ยุคสมัยใดเก่าแก่ที่สุดในไทย

�ؤ�Թ ���ؤ������������ѡ���Թ������ͧ�������ͧ�� ����ѧ���
��� �ؤ�Թ��� ������ 100,000 - 500,000 ��
��� �ؤ�Թ��ҧ ������ 7,000 - 12,000 ��
��� �ؤ�Թ���� ������ 3,000 - 7,000 ��
��� �ؤ���� �����������ҧ 5,600 - 7,000 �����ؤ��������� ���ѡ�� �������� ����ͧ��� ����ͧ��᷹�Թ �������͡�� 2 �ؤ���
��� �ؤ���Դ ���ؤ������������ѡ�ӷͧᴧ��дպء������ ����ѹ �����Դ ��������ͧ�������ͧ��
��� �ؤ���� ���ؤ������������ѡ��ö�ا���� ����������� ���硫�� ����觡��� ���Դ�ҷ�������ͧ��������ظ
�(2) �ؤ����ѵ���ʵ�� �����·�����������ѡ�Դ����ѡ�â�� ��Ш��֡������ѡɳ��ѡ�è��֡ŧ�� ���Թ �Թ�˹��� �԰ ������¹ŧ���蹼�� �ؤ����ѵ� ��ʵ���ѧ�������͡�� 4 �ؤ ���ͻ���ª��㹡�úѹ�֡����ѵ���ʵ�� �ѧ�����
�������� �ؤ��ҳ (Ancient Ages) �����������������駶�蹰ҹ����ѡ���� �� ����Ȫҵ� ���ѡ���� �����¸��� ��������ҡ������������� ䷡���-���õ�� �ǧ�� �Թ�� ��ի ������ ���Դ �ͧ���¸����Ӥѭ � �������شŧ������ҳҨѡ����ѹ����������ж١��ǵ�ǵѹ ����� ��ҧ����ͻ� �.�. 476
�������� �ؤ��ҧ (Middle Ages) �����ؤ�״ (Dark Ages) ���û������������û���ͧ �ͧ��� ��ҧ � ��Ż�Է�ҡ�÷������ԭ������ͧ��ش�Чѡŧ ���֧�� �.�. 1453
�������� �ؤ�������� �����������������û��鹵�Ǩҡ��ö١��ͺ������������鹿���Ż��Ѳ����� �ͧ��ա-���ѹ �ա�����Ǩ�Թᴹ��й�ҹ������� ���������ʤ鹾�����ԡ�� �.�.1492 仨��֧ ʧ�����š���駷�� 1
�������� �ؤ�Ѩ�غѹ ���������ѧʧ�����š���駷�� 1 �ص�ŧ (�.�.1918) �Ҩ��֧�Ѩ�غѹ ������ԡĵ ��ó�����˵ء�ó�ҧ��ҹ���ɰ�Ԩ �ѧ�� ������ͧ �Դ����ҡ���

Ref : http://www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008

จารึกที่เก่าแก่ที่สุดย้อนอายุกลับไปได้ถึงเมื่อ 30,000 ปีก่อน มันคือศิลปะบมผนังถ้ำที่นอกเหนือจากรูปวาดแล้ว ยังมีร่องรอยตราประทับมือมากมายปรากฏ และด้วยความที่ในยุคสมัยนั้นการเขียนอักษรยังไม่เกิดขึ้น นักโบราณคดีจึงเชื่อกันว่าการประทับมือนี้อาจเป็นวิธีการบ่งบอกตัวตนของผู้วาดในแบบหนึ่ง ไม่ต่างกับการลงชื่อผลงานของกราฟิตี้ในปัจจุบัน

แน่นอนว่าพวกเขามีเรื่องราวที่จะเล่าผ่านภาพวาดบนผนังถ้ำเหล่านั้น ทว่าเมื่อไม่มีภาษาเขียน จึงไม่อาจตีความได้ว่าร่องรอยต่างๆ นั้นกำลังสื่อสารอะไร และที่สำคัญก็คือเราไม่รู้แม้กระทั่งว่าควรเรียกพวกเขาว่าอะไร “นักล่าสัตว์-เก็บของป่า” “มนุษย์ถ้ำ” “ชนเผ่าแห่งยุคหินใหม่” เหล่านี้คือสิ่งที่เราตั้งให้พวกเขาแทน วันเวลาผ่านไปหลายหมื่นปี เราก็ยังคงไม่ทราบว่าผู้คนโบราณมีชื่อเสียงเรียงนามเรียกแทนตนเองว่าอะไรกัน จนกระทั่งราว 3,200 ปีก่อนคริสต์กาล ในอารยธรรมเมโสโปเตเมีย เมื่อวัฒนธรรมการเขียนถือกำเนิดขึ้น ผู้คนจึงสามารถบันทึกถ้อยคำและเรื่องราวที่อยากจะเล่าลงไปได้ เรื่องราวที่เกิดขึ้นถูกเก็บรักษาไว้และส่งต่อมาถึงเรา รวมถึงชื่อของผู้คนด้วยเช่นกัน

มาถึงบรรทัดนี้อยากให้คุณผู้อ่านลองทายในใจดูว่า ชื่อที่เก่าแก่ที่สุดท่าที่เคยมีการค้นพบมาในประวัติศาสตร์คือชื่ออะไร เจ้าของชื่อนี้เป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย และเขาเป็นใคร?

