การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย คืออะไร

ปัจจุบันทุกคนคงจะคุ้นเคยกับการใช้งานคอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เน็ตกันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะการใช้งานเว็บไซต์ การส่งต่อข้อมูล ล็อกอินเข้าสู่อีเมล์ การเข้าใช้งานโซเชียลมีเดีย ซึ่งแต่ละบริการที่เราใช้งานนั้นล้วนมีองค์ประกอบของระบบ network เป็นส่วนเกี่ยวข้องทั้งสิ้น ระบบนี้มีการทำงานอย่างไรจึงทำให้ทุกคนสามารถเชื่อมต่อและส่งผ่านข้อมูลกันได้จากทั่วโลกภายในไม่กี่วินาที

ทำความรู้จักกับระบบ network


ระบบ network หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทอื่น สามารถสื่อสาร เชื่อมต่อ และรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดย ระบบ network นั้นจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท ตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็ก ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์เพียงไม่กี่เครื่องอย่างเช่นระบบ LAN (Local Area Network) ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายภายในขององค์กรที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อการแชร์ไฟล์เอกสารและข้อมูล การแชร์เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ รวมถึงการใช้งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตร่วมกันได้ ไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่สามารถเชื่อมโยงและส่งต่อข้อมูลกันได้ทั่วโลกซึ่งก็คืออินเตอร์เน็ต ที่มีการใช้โปรโตคอลในการสื่อสารโดยมีการกำหนดที่อยู่ (Address) ซึ่งก็คือ IP ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องเพื่อให้การรับและส่งข้อมูลสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้โดยง่าย

องค์ประกอบของระบบ network                

องค์ประกอบของระบบ network จะประกอบด้วยทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ สายไฟ สายเคเบิล รวมถึงอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร ทั้งแบบไร้สายและมีสาย ได้แก่ ดาวเทียม ระบบเซลลูลาร์ การส่งสัญญาณแบบอินฟาเรด การใช้ฮับ สวิตช์ เราต์เตอร์ เกตเวย์ รวมถึงยังต้องใช้โปรโตคอลในการสื่อสารเพื่อให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถเข้าใจคำสั่งในการเรียกใช้งาน การรับส่งข้อมูล รวมถึงการเรียกใช้แอพพลิเคชั่นและโปรแกรมต่าง ๆ ได้ สำหรับเครือข่ายของ ระบบ network แบบไร้สายที่นิยมใช้ในองค์กรปัจจุบัน จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน ได้แก่
  • สวิตช์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างเซิร์ฟเวอร์และคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงเครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ในเครือข่าย เพื่อให้เครือข่ายสามารถใช้ทรัพยากรใช้ร่วมกัน หรือแบ่งปันการใช้งานทรัพยากรระหว่างกันได้
  • เราเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายเครือข่ายไว้ด้วยกัน รวมถึงยังสามารถยังเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายเข้ากับอินเทอร์เน็ตได้อีกด้วย
  • Access Point เป็นจุดเชื่อมต่อที่ช่วยให้เครือข่ายสามารถรองรับอุปกรณ์จำนวนมาก เพื่อการขยายการเข้าถึงเครือข่ายในระยะที่ไกลออกไปได้ ตัวอย่างเช่น การขยายขอบเขตการใช้งาน Wifi เป็นต้น 
ระบบ network เป็นระบบที่ทำให้ส่งผ่านข้อมูลเป็นไปได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วมากขึ้น แต่ทั้งนี้องค์กรหรือผู้ให้บริการก็ต้องดูแลรักษาและบริหารจัดการระบบให้ทำงานและสามารถตอบสนองต่อการเชื่อมต่อได้อยู่เสมอ เนื่องจากหากเกิด Server ล่มหรือระบบล้มเหลว จะทำให้เกิดผลกระทบต่อผู้ใช้เป็นจำนวนมาก อีกทั้งผู้ให้บริการ ระบบ network ยังต้องมีการคำนึงถึงความปลอดภัยและข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งานด้วย
ควิกเซิร์ฟ
สินค้า
งานระบบ
บริการ
กิจกรรม
ออนไลน์

�ٻẺ����������� (type of connection)

