แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีหน้าที่ทำอะไร

          ในบทความตอนนี้ทั้งหมด เราพูดถึงภาพรวมของวิธีการต่างๆ นานา ที่มีผู้ประดิษฐ์ คิดค้น วิจัย เสนอกันขึ้นมา เพื่อจัดการกับปัญหาของสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากคาร์บอนไดออกไซด์ แต่อันที่จริงแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูเหมือนจะเป็นตัวร้ายก็มีประโยชน์ต่อการนำไปใช้งานของมนุษย์อย่างมหาศาลเช่นเดียวกัน

คาร์บอนไดออกไซด์เป็นแก๊สที่มีอยู่ทั่วไปในบรรยากาศ แก๊สนี้มีบทบาทสำคัญต่อการดำรงชีพของทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืช เป็นสารตั้งต้นที่พืชใช้ผลิตอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์แสง ในด้านอุตสาหกรรมนั้น คาร์บอนไดออกไซด์ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในหลายๆ ด้าน โอกาสการเกิดพิษของแก๊สชนิดนี้ ในการทำงานโดยปกติมีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อย อย่างไรก็ตามหากได้รับแก๊สนี้เข้าไปในปริมาณมาก จะทำให้หายใจเร็ว ชีพจรเร็ว หัวใจเต้นเร็ว กดสมอง ซึม มึนงง สับสน หมดสติ และอาจเสียชีวิตได้

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีหน้าที่ทำอะไร

คาร์บอนไดออกไซด์ (อังกฤษ: carbon dioxide) เป็นก๊าซในบรรยากาศ ซึ่งประกอบด้วยคาร์บอน 1 อะตอม และ ออกซิเจน 2 อะตอม ต่อหนึ่งโมเลกุล. คาร์บอนไดออกไซด์เป็นหนึ่งในสารประกอบเคมีที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด และมักเรียกด้วยสูตรเคมี CO2 เมื่ออยู่ในสถานะ ของแข็ง มักจะเรียกว่า น้ำแข็งแห้ง (dry ice)
เป็นก๊าซที่มีปริมาณมากเป็นอันดับ 4 ในอากาศ รองจากไนโตรเจน ออกซิเจนและ อาร์กอน
คาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นได้หลายลักษณะ เช่น ภูเขาไฟระเบิด การหายใจของสิ่งมีชีวิต หรือการเผาไหม้ของสารประกอบอินทรีย์ ก๊าซนี้เป็นวัตถุดิบสำคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เพื่อใช้คาร์บอนและออกซิเจนในการสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรต จาก กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนี้ พืชจะปล่อยก๊าซออกซิเจนออกมาสู่บรรยากาศ ทำให้สัตว์ได้ใช้ออกซิเจนนี้ในการหายใจ การใช้ คาร์บอนไดออกไซด์ของพืชนี้เป็นการลดก๊าซเรือนกระจกลงได้ เนื่องจากคาร์บอนไดออกไซด์เป็นก๊าซหนึ่งที่เป็นสาเหตุของปรากฏการณ์ เรือนกระจก
คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
คาร์บอนไดออกไซด์เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ซึ่งหากหายใจเอาก๊าซนี้เข้าไปในปริมาณมากๆ จะรู้สึกเปรี้ยวที่ปาก เกิดการระคายเคืองที่จมูก และคอ เนื่องจากอาจเกิดการละลายของแก๊สนี้ในเมือกในอวัยวะ ก่อให้เกิดกรดคาร์บอนิกอย่างอ่อน
คาร์บอนไดออกไซด์มีความหนาแน่น 1.98 kg/m3 ซึ่งเป็นประมาณ 1.5 เท่าของอากาศ โมเลกุลประกอบด้วยพันธะคู่ 2 พันธะ (O=C=O) ไม่ติดไฟและไม่ทำปฏิกิริยา
คาร์บอนไดออกไซด์จะกลายเป็นของแข็งที่มีสีขาวอุณหภูมิ -78 องศาเซลเซียส โดยไม่ผ่านการเป็นของเหลวก่อน หากต้องการ ทำให้คาร์บอนไดออกไซด์เป็นของเหลว ต้องใช้ความดันไม่น้อยกว่า 5.1 บรรยากาศ
คาร์บอนไดออกไซด์สามารถจะละลายน้ำได้ 1 เปอร์เซนต์ของสารละลายนั้นจะกลายเป็นกรดคาร์บอนิก ซึ่งจะเปลี่ยนรูปเป็นไบคาร์
บอเนตและคาร์บอเนตในภายหลัง
การทดสอบก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์ สามารถทำได้ 2 วิธี คือ
1. นำธูปที่ติดไฟอยู่เข้าไปในหลอดทดลองที่มีคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ ไฟจะดับ เพราะคาร์บอนไดออกไซด์ไม่ได้ช่วยในการติดไฟ ของสาร จึงนำมาใช้เป็นก๊าซดับเพลิงได้
2. ผ่านก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปในน้ำปูนใส (แคลเซียมไฮดรอกไซด์) น้ำปูนใสจะขุ่น เนื่องจากเกิดแคลเซียมคาบอเนตเกิดขึ้น คาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นของแข็งและของเหลวถูกใช้ในการแช่แข็ง โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารขณะขนส่งไอศกรีมหรือ อาหารแช่แข็ง นอกจากนี้ คาร์บอนไดออกไซด์แข็งที่เรียกกันว่าน้ำแข็งแห้ง ยังสามารถใช้เป็นห่อบรรจุเพื่อขนส่งได้เมื่ออุปกรณ์ในการแช่ แข็งไม่พร้อมมากนัก
อันตรายต่อสุขภาพ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สามารถเข้าสู่ร่างกายทางลมหายใจ จะเกิดอาการพิษเฉียบพลันได้ ในกรณีที่ก๊าซแทนที่ออกซิเจนใน บริเวณที่จำกัด ทำให้ปริมารออกซิเจนไม่เพียงพอต่อการหายใจ ถ้าสูดดมเข้าสู่ร่างกายในปริมาณสูงมากร่างกายจะสนองโดยเริ่มจากการ หายใจลึกมากกว่าเดิม หายใจติดขัด หายใจลำบาก จนถึงอาการขาดออกซิเจน คือปวดศีรษะ วิงเวียน ความดันสูง อัตราการเต้นของหัวใจสูง ขึ้น ถ้าความเข้มข้นสูงถึงร้อยละ 12 หรือมากกว่าจะหมดสติภายใน 1-2 นาที ซึ่งมักพบกรณีทำงานในที่อับอากาศ เช่น ไซโล ถังหมัก บ่อลึก เป็นต้น

