Matured banking product mbp คืออะไร

ในปัจจุบันธนาคารในบ้านเราเกิดกระแสตื่นตัวเรื่องการให้บริการธนาคารทางอิเล็กทรอนิกส์กันเป็นอย่างมาก หรือที่เรามักเรียกกันว่า E-Banking เนื่องจากมีการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ E-Banking เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

จากสถิติของธนาคารแห่งประเทศไทย ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile banking และ Internet banking พบว่า จำนวนบัญชีลูกค้าที่ใช้บริการ, ปริมาณรายการที่ทำธุรกรรม, และมูลค่ารายการ มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในเดือนมิถุนายน 2555 มีจำนวนบัญชีลูกค้าที่ใช้บริการ Internet banking ทั้งหมด 6,051,554 บัญชี ปริมาณรายการที่ทำธุรกรรมจำนวน 10,299 รายการ และมีมูลค่ารายการ1,239 พันล้านบาท ในขณะเดียวกันการทำธุรกรรมผ่านบริการ Mobile banking มีมูลค่ารายการเพียง 35 ล้านบาทเท่านั้น แต่ในอนาคตอันใกล้การชำระเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ Mobile banking มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นจากการที่บริษัทกูเกิ้ลเปิดตัว Google Wallet ในปีที่ผ่านมาเพื่อใช้โทรศัพท์ที่รองรับการสื่อสารแนบ Near Field Communication (NFC) และใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เป็นเหมือนกระเป๋าสตางค์อิเล็กทรอนิกส์ที่ชำระเงินได้ตามจุดเครื่องอ่านตามร้านค้าที่รองรับ ซึ่งในปัจจุบันมีการให้บริการในประเทศสหรัฐอเมริกาเท่านั้น แต่อาจจะขยายการให้บริการมาถึงประเทศไทยในไม่ช้า ดังนั้น เราควรทำความรู้จักกับ E-Banking เพื่อให้ทราบว่าคืออะไร และสามารถทำอะไรได้บ้าง

E-Banking คือ การทำธุรกรรมต่างๆ กับธนาคาร โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงิน หรือ สอบถามยอดเงิน เป็นต้น E-Banking อาจเรียกด้วยชื่ออื่น เช่น Internet Banking (ธนาคารอินเตอร์เน็ต), Online Banking (ธนาคารออนไลน์), Electronic Banking (ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์), Cyber Banking (ธนาคารไซเบอร์) เป็นต้น

ประเภทของ E-Banking สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

  1. ให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต
บริการสำหรับธนาคารที่ให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต มีบริการ อาทิ
  • บริการโอนเงินระหว่างบัญชีของผู้ใช้บริการเอง หรือการโอนเงินไปยังบุคคลอื่น
  • บริการสอบถามสถานะเช็ค
  • บริการอายัดเช็ค
  • บริการสอบถามรายการเคลื่อนไหวในบัญชี
  • บริการสอบถามรายการชำระ
  • บริการสอบถามยอดคงเหลือในบัญชี
  • บริการชำระค่าสินค้าหรือบริการฃ
  • บริการชำระค่าบัตรเครดิต
  • บริการขอสินเชื่อ
เป็นต้น
  1. ให้บริการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
ธนาคารที่ให้บริการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ มีบริการ อาทิ
  • บริการเอทีเอ็ม (ATM)
  • บริการสมาร์ทการ์ด (Smart d)
  • บริการธนาคารทางโทรศัพท์ (Tele-Banking)
เป็นต้น

การให้บริการของ E-Banking ยังไม่หมดเพียงเท่านี้ ในอนาคตการให้บริการของ E-Banking ยังสามารถพัฒนาได้อีกเรื่อยๆ เพื่อรองรับความต้องการในการใช้บริการของผู้ใช้บริการ E-Banking ที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก E-Banking ทำให้เกิดความรวดเร็วและสะดวกสบายในการทำธุรกรรมมากขึ้น อีกทั้งยังประหยัดทรัพยากรอีกด้วย

มายถึง บริษัทมหาชนจำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อครบกำหนดระยะเวลา ให้สินเชื่อ ซื้อขายตั๋วแลกเงิน ซื้อขายเงินตราต่างประเทศ รวมถึงธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยและหลักทรัพย์ ธุรกิจอนุพันธ์ทางการเงิน ธุรกิจธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ (e-banking)  ธุรกิจการเงินและธุรกิจการให้บริการอื่น ธนาคารพาณิชย์แบ่งออกได้อีก 4 ประเภท ดังนี้​

