ข้อใดคือกราฟิกในยุคดิจิตอล

ความสำคัญของกราฟิกในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • สุรัตน์ ทองหรี่ วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

คำสำคัญ:

กราฟิก, ดิจิทัล

บทคัดย่อ

        บทความนี้เขียนขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์งานกราฟิกในงานโทรทัศน์ยุคดิจิทัล เนื่องจากรายการโทรทัศน์ในปัจจุบันถูกนำไปออกอากาศหลากหลายแพลตฟอร์ม ซึ่งแต่ละแพลตฟอร์มก็มีข้อจำกัดในการรับชมที่ต่างกัน ดังนั้นผู้ผลิตรายการส่วนใหญ่จึงหันมาใช้กราฟิกเพื่อที่จะช่วยดึงดูดความสนใจผู้ชมได้เพิ่มมากขึ้น และถ้าหากสังเกตรายการโทรทัศน์ต่างๆ จะเห็นได้ว่าผู้ผลิตรายการจะสร้างสรรค์กราฟิกในส่วนต่างๆ ของรายการ อาทิ โลโก้รายการ-(Logo)-ไตเติ้ลรายการ-(Title)-อินเตอร์ลูดรายการ (Interlude)-และท้ายรายการ-(End-Credit)-ให้ออกมาเพื่อแสดงถึงลักษณะเด่นของรายการให้มากที่สุด บางครั้งเพียงแค่ได้เห็นการใช้กราฟิกในรายการผู้ชมก็สามารถเข้าใจเนื้อหาที่รายการต้องการนำเสนอได้ และเพื่อให้เกิดความหลากหลายและความน่าสนใจในรายการโทรทัศน์ ผู้ผลิตรายการจึงทำงานกราฟิกให้ออกมามีคุณภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ชม ด้วยเหตุนี้เองงานกราฟิกจึงได้รับการพัฒนาให้มีความทันสมัยและแปลกใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพื่อให้งานโทรทัศน์ในยุคดิจิทัลมีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

References

กฤษกร ไสยกิจ. (2554). การสื่อสารเชิงกราฟิกในรายการถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาทางสื่อโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Kitsakhon Sayakit. (2011). Graphical Communication In Live Broadcast Television Sports. Master of Arts, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University.]

ชินกฤต อุดมลาภไพศาล. (2550). การสื่อความหมายเชิงสัญรูปของการสื่อสารเชิงกราฟิกสำหรับงานโทรทัศน์เฉพาะเรื่อง. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Chinnagrit Udomlappaisan. (2007). The Iconic Signification of Graphic Communication in Selected Television Works.

Master of Arts Program in Mass Communication, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University.]

สาธิตา นวสกุล. (2545). กราฟิกกับรายการโทรทัศน์. สารนิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรบัณฑิตสาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [Sathit Nawasakul. (2002). Graphic and Television. Bachelor of Arts Program in Journalism, Department of Radio and Television, Faculty of Journalism and Mass Communication, Thammasat University.]

อนันท์ วาโซะ. (2558). Graphic Design for Printing & Publishing. นนทบุรี : ไอดีซีพรีเมียร์ จำกัด. [Anan Wawa. (2015). Graphic Design for Printing & Publishing. Nonthaburi : IDC Premier.]

Hollis, R.(1994) Graphic Design. London : Thames and Hudson.

Jobling, P. and Crowley, D. (1996) GraphicDesign : Reproduction and Representation since 1800. Manchester : Manchester University Press.

เว็บไซต์

ชินกฤต อุดมลาภไพศาล. (2557). “คอนเทนต์รายการดี กราฟิกทีวีสำคัญไฉน”. เข้าถึงได้จาก : www.bangkokbiznews.com/blog/detail/580354. เมื่อ 1 พฤษภาคม 2561). [Chinnagrit Udomlappaisan. (2014). “Program TV Content Good How Graphic Impotant”. Retrieved : www.bangkokbiznews.com/blog/detail/580354, May 1, 2018]

    ภาพกราฟิก เป็นภาพที่ถูกตกแต่งและสร้างขึ้น เพื่อแทนความหมายที่จะสื่อไปถึงผู้ชมได้รับรู้ในสิ่งที่เราต้องการ ดังนั้นภาพกราฟิกจึงได้รับความนิยมในการประกอบอยู่ในสื่อต่างๆ ได้แก่ ข้อมูลข่าวสาร โฆษณา กล่องสินค้า งานพรีเซนเตชั่น และเว็บไซต์ ล้วนต้องใช้ภาพกราฟิกมาเป็นส่วนประกอบทั้งสิ้น