                ���¶֧ �Ըա�÷���ػ�ó����� 2 �Ըա�÷���ػ�ó����� 2 �ػ�ó� �������͡ѹ���������觢����� (transmission link) 1 ���� �����觢��������ѡɳзҧ����Ҿ (physical) ��������繵�ͧ����·ͧᴧ���ҧ�����Ҩ�繤����Է�����ͤ�������  �����觢����ŷ�˹�ҷ������鹷ҧ�������Ţ�������Թ�ҧ�ҡ�ػ�ó�˹����ա�ػ�ó�˹�� ������ѧ�ػ�ó������ ����� �����觢��������� ��·ͧᴧ �������ǹ��ʧ �����������俿�� �繵� �ٻẺ��õԴ�������� 2 Ẻ ����

 1.       Ẻ�ش��ͨش

Ẻ�ش��ͨش (point-to-point)  ��� �Ը�������������ʧ�����������ҧ�ػ�ó� 2 �ػ�ó� ������鹷ҧ��§ 1 �����ҹ�� �� �ѡɳС���������������ҧ����ͧ����������ի���������ͧ����§�����§ 1 ��µ��������§�ѹ㹡�÷ӧҹ ���������ͧ����˹�ҷ��������ͧ���·ҧ 1 ����ͧ �������͡Ѻ����ͧ������������� 1 ��� ������ա�ó�˹������ͧ���������� 2 ����ͧ������áѹ�������觢����ż�ҹ���������ǿ �ѧ�ٻ

การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย คืออะไร

      (����� : fourouzan, 1998 : 18)

2.       Ẻ���¨ش������ŵԴ�ͻ�Ź�

Ẻ���¨ش ���� ��ŵԴ�ͻ�Ź� (multidrop lime) ���¶֧ �����觢����� 1 ���� ���ػ�ó������ �ػ�ó� �������觢�����������������ѹ�ѧ�ٻ��� 2.3 �͡�ҡ����������觢������繤����Է�� Ẻ���¨ش������Է����ҡ�������ѹ���������Է�������ѹ �������觤�������͡�繪�ǧ�������ͧ�ػ�ó����е�ǫ�觶������繡��������ʧ�����������ѹ�Ẻ����ǹ������¡��� ����觻ѹ��ǹ (spatially share) �����Ҩ��Ѵ�ѹ�������觢������¡�˹��������ҡ���������¡��� ����觻ѹ���� (time share)

     นอกจากโทโปโลจีทั้ง 3 แบบที่กล่าวข้างต้น อาจจะพบโทโปโลจีแบบอื่นๆ เช่น แบบโครงสร้างลำดับชั้น (Hierarchical Network) ซึ่งมีลักษณะโครงสร้างคล้ายต้นไม้ (Tree) หรือมีแบบผสม (Hybrid) อย่างไรก็ตามโทโปโลจีแต่ละประเภทจะมีข้อดีและ ข้อจำกัดแตกต่างกันผู้พัฒนาระบบจะต้องพิจารณาถึงความเร็ว ความเชื่อถือได้ และความสามารถของเครือข่ายในการทำงาน หรือการแก้ไขข้อบกพร่องในกรณีที่อุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่ง ในระบบมีปัญหาตลอดจนลักษณะทางกายภาพ เช่น ระยะห่างของ node และต้นทุนของทั้งระบบ

การเชื่อมต่อเครือข่ายหมายถึงอะไร

การเชื่อมต่อเครือข่าย (Line Configuration) หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างอุปกรณ์สื่อสารที่สื่อสารไปตามแนวเส้นทาง หรือที่ เรียกว่า “ลิงก์” (Link) ลิงก์หมายถึงเส้นทางการสื่อสารเพื่อถ่ายโอนข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์ หนึ่ง

การเชื่อมต่อเครือข่าย มี 4 ประเภท อะไรบ้าง

การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถึงกันเป็นเครือข่าย มีมาตรฐานการเชื่อมต่อ 4 แบบคือ โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)

การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง

เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกออกตามสภาพการเชื่อมโยงได้เป็น 3 ชนิดคือ 1. เครือข่ายท้องถิ่น หรือเครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN) 2. เครือข่ายระดับเมือง หรือเครือข่ายแมน (Metropolitan Area Network : MAN) 3. เครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN)

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายมีชื่อภาษาอังกฤษว่าอะไร

network topology. รูปร่างเครือข่าย, การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็นเครือข่ายมีการเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่างๆ ตามลักษณะทางกายภาพ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]