1.1.1  ธนาคารพาณิชย์ไทย (ดูราย​ชื่อธนาคาร)​

1.1.2  ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย (Retail Bank) มายถึง บริษัทมหาชนจำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้บริการทางการเงินพื้นฐาน เช่น การรับฝากเงิน การโอนและรับชำระเงินแก่ประชาชนรายย่อย  และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แต่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจที่มีความซับซ้อนและมีความเสี่ยงสูง เช่น ธุรกิจเกี่ยวกับ เงินตราต่างประเทศ และตราสารอนุพันธ์ (ดูรายชื่อธนาคาร)​​​​

1.1.3  ธนาคารพาณิชย์ที่เป็นบริษัทลูกของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ (Subsidiary) หมายถึง บริษัทมหาชนจำกัดที่จดทะเบียนในประเทศไทยและได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ โดยมีธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศถือหุ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ของหุ้นที่จำหน่ายแล้วทั้งหมด (ดูรายชื่อธนาคาร)​

1.1.4  สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ (Foreign Bank Branch / Full Branch) หมายถึง สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย (ดูรายชื่อธนาคาร)​

​1.2  บริษัทเงินทุน (Finance Company)

หมายถึง บริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ โดยสามารถรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่จะจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้ เช่น ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี และต้องฝากเงินไม่น้อยกว่าหนึ่งพันบาท โดยสามารถให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์ การรับซื้ออสังหาริมทรัพย์โดยวิธีขายฝาก (ดูรายชื่อบริษัท)​​

ธนาคาร จัดได้เลยว่าเป็นสถาบันการเงินอย่างหนึ่งที่ไม่ว่าใครๆต่างก็มีการเข้ามาเพื่อทำการติดต่อเกี่ยวกับธุรกรรมด้านการเงินด้วยกันทั้งนั้น ดังนั้นเชื่อได้เลยว่าไม่ว่าใครๆต่างก็มีความจำเป็นที่จะต้องอาศัยธนาคารด้วยกันทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นการออมเงิน การกู้เงิน การเบิก ถอน โอน หรือแม้กระทั่งการจ่ายๆต่างๆ แล้ววันนี้คุณทราบหรือไม่ว่า ผลิตภัณฑ์และสินค้าบริการของธนาคาร  หรือระบบการเงินนั้นคืออะไร วันนี้เรามีสาระน่ารู้มาให้คุณได้ทำความเข้าใจกันนะคะ ด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้

สำหรับผลิตภัณฑ์

 ของสถาบันการเงินต่างๆนั้น หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าคืออะไร วันนี้เราหาคำตอมาฝากเพื่อนๆกันค่ะ  ผลิตภัณฑ์ของสถาบันการเงินนั้น จะมีลักษณะคล้ายๆกับการออมเงินแบบฝากประจำค่ะ ทำไมถึงบอกว่ามีความคล้ายคลึงกัน เพราะว่าตั๋วแลกเงินนั้น จะมีการฝากไว้กับธนาคารและมีระยะเวลาในการฝาก เมื่อครบกำหนดในระยะเวลา ท่านก็จะได้ดอกเบี้ยเหมือนกับการฝากประจำ และสามารถถอนเงินนั้นออกมาได้ หรือจะให้ทางธนาคารนั้นโอนเงินเข้าในบัญชีอื่นๆที่ผูกมัดกับธนาคารก็สามารถทำได้เช่นกัน โดยตั๋วแลกเงินนี้จะมีการระบุชื่อของเจ้าของตั๋วหรือที่เรียกว่าผู้ทรงตั๋วนั่นเอง  แต่จะไม่สามารถ เปลี่ยนคนถือได้  ซึ่งอายุของตั๋วแลกเงินนั้น จะเป็นไปตามกฏกติกา เงื่อนไขของสถาบันทางการเงินที่ได้ระบุไว้อย่าง ชัดเจน และให้ผู้ทรงตั๋วนั้นปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด  และต้องเป็นไปตามประกาศอัตราดอกเบี้ยตั๋วแลกเงินของธนาคาร นั้นๆด้วย