ฤานามที่เก่าแก่ที่สุดที่ถูกจารึกด้วยอักษรคูนิฟอร์มลงบนแผ่นดินเหนียวจะเป็นชื่อของกษัตริย์? ยอดนักรบ? กวี? หรือพ่อค้า? คำตอบอยู่ในหนังสือ Sapiens: A Brief History of Humankind ที่ขึ้นเขียนโดย Yuval Noah Harari นักประวัติศาสตร์ชาวอิสราเอล ที่จะพาคุณผู้อ่านไปสำรวจยังแผ่นหินอายุ 3,400 – 3,000 ปีก่อนที่พบในอิรัก มันคือบันทึกการค้าขายที่เรียบง่ายโดยนักบัญชีคนหนึ่ง “ข้าวบาร์เลย์จำนวน 29,086 หน่วย นำส่งแล้วในช่วงเวลา 37 เดือน ลงชื่อ คูชิม (Kushim)”

ยุคสมัยใดเก่าแก่ที่สุดในไทย
ยุคสมัยใดเก่าแก่ที่สุดในไทย
แผ่นหินบันทึกจำนวนข้าวบาร์เลย์ที่ได้รับในอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ภาพถ่ายโดย erenow.com

ใครคือคูชิม? เป็นไปได้ไหมว่านี่คือชื่อของตำแหน่งงาน ไม่ใช่ชื่อบุคคล อย่างไรก็ดีหากนี่คือชื่อจริงๆ ก็นับเป็นความวิเศษอย่างมากที่ได้รับรู้ว่าผู้คนในยุคโบราณเรียกหากันอย่างไร ลองจินตนาการถึงเพื่อนบ้านที่ตะโกนเรียก “คูชิม!” ด้วยเสียงอันดังสนั่นดูสิ

และบันทึกของคูชิมไม่ใช่บันทึกการค้าขายเพียงยันทึกเดียวที่พบในอิรัก ฉะนั้นแล้วจึงมีชื่อเก่าแก่ที่สุดชื่อที่สองและสามตามมา จารึกบนแผ่นหินที่เกิดขึ้นหลังคูชิมประมาณสองชั่วอายุคนมีบันทึกไว้ว่า “ทาสสองคนถูกจัดหาโดย Gal-Sal” ชื่อที่สองคือชื่อของเจ้าของทาสนาม Gal-Sal ส่วนทาสสองคนดังกล่าวมีชื่อเรียกว่า En-pap X และ Sukkalgir นั่นเท่ากับว่า ณ ตอนนี้เราทราบแล้วว่าชื่อที่เก่าแก่ที่สุด 4 ชื่อคือชื่ออะไรบ้าง

ทั้งนี้ในอารยธรรมของชาวสุเมเรียนที่ดำรงชีวิตด้วยการเป็นเกษตรกรและช่างฝีมือ การลงบันทึกเพื่อติดตามสินค้าและเปลี่ยนไม่ใช่เรื่องแปลกแต่อย่างใด และเป็นเทคโนโลยีเรียบง่ายที่ไม่ว่าใครก็สามารถเข้าถึงได้ “น่าทึ่งที่ชื่อเก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ คือชื่อของนักบัญชีธรรมดา ไม่ใช่ผู้พิชิตอันยิ่งใหญ่อะไร” และเนื้อหาส่วนใหญ่ในแผ่นหินที่พบก็มักเกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้าทั้งสิ้น

แน่นอนว่าประวัติศาสตร์ในหลายอารยธรรมมักบอกเล่าเรื่องราวของกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ บันทึกจะเสกสรรปั้นแต่งเรื่องราวเพิ่มเติมอย่างไรไม่อาจทราบได้ แต่ถ้อยจารึกบันทึกจำนวนของแกะที่มาส่งและค่าใช้จ่ายเหล่านี้คือเรื่องราวของชาวบ้านที่แท้จริง ซึ่งฉายภาพโลกโบราณในอีกมุมหนึ่ง ตลอดจนวิถีชีวิตประจำวันของพวกเขา

ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

  • หน้าหลัก
  • ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

ยุคก่อนสุโขทัย
    นับช่วงเวลาก่อนการตั้งอาณาจักรสุโขทัย  เช่น  อาณาจักรทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-16)  อาณาจักรละโว้ (พุทธศตวรรษที่ 12-18) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ  เช่น  ศิลาจารึก   เหรียญจารึก

