คำว่าจังหวะมีความหมายอย่างไร

วงสวิงอันทรงพลังเหมือนกับที่บรรดาทัวร์ริ่งโปรทั้งหลายแสดงให้เราเห็นในจอโทรทัศน์เป็นแม่แบบที่ดีในการทำตามของนักกอล์ฟทั่วไป ปัจจัยสำคัญในวงสวิงเหล่านี้ก็คือการใช้เกลียวลำตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อได้ยินคำว่าเกลียวผมเชื่อว่าหลายคนพอจะนึกภาพออก เพราะคำว่าเกลียวมีให้เราสัมผัสได้ในชีวิตประจำวันทั่วๆ ไปด้วยเช่นกัน เมื่อมีคำว่าเกลียวก็น่าจะมีการบิดหรือหมุนมาเกี่ยวข้องด้วยแน่นอน ปกติแล้วการบิดเกลียวจะทำให้แน่นหรือตึง และการคลายเกลียวเป็นการคลายความตึงที่เคยสร้างไว้ หลักการนี้ใช้กับการเล่นกอล์ฟได้ด้วยเช่นกัน

2. การจัดจังหวะแบบสลับไปมา (Alternative) หมายถึง การจัดช่วงจังหวะที่มีลักษณะต่างกันมาจัดวางต่อเนื่องกันแต่สลับกันไป

คำว่าจังหวะมีความหมายอย่างไร

ที่มาภาพ http://www.media.rmutt.ac.th/media/Presenter/04-การจัดองค์ประกอบในงานสถาปัตยกรรม/4U_Rhythm.htm

3. การจัดจังหวะแบบเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ (Progressive)
          หมายถึง การจัดช่วงจังหวะของวัตถุตั้งแต่ขนาดเล็กไปใหญ่ จากสีอ่อนไปสีแก่ จากพื้นผิวเรียบไปพื้นผิวหยาบ ฯลฯให้ความรู้สึกมากขึ้นหรือน้อยลง

คำว่าจังหวะมีความหมายอย่างไร

ที่มาภาพhttp://www.media.rmutt.ac.th/media/Presenter/04-การจัดองค์ประกอบในงานสถาปัตยกรรม/4U_Rhythm.htm

4. การจัดจังหวะแบบไหลลื่น(Flowing)
          หมายถึง การจัดช่วงจังหวะให้ได้ความรู้สึกที่ไหลเกิดความรู้สึกต่อเนื่องเชื่อมโยง

คำว่าจังหวะมีความหมายอย่างไร

ที่มาภาพ http://www.media.rmutt.ac.th/media/Presenter/04-การจัดองค์ประกอบในงานสถาปัตยกรรม/4U_Rhythm.htm

คำว่าจังหวะมีความหมายอย่างไร

ที่มา :http://www.media.rmutt.ac.th/media/Presenter/04-การจัดองค์ประกอบในงานสถาปัตยกรรม/4U_Rhythm.htm

  • จังหวะ  หมายถึง น. ระยะที่สมํ่าเสมอ เช่น หัวใจเต้นเป็นจังหวะ, ระยะที่กําหนดไว้เป็นตอน ๆเช่น เพลงจังหวะช้า จังหวะเร็ว พูดเป็นจังหวะ, โดยปริยายหมายความว่าโอกาสอันควร เช่น เจ้านายกำลังโกรธ ไม่มีจังหวะจะเข้าพบ. (ข. จงวาก่).จังหวะจะโคน (ปาก) น. จังหวะ.

    • จังหวัด

      (กฎ) น. หน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นหัวหน้าปกครอง, (โบ) เมือง, หัวเมือง; ถิ่น, เขต, บริเวณ, เช่น อารามขึ้นคณะป่าแก้วในจังหวัดเมืองนครศรีธรรมราช. (ประชุมพระตำราบรมราชูทิศเพื่อกัลปนา).

    • จังหัน ๑

      น. ข้าว, อาหาร, (ใช้แก่พระสงฆ์). (ข. จงฺหาน่).

    • จังหัน ๒

      น. กังหัน.

    • จังออน

      น. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๘ กำมือ = ๑ จังออนและ ๒ จังออน = ๑ แล่ง.

    • จัญไร

      ว. เลวทราม, เป็นเสนียด, ไม่เป็นมงคล, จังไร ก็ว่า.

    • จัณฑ-, จัณฑ์

      [จันทะ-, จัน] ว. ดุร้าย, หยาบช้า, เกรี้ยวกราด, ฉุน, ฉุนเฉียว; ราชาศัพท์.ใช้เรียกสุราหรือเมรัยว่า นํ้าจัณฑ์. (ป., ส.)