ฟังก์ชั่น count ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

แม้ว่า COUNTA จะระบุว่ารับอาร์กิวเมนต์ได้สูงสุด 30 อาร์กิวเมนต์ แต่ Google ชีตรองรับอาร์กิวเมนต์สำหรับฟังก์ชันนี้ได้ไม่จำกัดจำนวน

  • COUNTA จะนับค่าทั้งหมดในชุดข้อมูล ซึ่งรวมถึงค่าที่ปรากฏมากกว่าหนึ่งครั้งและค่าข้อความ (รวมถึงสตริงที่มีความยาวเป็น 0 และช่องว่าง) หากต้องการนับค่าที่ไม่ซ้ำ ให้ใช้ COUNTUNIQUE หากต้องการนับเฉพาะค่าตัวเลข ให้ใช้ COUNT

  • ดูเพิ่มเติม

    MODE: ส่งคืนค่าที่เกิดขึ้นมากที่สุดในชุดข้อมูล

    COUNTA(1,2,3,4,5,C6:C20)0: นับจำนวนค่าซึ่งรวมถึงข้อความที่เลือกจากช่วงหรืออาร์เรย์ที่มีลักษณะเหมือนตารางฐานข้อมูลโดยใช้คำสั่งค้นหาแบบ SQL

    COUNTA(1,2,3,4,5,C6:C20)1: นับจำนวนค่าตัวเลขที่เลือกจากช่วงหรืออาร์เรย์ที่มีลักษณะเหมือนตารางฐานข้อมูลโดยใช้คำสั่งค้นหาแบบ SQL

    ถ้าต้องการสร้างข้อผิดพลาดในเซลล์ของ Excel เพื่อทดสอบสูตรการนับข้างต้น ให้พิมพ์ในเซลล์ที่ต้องการสร้างข้อผิดพลาด ดังนี้

    1. #N/A ให้พิมพ์ =NA()

    2. #DIV/0? ให้พิมพ์ตัวเลขที่หารด้วยศูนย์ เช่น =28/0 (ต้องมีเครื่องหมายเท่ากับเพื่อให้ Excel คำนวณ มิฉะนั้น Excel จะถือว่าเป็นข้อความธรรมดา)

      พบกันอีกครั้งนะคะ กับ Excel ตอน ตระกูลท่าน Count ตอนที่ 2 ค่ะ สำหรับตอนที่ 2 นี้จะเป็นการแนะนำการใช้ Function COUNTIF และ COUNTIFS มาเริ่มกันเลยค่ะ

      COUNTIF

      เป็น Function ที่ใช้สำหรับนับข้อมูลตามเงื่อนไขที่เราต้องการ 1 เงื่อนไข เช่น

      • ต้องการนับจำนวนคนที่ได้เกรด A : เงื่อนไขคือ “คนที่ได้เกรด A”
      • ต้องการนับจำนวนคนที่ได้คะแนนมากกว่า 75 : เงื่อนไขคือ “คะแนนมากกว่า 75”

      รูปแบบ Function คือ COUNTIF(range, criteria)

      • range คือ ช่วงข้อมูลที่ต้องการนับจำนวน
      • criteria คือ เงื่อนไขที่ต้องการ

      ตัวอย่าง

      ฟังก์ชั่น count ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

      จากตัวอย่าง สิ่งที่ต้องการคือ หาจำนวนคนที่ได้เกรด A ดังนั้น

      • range คือ ช่วง D3 ถึง D7
      • criteria คือ “A”

      ดังนั้นสิ่งที่จะได้เมื่อเขียน Function คือ =COUNTIF(D3:D7,”A”) ผลลัพธ์ที่ได้คือ 2 ดังภาพ

      ฟังก์ชั่น count ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

       


      COUNTIFS

      เป็น Function ที่ใช้สำหรับนับข้อมูลตามเงื่อนไขที่เราต้องการโดยเงื่อนไขนั้นมีมากกว่า 1 เงื่อนไข เช่น