สมัยสุโขทัย
    ตั้งแต่การสถาปนากรุงสุโขทัยเมื่อ พ.ศ. 1792  จนสุโขทัยถูกรวมเข้ากับกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2006  สมัยสุโขทัยเป็นช่วงที่มีการสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยหลายประการ  เช่น  ตัวหนังสือ  การนับถือพระพุทธศาสนา

สมัยอยุธยา
    ตั้งแต่ พ.ศ. 1893 - 2310  สามารถแบ่งออกเป็นสมัยย่อยได้อีก  โดยแบ่งตามสมัยของราชวงศ์และแบ่งตามลักษณะสำคัญของประวัติศาสตร์
1  แบ่งตามราชวงศ์ที่ปกครอง  ได้แก่  
        1. ราชวงศ์อู่ทอง (พ.ศ. 1893-1913 และ พ.ศ. 1931-1952)  
        2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (พ.ศ. 1913-1931 และ พ.ศ. 1952-2112)  
        3. ราชวงศ์สุโขทัย (พ.ศ. 2112-2173)  
        4. ราชวงศ์ปราสาททอง (พ.ศ. 2173-2231) 
        5. ราชวงศ์บ้านพลูหลวง (พ.ศ. 2231-2310)
2  แบ่งตามลักษณะสำคัญของประวัติศาสตร์ 
        1. สมัยการวางรากฐานและการสร้างความมั่นคง พ.ศ. 1893-1991
        2. สมัยแห่งความมั่นคงทางการเมืองและเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1991-2231
        3. สมัยเสื่อมอำนาจ  ตั้งแต่ พ.ศ. 2231-2310

สมัยธนบุรี
    ตั้งแต่ พ.ศ. 2310-2325  เป็นสมัยของการฟื้นฟูบ้านเมืองหลังเสียกรุงศรีอยุธยา  มีการทำสงครามเกือบตลอดเวลา

สมัยรัตนโกสินทร์
    ตั้งแต่ พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน  มีการแบ่งเป็นสมัยย่อยโดยยึดตามการเปลี่ยนแปลงของบ้านเมืองและการปกครองร่วมกัน  โดยแบ่งได้ดังนี้
    1.สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น  ตั้งแต่ พ.ศ. 2325-2394  อยู่ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 1-รัชกาลที่ 3  เป็นช่วงการฟื้นฟูอาณาจักรในทุกด้านต่อจากสมัยธนบุรี
    2.สมัยรัตนโกสินทร์ยุคกลางปรับปรุงประเทศ  ตั้งแต่ พ.ศ. 2394-2495  อยู่ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 4-รัชกาลที่ 7  เป็นช่วงที่มีการติดต่อกับต่างชาติ  มีการปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก  จนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย
    3.สมัยประชาธิปไตย  ตั้งแต่ พ.ศ. 2475  จนถึงปัจจุบัน  เป็นช่วงที่มีการปกครองแบบประชาธิปไตย  มีรัฐธรรมนูญเป็นกฏหมายสูงสุดในการปกครองประเทศประชาชนมีสิทธิเสรีภาพทางการเมือง  บ้านเมืองขยายตัวอย่างรวดเร็ว

ผู้เขียน : Admin
โพสต์เมื่อ : 23 ธ.ค. 2563
ป้ายกำกับ : ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

เรื่องที่เกี่ยวข้อง

No comments yet

ยุคใดเก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย

อาณาจักรที่เก่าแก่ที่สุด คือ อาณาจักรทวารวดี • พบเหรียญเงินที่มีจารึก “ศรีทวารวตี ศวรปุณยะ” • อาณาจักรโบราณอื่น เช่น ละโว้ ตามพรลิงค์ ศรีวิชัย เป็นต้น

ยุคสมัยใดเก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์

ยุคหินเก่า (Paleolithic Periode หรือ Old Stone Age) ประมาณ 5,000,000 ปีล่วงมาแล้ว มนุษย์ในยุคนี้เริ่มทำเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยหินอ่อนอย่างง่ายก่อน เมื่อเวลาผ่านไปก็สามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับการใช้งาน เครื่องมือหินอ่อน มนุษย์ใช้

สมัยก่อนประวัติศาสตร์แบ่งช่วงเวลาเป็นอย่างไร

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษร การศึกษาค้นคว้าจะใช้หลักฐานโบราณคดี เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดับ ภาพวาดตามฝาผนังถ้ำ ฯลฯ สมัยก่อนประวัติศาสตร์จะแบ่งออกได้เป็น 2 ยุค ได้แก่ ยุคหินและยุคโลหะ โดยแบ่งตามระดับความเจริญก้าวหน้าในการประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ

ยุคสมัยประวัติศาสตร์ไทยเริ่มเมื่อใด

1 ประวัติศาสตร์ชาติไทย การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก