จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร

จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร
U-infographic

โพสเมื่อ 16 มีนาคม 63 15:38 น. - ปริญญาตรี อ่านแล้ว 559,111

รัฐประศาสนศาสตร์ จบมาทำงานอะไร?

จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร


คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เรียนอะไร

1. แนวคิดหลักรัฐประศาสนศาสตร์ ระบบการบริหารราชการไทย
2. วิชาหลักทางด้านการบริหารจัดการภาครัฐ ได้แก่ นโยบายสาธารณะ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารการเงินและการคลัง การบริหารท้องถิ่น องค์การและการบริหารแนวใหม่  
3. การฝึกงานและการทำโครงงานทางรัฐประศาสนศาสตร์ 
4. การเรียนรู้เกี่ยวกับภาครัฐดิจิทัลและการพัฒนาที่ยั่งยืน ได้แก่ การบริหารภาครัฐดิจิทัล และการบริหารการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 

แนวทางประกอบอาชีพ

รับราชการภาครัฐ

ข้าราชการส่วนกลาง
- กระทรวง กรม องค์กรในสังกัดของรัฐ องค์การมหาชน  และรัฐวิสาหกิจ
ข้าราชการส่วนภูมิภาค
- จังหวัด อำเภอ
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น
- กทม. อบจ. เทศบาล อบต. เมืองพัทยา

ทำงานภาคเอกชน

พนักงานในฝ่ายทรัพยากรบุคคล ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายนโยบายและแผนงานของทุกบริษัท พนักงานธนาคาร

ประกอบธุรกิจส่วนตัว

เป็นเจ้าของธุรกิจของตนเองทั้ง Online และ Offline Business

 

รีวิวคณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (คลิก)

จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร


 

จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร

จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร

จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร
จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร
จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร
จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร

อ่าน 559,111

หมายเหตุ* ผู้ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อ 1-3 แต่ได้คะแนนเฉลี่ยระดับปริญญาตรีต่ำกว่า 2.30 มหาวิทยาลัยอาจรับเข้าศึกษาได้ตามที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำสาขาวิชาและมหาวิทยาลัยกำหนด (โดยเป็นไปตามแผนการศึกษาแบบ ข.)

ที่เรียนจบมาจากคณะรัฐศาสตร์ ก็คงจะคิดเช่นเดียวกัน อาจจะเป็นเพราะว่าสาขาวิชา ทำให้รู้สึกว่าการหางานที่เหมาะกับสิ่งที่ตัวเองเรียนมาเป็นเรื่องที่ยากเอาการ เพราะตำแหน่งงานที่เปิดรับสมัคร ก็ไม่ได้เป็นตำแหน่งงานที่เฉพาะเจาะจง ต้องคิดเอาเองว่า เราเรียนจบรัฐศาสตร์มาน่าจะสามารถทำงานอะไรได้บ้าง

         จบรัฐศาสตร์ ทำงาน อะไรในสายงานใดได้บ้าง?

          คณะรัฐศาสตร์แบ่งออกเป็น 3 สาขาหลัก ๆ คือ สาขาการเมืองการปกครอง สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ แต่ในบางมหาวิทยาลัย ก็จะมีบางสาขาวิชาเพิ่มขึ้นมาเช่น สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และสาขางานยุติธรรมและความปลอดภัย

          โอกาสการได้งานทำก็จะแตกต่างกันออก ตามแต่สาขาวิชาที่เลือกเรียนมา การสมัครงานนั้น ก็ต้องเลือกดูเอาเองว่าด้วยความรู้ความสามารถที่เรามี สามารถนำไปสมัครงานอะไรได้บ้าง แต่โดยรวมแล้ว งานที่น้อง ๆ จบรัฐศาสตร์สามารถทำงานได้ แบ่งเป็น 3 สาขาดังนี้

  • งานราชการ 

งานราชการหรือบางคนจะเรียกว่า “รัฐกิจ” คือการบริหารงานให้กับกิจการของรัฐ งานที่สามารถสมัครได้ เช่น เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่ประสานงาน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เลขานุการบริหาร นักวิชาการศึกษา นายอำเภอ หรือเจ้าหน้าที่ด้านการปกครองอื่น ๆ หน่วยงานที่เปิดรับ คือ กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานรายชการต่าง ๆ

  • งานรัฐวิสาหกิจ 

รัฐวิสาหกิจเป็นหน่วยงานที่บริหารร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ตำแหน่งงานที่เปิดรับ จึงไม่ต่างจากตำแหน่งงานของงานราชการ และบริษัทเอกชนมากนัก ขึ้นอยู่กับว่าเรากำลังมองหางานแบบไหน หรือต้องการทำงานกับหน่วยงานใด

  • งานบริษัทเอกชน 

สำหรับคนที่ต้องการ และกำลังมองหาตำแหน่งงานในบริษัทเอกชน ขึ้นอยู่กับว่าจะเอาความรู้ที่ได้เรียนมานั้น ไปปรับใช้กับการทำงานในตำแหน่งอะไร ตำแหน่งงานที่เปิดรับสมัครจึงค่อนข้างหลากหลาย เช่น เจ้าหน้าที่ HR นักวิเคราะห์โครงการ นักวิเคราะห์การลงทุน นักวิเคราะห์ระบบงาน นักบริหารองค์การระดับสูง เป็นต้น