      • ต้องการนับจำนวนคนที่ได้เกรด A และเป็นเพศหญิง : เงื่อนไขคือ “คนที่ได้เกรด A” และ “เพศหญิง”
      • ต้องการนับจำนวนเด็กเข้าอบรมได้คะแนนมากกว่า 60 แต่น้อยกว่า 79 : เงื่อนไขคือ “คะแนนมากกว่า 60 แต่น้อยกว่า 79”

      รูปแบบ Function คือ COUNTIF(range_criteria1, criteria1, [range_criteria2, criteria2],…)

      • range_criteria1 คือ ช่วงข้อมูลที่ต้องการนับจำนวนของเงื่อนไขที่ 1 ค่านี้จำเป็นต้องระบุ
      • criteria1 คือ เงื่อนไขที่ต้องการ เงื่อนไขแรก ค่านี้จำเป็นต้องระบุ
      • range_criteria2 คือ ช่วงข้อมูลที่ต้องการนับจำนวนของเงื่อนไขที่ 2 ค่านี้ไม่จำเป็นต้องระบุ
      • criteria2 คือ เงื่อนไขที่ต้องการ เงื่อนไขที่สอง ค่านี้ไม่จำเป็นต้องระบุ
      • สามารถระบุเงื่อนไขที่ต้องการได้เรื่อย ๆ

      ตัวอย่าง

      ฟังก์ชั่น count ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

      จากตัวอย่าง สิ่งที่ต้องการคือ หาจำนวนคนที่ได้เกรด A และได้คะแนนมากกว่า 90 ดังนั้น

      เงื่อนไขแรก

      • range_criteria1 คือ ช่วง D3 ถึง D7
      • criteria1 คือ “A”

      เงื่อนไขที่สอง

      • range_criteria2 คือ ช่วง E3 ถึง E7
      • criteria2 คือ “>=90”

      ดังนั้นสิ่งที่จะได้เมื่อเขียน Function คือ =COUNTIFS(D3:D7,”A”,E3:E7,”>=90″) ผลลัพธ์ที่ได้คือ 1 ดังภาพ

      ฟังก์ชั่น count ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

      สำหรับเรื่องราวของตระกูลท่าน Count ก็จบลงในตอนที่ 2 แต่เพียงเท่านี้ หวังว่าคงเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อยนะคะ

      หลาย ๆ ท่านคงใช้ Excel อยู่ในชีวิตประจำวันไม่มากก็น้อย อาจจะชินตากับ Function Count กันอยู่บ่อย ๆ แต่ Function นี้ ไม่ได้มาเดี่ยว ๆ นะคะ ยังมีญาติ ๆ ในตระกูลอีกเพียบเลย มาดูกันค่ะว่า มีอะไรบ้าง และแต่ละ Function นั้นทำงานกันอย่างไรค่ะ

      1. COUNT
      2. COUNTA
      3. COUNTBLANK
      4. COUNTIF
      5. COUNTIFS

      Function ตระกูล Count หลัก ๆ ที่ผู้เขียนใช้งานจะมี 5 Function ข้างต้นนะคะ สำหรับในตอนที่ 1 นี้ ผู้เขียนจะนำเสนอ 3 ฟังก์ชันแรกก่อนก็คือ COUNT, COUNTA และ COUNTBLANK ค่ะ ส่วนอีก 2 Function สามารถติดตามต่อได้ในตอนที่ 2 นะคะ

       

      COUNT 

      สำหรับฟังก์ชันนี้ จะใช้สำหรับนับจำนวนเฉพาะตัวเลข โดยไม่นับตัวอักษรและช่องว่าง ที่อยู่ในช่วงที่เรากำหนด(range) หรือเลือกทีละค่า(value) ตามที่เราต้องการ

      รูปแบบ Function แบบ value คือ COUNT(value1, [value2],…)

      • value1 คือ ค่าข้อมูลแรกที่ต้องการนับจำนวน ในที่นี้คือใส่ทีละค่า ค่านี้จำเป็นต้องระบุ
      • value2 คือ ค่าข้อมูลที่สอง ที่ต้องการนับจำนวน ไม่จำเป็นต้องมี
      • สามารถเลือกค่าได้เรื่อย ๆ