ข้อใดคือกราฟิกในยุคดิจิตอล

    การสร้างภาพกราฟิกในยุคแรกนั้น จะเริ่มต้นจากการวาดและระบายสี ในหลายสิบปีก่อน เราจะเห็นป้ายโฆษณาภาพยนตร์ เป็นภาพเขียน ต่อมาเทคนิคการถ่ายภาพเริ่มพัฒนามากยิ่งขึ้น จึงมีการตัดต่อ และใส่เทคนิคพิเศษลงไปในภาพ ทำให้ภาพกราฟิกออกมาได้ตรงตามจินตนาการแต่จะทำได้เฉพาะผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น

ข้อใดคือกราฟิกในยุคดิจิตอล

    ในอดีดคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ จะทำงานเฉพาะด้านข้อความเท่านั้น แต่ปัจจุบันเราสามารถใช้คอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์ทำงานด้านกราฟิกได้ด้วย โดยเราสามารถแก้ไขภาพกราฟิกในคอมพิวเตอร์ื ส่งออกภาพกราฟิก

ข้อใดคือกราฟิกในยุคดิจิตอล

    ภาพกราฟิก เป็นภาพที่ถูกตกแต่งและสร้างขึ้น เพื่อแทนความหมายที่จะสื่อไปถึงผู้ชมได้รับรู้ในสิ่งที่เราต้องการ ดังนั้นภาพกราฟิกจึงได้รับความนิยมในการประกอบอยู่ในสื่อต่างๆ ได้แก่ ข้อมูลข่าวสาร โฆษณา กล่องสินค้า งานพรีเซนเตชั่น และเว็บไซต์ ล้วนต้องใช้ภาพกราฟิกมาเป็นส่วนประกอบทั้งสิ้น

    การสร้างภาพกราฟิกในยุคแรกนั้น จะเริ่มต้นจากการวาดและระบายสี ในหลายสิบปีก่อน เราจะเห็นป้ายโฆษณาภาพยนตร์ เป็นภาพเขียน ต่อมาเทคนิคการถ่ายภาพเริ่มพัฒนามากยิ่งขึ้น จึงมีการตัดต่อ และใส่เทคนิคพิเศษลงไปในภาพ ทำให้ภาพกราฟิกออกมาได้ตรงตามจินตนาการแต่จะทำได้เฉพาะผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น

ข้อใดคือกราฟิกในยุคดิจิตอล

    ในอดีดคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ จะทำงานเฉพาะด้านข้อความเท่านั้น แต่ปัจจุบันเราสามารถใช้คอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์ทำงานด้านกราฟิกได้ด้วย โดยเราสามารถแก้ไขภาพกราฟิกในคอมพิวเตอร์ื ส่งออกภาพกราฟิก

ข้อใดคือกราฟิกในยุคดิจิตอล

หลักการของกราฟิกแบบ  Raster

                หลักการของภาพกราฟิกแบบ Raster หรือแบบ  Bitmap เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการเรียงตัวกันของจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ  หลากหลายสี ซึ่งเรียกจุดสีเหลี่ยมเล็ก ๆ นี้ว่าพิกเซล (Pixel) ในการสร้างภาพกราฟิกแบบ Raster  จะต้องกำหนดจำนวนของพิกเซลให้กับภาพที่ต้องการสร้าง ถ้ากำหนดจำนวนพิกเซลน้อย เมื่อขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้นจะทำให้แฟ้มภาพมีขนาดใหญ่ ดังนั้นการกำหนดพิกเซลจึงควรกำหนดให้เหมาะกับงานที่สร้างคือ ถ้าต้องการใช้งานทั่ว ๆ ไปจะกำหนดจำนวนพิกเซลประมาณ 100-150 ppi (Pixel/inch)  “จำนวนพิกเซลต่อ 1 ตารางนิ้ว”  ถ้าเป็นงานที่ต้องการความละเอียดน้อยและแฟ้มภาพมีขนาดเล็ก เช่น ภาพสำหรับใช้กับเว็บไซต์จะกำหนดจำนวนพิกเซลประมาณ 72 ppi  และถ้าเป็นแบบงานพิมพ์ เช่น นิตยสาร  โปสเตอร์ขนาดใหญ่  จะกำหนดจำนวนพิกเซลประมาณ  300-350 เป็นต้น  ข้อดีของภาพกราฟิกแบบ Raster  คือ สามารถแก้ไขปรับแต่งสี ตกแต่งภาพได้ง่ายและสวยงาม ซึ่งโปรแกรมที่นิยมใช้สร้างภาพกราฟิกแบบRaster คือ  Adobe  PhotoShop, Adobe PhotoShopCS, Paint  เป็นต้น

