ือนที่ไปในทิศทางหน่ึง ได้สัญญาณเสียงซีกบวก (+) ถูกขยายส่งออกเอาต์พุต ส่วน Q4 ได้รับ แรงดนั ไฟฟ้าไบแอสกลบั ไม่ทางาน เมื่อมีสัญญาณเสียงซีกลบ (-) ป้อนเขา้ มาทีอ่ ินพตุ ผ่าน VR1 ทาหนา้ ที่ปรับเร่งลดความแรงผ่านไปให้ขา B ของ Q1 ขยายสัญญาณเสียงออกขา C ไดเ้ ป็นสัญญาณเสียงซีกบวก (+) ออกมา ส่งไปเป็นสัญญาณอินพุตให้ขา B ของ Q2 ขยายสญั ญาณเสียงซีกบวก (+) ออกขา C ไดเ้ ป็นสัญญาณเสียงซีกลบ (-) ไปทาให้จุด B มีศกั ยเ์ ป็นลบ (-) มากข้นึ ส่งผลใหจ้ ดุ A มีศกั ยเ์ ป็นลบ (-) มากข้ึนตามไปดว้ ย ตวั Q4 ไดร้ ับแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงเพิ่มข้ึนทางาน มีกระแสไฟฟ้าไหลจากการคาย ประจุแรงดนั ไฟฟ้าของ C5 ซีกบวกไป R9, Q4 ผ่านลาโพงครบวงจรท่ีข้วั ลบของตวั C5 กระแสไฟฟ้าไหลผ่านลาโพงคร้ังน้ี ทา ให้ลาโพงเคลื่อนท่ีไปอีกทิศทางหน่ึง ไดส้ ัญญาณเสียงซีกลบ (-) ถูกขยายส่งออกเอาตพ์ ุต ส่วน Q3 ไดร้ ับแรงดนั ไฟฟ้าไบแอส กลบั ไม่ทางาน ไดส้ ญั ญาณ เสียงมคี วามดงั มากข้นึ ส่งออกลาโพง เหมอื นกบั สญั ญาณเสียงทปี่ ้อนเขา้ มา 5.6.2 วงจรภาคขยายเสียงชนิดใช้ IC วงจรขยายเสียงชนิดใช้ IC เป็นวงจรขยายเสียงชนิดทีน่ ิยมนาไปใชง้ านอีกชนิดหน่ึง เพราะใชอ้ ปุ กรณ์ใน การทางานนอ้ ยชิน้ สามารถเลือก IC มาใชง้ านไดห้ ลายเบอร์ตามความตอ้ งการ วงจรขยายเสียงชนิดใช้ IC แสดงดงั รูปที่ 5.20

+VCC C4 VR1 3 6 + C2 C5 2 +LMU31886 15 + -7 R1 4 + C1 C3 รูปที่ 5.20 วงจรขยายเสียงชนิดใช้ IC จากรูปท่ี 5.20 แสดงวงจรขยายเสียงชนิดใช้ IC วงจรมีส่วนประกอบหลายชนิด มีหน้าที่การทางาน แตกตา่ งกนั ดงั น้ี VR1  ตวั ตา้ นทานปรับเปลยี่ นค่าได้ ทาหนา้ ท่ปี รบั เร่งลดความแรงสัญญาณเสียงท่ีจะส่งผา่ นเขา้ วงจรขยายเสียง C1  ตวั เกบ็ ประจุ ทาหนา้ ที่กาจดั สัญญาณรบกวนท้ิงลงกราวด์ C2  ตวั เกบ็ ประจุ ทาหนา้ ทช่ี ดเชยความถี่ R1 และ C3  ทาหนา้ ท่ชี ว่ ยลดสัญญาณรบกวนความถีส่ ูงทฟี่ ังไม่ไดย้ นิ เกิดข้ึนในวงจร ขยายเสียง C4  ตวั เก็บประจุ ทาหนา้ ทกี่ าจดั สญั ญาณรบกวนทมี่ าจากแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าทง้ิ ลงกราวด์ U1  ตวั IC ขยายกาลงั ทาหนา้ ท่ขี ยายสญั ญาณเสียงให้มคี วามแรงมากข้ึน C5  ตวั เก็บประจุ ทาหนา้ ท่ีส่งผ่านสัญญาณเสียงไปยงั ลาโพง และช่วยป้องกนั ลาโพงชารุด เสียหายจากแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจานวนมากที่เกิดจากการชารุดเสียหายของตวั IC จา่ ย ผา่ นไปยงั ลาโพง หลกั การทางานของวงจรขยายเสียงชนิดใช้ IC อธิบายไดด้ งั น้ี เมือ่ มสี ญั ญาณเสียงซีกบวก (+) ป้อนเขา้ มาที่อินพตุ ผา่ น VR1 ปรบั เร่งลดความแรง ส่งผา่ นเขา้ ขา 3 ของ IC ขยายกาลังเบอร์ LM386 ทาหน้าที่ขยายสัญญาณเสียงให้แรงมากข้ึน จัดวงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส ขยาย สญั ญาณเสียงท้งั สองซีกส่งออกเอาตพ์ ตุ ขา 5 ไปลาโพง ไดส้ ญั ญาณเสียงมคี วามแรงเพิม่ ข้นึ โดยไม่ผดิ เพ้ียน 5.7 บทสรปุ การทางานเครื่องรบั วทิ ยุ AM แบบซูเปอร์เฮเทอโรดายน์ เป็นเคร่ืองรบั วิทยุทีน่ ิยมสรา้ งข้นึ มาใชง้ านอย่างแพร่หลาย ในปัจจบุ นั วงจรประกอบข้ึนมาจากภาคการทางานหลายภาคร่วมกนั ภาคคอนเวอร์เตอร์ ทาหน้าที่รับและเปลี่ยนความถี่วิทยุคล่ืนพาห์สถานีวิทยุกระจายเสียง AM ทุกสถานี ให้เป็ น ความถ่ีใหม่ 4 ความถี่ ไดแ้ ก่ ความถวี่ ทิ ยทุ ่รี ับเขา้ มา (fRF) ความถีว่ ิทยุท่ีผลิตข้นึ มาจากภาคโลคอลออสซิลเลเตอร์ (fLO) ความถี่ วิทยุผลบวกระหว่างความถ่ีวิทยุจากสถานีวิทยุ (fRF) กบั ความถ่ีวทิ ยุผลิตข้นึ มาจากภาคโลคอลออสซิลเลเตอร์ (fLO) หรือ (fLO + fRF)

และความถี่วทิ ยผุ ลต่างระหวา่ งความถีว่ ิทยจุ ากสถานีวิทยุ (fRF) กบั ความถ่วี ทิ ยุผลติ ข้นึ มาจากภาคโลคอล ออสซิลเลเตอร์ (fLO) หรือ (fLO - fRF) เป็นค่าความถปี่ านกลาง (IF) ภาคกรองและขยาย IF ทาหนา้ ที่กรองความถ่ี IF 455 kHz ความถ่ีเดียวผ่านไปได้ และทาการขยายความถี่ IF น้ีให้มี ความแรงมากข้ึน ให้ไดค้ วามถ่ีและความแรงที่พอเหมาะ ภาคดีเทกเตอร์และกรองความถ่ี ทาหนา้ ทต่ี ดั ความถี่ปานกลาง (IF) ซีกใดซีกหน่ึงออกไป และกรองความถ่ีปานกลาง (IF) ท่ีเหลอื อยอู่ อกไป ใหเ้ หลอื เฉพาะความถ่ีเสียงไปใชง้ าน ภาค AGC ทาหน้าที่นาสัญญาณเสียงบางส่วนจากภาคดีเทกเตอร์และกรองความถี่ มาแปลงเป็ นแรงดนั ไฟฟ้า กระแสตรง (DCV) ป้อนกลบั แบบลบกลบั มาควบคุมให้ภาคขยาย IF ทาการขยายความถ่ีปานกลาง (IF) ในลกั ษณะการทางาน ตรงขา้ ม ป้อนไปควบคุมภาคกรองและขยาย IF ใหเ้ ปล่ยี นแปลงอตั ราขยาย ไดส้ ญั ญาณเสียงออกมามคี วามแรงใกลเ้ คียงกนั ทกุ สถานี ภาคขยายเสียง ทาหนา้ ท่ีขยายสัญญาณเสียงที่รบั มาจากภาคดีเทกเตอร์ใหม้ ีความแรงมากข้ึน โดยสัญญาณเสียงท่ีถกู ขยายออกมายงั มรี ูปสัญญาณคงเดมิ ไม่ผิดเพ้ียนไป ส่งตอ่ สญั ญาณ เสียงไปขบั ลาโพงให้เปล่งเสียงในรูปอากาศส่นั สะเทือนท่ีหู คนไดย้ นิ ออกมา แหล่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้า ท่ีใช้งานแบ่งออกไดเ้ ป็น ใชแ้ บตเตอรี่ (ถ่านไฟฉาย) จ่ายให้วงจรโดยตรง หรือโดยการนา แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลบั ทีใ่ ชต้ ามบา้ นเรือนมาแปลงให้เป็นแหลง่ จ่ายไฟฟ้ากระแสตรงจา่ ยใหว้ งจร