สำหรับอัตราดอกเบี้ยของตั๋วแลกเงินที่ท่านจะได้รับเมื่อไปใช้บริการกับทางธนาคารนั้น  ที่กำหนดไว้ในปัจจุบัน โดยผู้ที่เป็นผู้ทรงตั๋วจะได้รับสมุดแสดงรายการตั๋วแลกเงิน ในสมุดจะมีแจ้งรายละเอียดต่างๆที่จำเป็นในการเป็นผู้ทรงตั๋วที่ต้องทราบและต้องมีเก็บไว้ ทุกครั้งเมื่อไปติดต่อกับทางธนาคาร  ซึ่งให้ใช้บันทึกแสดงรายการรับฝากและยอดของตั๋วแลกเงิน  และทางธนาคารจะรับฝากตั๋วแลกเงินในชื่อของผู้ทรงตั๋วเท่านั้น  ดังนั้น หากท่านใดที่ต้องการทำธุรกรรมกับทางธนาคาร โดยเลือกใช้วิธีการออมกับผลิตภัณฑ์ของธนาคารจะค่อนข้างมีกฏที่เคร่งครัด กว่าการออมเงินปกติ แต่ก็สามารถทำได้ไม่ยุ่งยาก

หากศึกษาให้เข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ก็จะทำให้สามารถทำรายการดังกล่าว กับทางธนาคารได้อย่างสบายๆเลยละ  สิ่งที่ผู้ทรงตั๋วต้องทำคือ การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเป็นผู้ทรงตั๋ว ทั้งนี้เพื่อให้เข้าใจที่ถูกต้อง เมื่อไปติดต่อกับทางธนาคารจะได้ไม่ต้องเสียเวลามากนัก  และเมื่อครบกำหนดอายุของตั๋วแลกเงิน  ธนาคารจะดำเนินการต่ออายุตั๋วแลกเงิน โดยนำเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยของผู้ทรงตั๋วนั้น  ไปซื้อตั๋วแลกเงินฉบับใหม่ให้ทันที โดยระยะเวลาในการชำระเงินเท่ากับระยะเวลาชำระเงินของตั๋วแลกเงินฉบับเดิม  โดยจะมีระบบที่ทำงานอัตโนมัติผู้ทรงตั๋วสามารถชำระเงินตั๋วที่ 2 นี้เหมือนตั๋วแรก  ผู้ทรงตั๋วสามารถให้ทางธนาคารนั้นดำเนินการโอนเงินต้นและดอกเบี้ย สำหรับตั๋วแลกเงินที่ถึงกำหนดระยะเวลา ไปเข้าบัญชีประเภทอื่นก็สามารถทำได้ อาทิเช่น   ประเภทสะสมทรัพย์ กระแสรายวันที่ผูกไว้โดยอัตโนมัติ หรือสามารถโอนไปฝากต่อบัญชีเงินฝากประจำก็ทำได้ง่ายนิดเดียว เพียงแค่ท่านแจ้งมายังเจ้าที่ธนาคารของสถาบันทางการเงิน

อ่านเพิ่มเติม >> ธนาคาร มีอะไรมากกว่าที่คิด << 

Matured banking product mbp คืออะไร
ผลิตภัณฑ์และสินค้าบริการของธนาคาร คืออะไร

สำหรับการบริการ

 ที่ทางสถาบันทางการเงินได้จัดเตรียมไว้สำหรับลูกค้าทุกท่านนั้น ไม่ว่าคุณต้องการทำธุรกิจแบบไหน สามารถติดต่อสอบถามเข้ามยังเจ้าหน้าที่ของสถาบันทางการเงินต่างๆที่ได้จัดเตรียม เจ้าหน้าที่สำหรับคอยบริการลูกค้าทุกท่านด้วยความเต็มใจตลอด 24 ชั่วโมง ทั้งนี้เพราะเราได้เล็งเห็นความสำคัญของสมาชิกทุกท่านที่ได้มาใช้บริการกับทางสถาบันทางการเงิน  เพื่อเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมธุรกิจของท่านนั้นราบรื่น และช่วยทำความฝันทุกท่านให้เป็นจริงกับบริการดีๆมากมายที่ทางสถาบันทางการเงินได้จัดเตรียมไว้สำหรับบริการ

ไม่เพียงเท่านี้ เพราะสิ่งที่เราได้กล่าวมาในข้างต้นนั้นยังสามารถตอบโจทย์ธุรกิจในการส่งออกระหว่างประเทศ นอกจากนี้การเปิดให้บริการต่างๆนั้น เชื่อว่าจะช่วยให้ทุกท่านประกอบธุรกิจได้อย่างมั่นคงและมีความเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆขึ้นไปอย่างแน่นอน เพียงแค่ติดต่อมาเพื่อขอคำแนะนำดีๆจากเรา ที่มีเจ้าหน้าที่คอยบริการทุกท่าน อาทิเช่น การบริการเพื่อธุรกิจการส่งออก บริการเพื่อธุรกิจนำเข้า  บริการจากผู้เชี่ยวชาญหรือบริการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ เช่น หากท่านดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการส่งออก ซึ่งการบริการในแนวทางปฏบัตินั้น ทางธนาคารจะช่วยท่านให้สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากการชำระวัตถุดิบ การจัดเตรียมหาเงินทุน รวมไปถึงการประกันความเสี่ยงที่ท่านจะไม่ได้รับค่า เป็นต้น ซึ่งถือว่าเป็นบริการชั้นเลิศเลยทีเดียว นอกจากนี้ก็ยังมีบริการเพื่อธรุกิจนำเข้าด้วย รวมไปถึงบริการอื่นๆอีกเพียบที่จะช่วยให้ท่านนั้นสะดวกสบายมากขึ้น แถมยังปลอดภัยทุกครั้งเมื่อใช้บริการดีๆกับทางสถาบันทางการเงินอีกต่างหาก

อ่านเพิ่มเติม >> ทำไงดี ? พนักงานธนาคาร โอนเงินผิด <<

จัดได้เลยว่าเป็นสินค้าที่ไม่ว่าใครๆต่างก็ได้มีโอกาสที่จะเข้ามาเพื่อการใช้งานกันเป็นประจำเลยนะคะ เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว วันนี้คุณเองลองสำรวจดูบ้างก็จัดได้เลยว่าเป็นความคิดที่ดีไม่น้อยเลยล่ะ ว่าตัวคุณเองนั้นได้มีการดำเนินการ หรือได้เข้าใกล้คำว่าสิ้นค้า หรือผลิตภัณฑ์ในระบบการเงิน หรือการดำเนินชีวิตมากน้อยเพียงไหน

ผลิตภัณฑ์ของธนาคารคืออะไร

ผลิตภัณฑ์ด้านเงินฝาก 1. เงินฝากกระแสรายวัน 2. เงินฝากประจำ 3. เงินฝากประจำปลอดภาษี 24 เดือน 4. เงินฝากยิ้มทวี 5. เงินฝากระบบอิสลาม 6. เงินฝากออมดีมีทุน 7. เงินฝากออมทรัพย์ 8. เงินฝากออมทรัพย์ทวีโชค 9. เงินออมลูกรัก 10. กองทุนเงินออมแห่งชาติ(กอช.) 11. กองทุนทวีสุข 12. ธกส.มอบรัก1-1พสัส 13. ธกส.มอบรักคู่รัก1-1.

หน้าที่ที่สําคัญของธนาคารพาณิชย์ คืออะไร

การดําเนินธุรกิจหลักของธนาคารพาณิชย์ ประกอบด้วย 1. การรับฝากและกู้ยืมเงินจากประชาชน 2. การให้กู้เงิน 3. การลงทุน 4. การให้บริการทางการเงินอื่นๆ เช่น การคํ้าประกันและรับรอง การรับแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ เป็นต้น

ธนาคารพาณิชย์หมายถึงอะไร

​​หมายถึง สถาบันที่ทำหน้าที่ให้บริการทางการเงิน เช่น การรับฝาก-ถอนเงิน การให้สินเชื่อ การรับชำระเงิน และธุรกรรมทางการเงินอื่น ๆ ตามที่ได้รับอนุญาตแก่ลูกค้าไม่ว่าจะเป็นประชาชนทั่วไป บริษัท ห้างร้าน หรือหน่วยงานราชการ ซึ่งประกอบธุรกิจสถาบันการเงินภายใต้พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 และ ธปท. เป็นผู้กำกับดูแล ...

บริษัทเงินทุนหมายถึงอะไร

1.2 บริษัทเงินทุน (รายชื่อ) บริษัทมหาชนจากัด ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจบริษัทเงินทุน โดยการรับฝากเงินจาก ประชาชน และการให้กู้ยืมเงิน เช่น การให้กู้ยืมเงินระยะปานกลางและระยะยาวแก่กิจการอุตสาหกรรม เกษตร หรือพาณิชยกรรม การให้เช่าซื้อ (Hire Purchase) การให้เช่าทรัพย์ (Leasing) เป็นต้น