หลักการของกราฟิกแบบ  Vector

                หลักการของกราฟิกแบบ Vector เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคำนวณ ซึ่งภาพจะมีความเป็นอิสระต่อกัน โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง  รูปทรง  เมื่อมีการขยายภาพความละเอียดของภาพไม่ลดลง  แฟ้มมีขนาดเล็กกว่าแบบ Raster  ภาพกราฟิกแบบ Vector  นิยมใช้เพื่องานสถาปัยต์ตกแต่งภายในและการออกแบบต่าง ๆ เช่น การออกแบบอาคาร  การออกแบบรถยนต์  การสร้างโลโก  การสร้างการ์ตูน เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมที่นิยมใช้สร้างภาพแบบ Vector คือ โปรแกรม  Illustrator, CoreDraw, AutoCAD, 3Ds max เป็นต้น  แต่อุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลภาพ เช่น จอคอมพิวเตอร์จะเป็นการแสดงผลภาพเป็นแบบ  Raster

รูปที่ 1.2  ภาพกราฟิกแบบ Vector ที่ขยายใหญ่ขึ้น

ความแตกต่างของกราฟิกแบบ 2 มิติ

                ภาพกราฟิก 2 มิติแบบ  Raster และ แบบ  Vector  มีความแตกต่างกันดังนี้

ภาพกราฟิกแบบ  Raster

ภาพกราฟิกแบบ Vector

1. ภาพกราฟิกเกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี (Pixels) มาเรียงต่อกันจนกลายเป็นรูปภาพ

1. ภาพเกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์หรือการคำนวณ โดยองค์ประกอบของภาพมีอิสระต่อกัน

2. การขยายภาพกราฟิกให้มีขนาดใหญ่ขึ้น จะทำให้ความละเอียดของภาพลดลง ทำให้มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ

2. การขยายภาพกราฟิกให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ภาพยังคงความละเอียดคมชัดเหมือนเดิม

3. การตกแต่งและแก้ไขภาพ สามารถทำได้ง่ายและสวยงาม เช่น การ  Retouching ภาพคนแก่ให้หนุ่มขึ้น การปรับสีผิวกายให้ขาวเนียนขึ้น เป็นต้น

ข้อใดคือกราฟิกในยุคแรก *

การสร้างภาพกราฟิกในยุคแรกนั้น จะเริ่มต้นจากการวาดและระบายสี ในหลายสิบปีก่อน เราจะเห็นป้ายโฆษณาภาพยนตร์ เป็นภาพเขียน ต่อมาเทคนิคการถ่ายภาพเริ่มพัฒนามากยิ่งขึ้น จึงมีการตัดต่อ และใส่เทคนิคพิเศษลงไปในภาพ ทำให้ภาพกราฟิกออกมาได้ตรงตามจินตนาการแต่จะทำได้เฉพาะผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น กราฟิกในยุคดิจิตอล

ข้อใดคือความสําคัญของภาพกราฟิก

ความสำคัญของงานกราฟิก.
ช่วยสรุปความคิด จินตนาการออกมาเป็นข้อมูลที่สื่อสารได้ง่าย.
สร้างระบบการถ่ายทอดที่มีความเด่นชัด แปลความหมายได้รวดเร็ว.
ช่วยสร้างสรรค์วัตถุประดิษฐ์ใหม่ และมีประโยชน์ต่อวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์.
สร้างระบบการเรียนรู้ สร้างแนวคิดใหม่ๆ.
สร้างค่านิยมทางความคิดที่งดงาม.

กราฟิกคืออะไร *

กราฟิก คือ ศิลปะชนิดหนึ่งซึ่งจะใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ

ข้อใดคืองานกราฟิกในสมัยยุคก่อนประวัติศาสตร์

งานกราฟิก มีประวัติความเป็นมาตามหลักฐานในอดีต เมื่อมนุษย์เริ่มรู้จักการขีดเขียน ขูด จารึกเป็นร่องรอย ให้ปรากฏเป็นหลักฐานในปัจจุบัน การออกแบบกราฟิกสมัยก่อนประวัติศาสตร์ จึงเป็นการเริ่มต้นการสื่อความหมายด้วยการวาดเขียน ให้ผู้อ่านตีความหมายได้ เรียกว่า Pictogram เช่นภาพคน ภาพสัตว์ ต้นไม้ ไว้บนผนังหรือบนเพดานถ้ำ และมีการ ...