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีหน้าที่ทำอะไร

http://th.wikipedia.org/wiki/คาร์บอนไดออกไซด์

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีหน้าที่ทำอะไร
 

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีคุณสมบัติ ไร้สี ไร้กลิ่น ไม่ติดไฟ มีความเป็นกรดอ่อนๆ หนักกว่าอากาศ และละลายได้ในน้ำ

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ (By-product) จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ซึ่งต้องการมีการจัดการก่อนปล่อยสู่บรรยากาศ

เพื่อเป็นการพัฒนาความร่วมมือกับผู้ขาย (Supplier) ซึ่งจำเป็นต้องนำก๊าซที่ต้องปล่อยทิ้งมาสร้างมูลค่าเพิ่ม บีไอจีจึงก่อตั้งโรงงานผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์บริสุทธิ์ (LCO2 Purified Plant) เพื่อทำให้บริสุทธิ์ และจัดจำหน่ายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในรูปแบบของเหลว โดยเก็บภายใต้ความดันและควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสม

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สามารถนำไปใช้อย่างแผร่หลายในหลายอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเหล็ก ยา การแพทย์ และการผลิตโฟม เป็นต้น

ด้วยประสบการณ์และความรู้ของทีมงานของเรา บีไอจีสามารถตอบสนองและแนะนำสินค้าให้ท่านตามความต้องการการใช้งานได้อย่างเหมาะสม

                �૿ ��� �ѡ������ᾷ����ʡ�͵ �繼��鹾���ҫ����͹��͡䫴�����á㹻� 1750 ����س�������ͧ 20 - 25 ͧ�� �����ҡ�ҫ����͹��͡䫴���ǹ�˭��������ٻẺ�ͧ��ҫ ����շ�駢ͧ����Тͧ���� ����ö�秵����������س����Ե�ӡ��� -78 ͧ�� ��ҹ�� ��Ф���͹��͡䫴������㹹�����������ͤ����ѹ������ ��ѧ�ҡ�����ѹŴŧ ��ҫ����͹��͡䫴� �о������ź˹�����ҡ�� �˵ء�ó������ѡɳ�੾���¿ͧ����͹��͡䫴����͵���繹��

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นก๊าซที่ทำหน้าที่กักความร้อนไม่ให้ออกสู่ชั้นบรรยากาศ จึงทำให้โลกของเรามีอุณหภูมิสูงขึ้น ก๊าซ CO2 จะถูกปลดปล่อยผ่านกิจกรรมของมนุษย์โดยตรง เช่น การตัดไม้ทำลายป่า การเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล และการปลดปล่อยจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ เช่น การหายใจของสิ่งมีชีวิต และการระเบิดของภูเขาไฟ

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีหน้าที่ทำอะไร
ค่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตั้งแต่ปี 2538 – 2556, แหล่งภาพ: องค์การนาซ่า (NASA), ดัดแปลงโดย: ERM-Siam Co., Ltd.

จากรูป ค่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการเก็บรวบรวมข้อมูลของ National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA), Earth System Research Laboratory, Global Monitoring Division ประเทศสหรัฐอเมริกา แสดงให้เห็นถึงค่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญเกิน 300 ส่วนในหนึ่งล้านส่วน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1950 (ในช่วงยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2)

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีหน้าที่ทำอะไร
ความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศโลก

จากรูป แสดงถึงความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เฉลี่ยรายเดือนในชั้นบรรยากาศโลกที่วัดจากพื้นผิวมหาสมุทรทั่วทุกมุมโลก เส้นกราฟสีม่วง แสดงให้เห็นถึงค่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกวัดทุกๆ วันที่ 15 ของในแต่ละเดือน กราฟสีน้ำเงิน แสดงให้เห็นถึงความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกวัดเป็นรอบฤดู ในเดือนธันวาคม 2558 โลกของเรามีค่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่า 401.62 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งเป็นสถิติที่สูงที่สุดในประวัติการณ์ตั้งแต่มีการบันทึกมา (NOAA)