      ตัวอย่าง

      ฟังก์ชั่น count ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

      ภาพที่ 1 การเลือกทีละค่าเพื่อนับจำนวนโดยใช้ Function Count

       

      รูปแบบ Function แบบ range คือ COUNT(value1, [value2],…)

      • value1 คือ ค่าข้อมูลแรกที่ต้องการนับจำนวนในที่นี้คือใส่เป็นช่วง การระบุคือ จุดเริ่มต้น:จุดสิ้นสุด ค่านี้จำเป็นต้องระบุ
      • value2 คือ ค่าข้อมูลที่สอง ที่ต้องการนับจำนวน ไม่จำเป็นต้องระบุ
      • สามารถเลือกค่าได้เรื่อย ๆ

      ตัวอย่าง

      ฟังก์ชั่น count ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

      ภาพที่ 2 การเลือกค่าเป็นช่วงเพื่อนับจำนวนโดยใช้ Function Count

      ผลลัพธ์ที่ได้

      ฟังก์ชั่น count ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

      หมายเหตุ เนื่องจาก จากภาพที่ 1 และ 2 มีการเลือกค่าเท่ากับการเลือกแบบช่วงดังนั้นค่าที่ได้จะเท่ากันค่ะ

      จากผลลัพธ์ที่ได้ จะเห็นได้ว่า Function Count จะนับเฉพาะตัวเลขเท่านั้น ส่วนตัวอักษรหรือช่องว่าง จะไม่ถูกนับค่ะ

      ซึ่งจะเห็นได้ว่า ข้อมูลคำนำหน้า เกรดและคะแนน จะนับได้แค่ 0 เนื่องจากมีช่องว่างข้อมูลและข้อมูลใน Column นั้นเป็นตัวอักษรค่ะ


      COUNTA

      สำหรับฟังก์ชันนี้ จะใช้สำหรับนับจำนวนข้อมูลทั้งหมดทั้งตัวอักษรและตัวเลข แต่ไม่นับช่องว่าง ที่อยู่ในช่วงที่เรากำหนด(range) หรือเลือกทีละค่า(value) ตามที่เราต้องการดังภาพค่ะ

      ฟังก์ชั่น Counta ใช้สําหรับทํางานสิ่งใด

      ฟังก์ชัน COUNTA จะนับเซลล์ที่มีข้อมูลชนิดใดๆ รวมถึงค่าความผิดพลาดและข้อความว่าง ("") ตัวอย่างเช่น ถ้าช่วงมีสูตรที่ส่งกลับสตริงว่าง ฟังก์ชัน COUNTA จะนับค่านั้น ฟังก์ชัน COUNTA จะไม่นับเซลล์ที่ว่าง

      Count กับ Countif มีการทํางานต่างกันอย่างไร

      สูตร COUNT เป็นสูตรที่ใช้ในการนับจำนวนเซลล์ที่มีตัวเลข ที่มีอยู่ในช่วงที่กำหนด สูตร COUNTIF เป็นสูตรที่ใช้ในการนับจำนวนเซลล์ที่มีเงื่อนตามที่กำหนด ยกตัวอย่างเช่น ต้องการนับว่า มี ดินสอ ทั้งหมดกี่เซลล์ ในช่วงของไฟล์ที่กำหนด ก็สามารถใช้สูตร COUNTIF ในการนับได้

      ฟังก์ชั่น Countblank ใช้ทำอะไร

      ใช้ฟังก์ชัน COUNTBLANKที่เป็นหนึ่งใน ฟังก์ชันทาง สถิติ เพื่อนับจํานวนเซลล์ว่างในช่วงของเซลล์

      ข้อใดคือฟังก์ชันที่ใช้นับจำนวนเซลล์ว่าง

      หรือพูดง่ายๆก็คือ COUNTA ไม่นับเฉพาะค่าว่าง (Blank) นั่นเอง ! นั่นแปลว่า COUNTA นับค่าเสมือนว่าง (“”) ด้วย ! จากเคสนี้ ถ้าใส่สูตรเป็น =COUNTA(A4:A18)