          จะเห็นได้ว่าช่องทางในการหางานของคนที่เรียนจบมาทางรัฐศาสตร์นั้นมีความหลากหลาย ไม่แพ้สาขาวิชาอื่น ๆ เพียงแต่ต้องให้ความสำคัญกับสิ่งที่เราเรียนมาว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง และเราสามารถนำความรู้ที่เรียนมาไปปรับใช้อย่างไรได้บ้าง ไม่จำเป็นว่าเรียนจบรัฐศาสตร์มาแล้ว ต้องไปทำงานเป็นนักการเมือง เหมือนอย่างที่หลาย ๆ คนเคยเข้าใจมา

          นอกจากช่องทางในการสมัครงานแล้ว ตำแหน่งงานที่นักศึกษาที่จบจากคณะรัฐศาสตร์ มักจะให้ความสนใจ และสมัครงานกันเป็นส่วนใหญ่ ทั้งที่ตรงสาย และไม่ตรงสายที่เรียนมา เรามาดูกันว่ามีตำแหน่งงานอะไรกันบ้าง

  • เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรบุคคล (HR)
  • นักการทูต
  • พนักงานธนาคาร
  • เลขานุการ
  • อาชีพอิสระ

          เห็นอย่างนี้แล้ว น้อง ๆ ที่จบรัฐศาสตร์ทั้งจบใหม่หรือรุ่นพี่ที่มาจากคณะรัฐศาสตร์หลาย ๆ คน น่าจะได้ไอเดียการสมัครงานหรือการทำงาน ไม่มากก็น้อย แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม การสมัครงานก็ต้องเลือกตามความสามารถ และมั่นใจว่าเราสามารถทำได้ เพราะคนที่ประสบความสำเร็จในการทำงานหลาย ๆ คน ก็ไม่ได้ทำงานตรงสายไปเสียทุกคน ขึ้นอยู่กับว่าได้นำความรู้ที่ได้เรียนมานั้นไปปรับใช้อย่างไร

ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ทั้ง iOS และ Android

จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร

คว้างานที่ใช่ ด้วยการค้นหางานที่ง่ายและรวดเร็ว พร้อมทั้งจัดการเรซูเม่อย่างมีประสิทธิภาพ ให้คุณอัปโหลด ดู และลบได้ทุกเมื่อที่ต้องการ เพลิดเพลินไปกับประสบการณ์การใช้งานแสนง่าย ด้วยระบบ AI ใหม่ ช่วยค้นหางานที่ตรงใจมากขึ้นถึง 6 เท่า​

 

เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

เรียนจบมานานแล้ว แต่ยังหางานไม่ได้ทำยังไงดี

ทำไมเด็กจบใหม่ Start เงินเดือนไม่เท่ากัน

จบรัฐศาสตร์ทำงานอะไร  จบรัฐศาสตร์สมัครงานอะไร  ตำแหน่งงานรัฐศาสตร์มีอะไรบ้าง  เรียนรัฐศาสตร์ทำงานอะไร  เรียนรัฐศาสตร์สมัครงานอะไร  เรียนรัฐศาสตร์หางานอะไร

บทความยอดนิยม

จบ ป.โท รัฐศาสตร์ ทํางานอะไร

20 ประเภทเพื่อนร่วมงานชวนป่วน พร้อมวิธีรับมือ

ในหนึ่งวันชาวออฟฟิศอย่างเรา ๆ ใช้เวลาอยู่ที่ออฟฟิศไม่น้อยกว่า 9 ชั่วโมงเป็นอย่างต่ำ ถ้าไม่นับเวลาที่เราต้องนอนในแต่ละวัน...

รัฐศาสตร์ จบมาทําอาชีพอะไร

1.เจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ... .
2.นักการทูต ... .
3.ปลัดอำเภอ และข้าราชการตามกรม กอง และกระทรวงต่างๆ ... .
4.พนักงานในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานธนาคาร และบริษัทเอกชน ... .
5.นักการเมือง.

จบรัฐศาสตร์ ม. ส ธ ทำงาน อะไรได้บ้าง

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชารัฐศาสตร์ สามารถประกอบอาชีพได้ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานระหว่างประเทศในตำแหน่งเจ้าพนักงานปกครอง เจ้าหน้าที่ตำรวจ นักวิชาการศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่การทูต พนักงานบริษัทห้างร้าน เจ้าหน้าที่บุคคล เจ้าหน้าที่การตลาด เจ้าหน้าที่ ...

ไม่จบรัฐศาสตร์เป็นปลัดได้ไหม

ในระเบียบการประกาศรับสมัครของกรมการปกครองได้กำหนดไว้ว่า จะต้องเป็นผู้ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นเทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ หรือสาขานิติศาสตร์ ดังนั้นหากน้องๆอยากเป็นปลัดอำเภอก็ควรเลือกเรียนใน 3 หลักสูตรนี้นะคะ

จบสาขาการปกครองท้องถิ่นทำงานอะไรได้บ้าง

เมื่อสําเร็จการศึกษาบัณฑิตสามารถประกอบอาชีพที่ตรงกับคุณวุฒิ คือ อาจารย์ ข้าราชการตํารวจ ข้าราชการทหาร ปลัดอําเภอ ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล สมาชิกองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ บริหารงานบุคคล เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน นักการเมืองระดับท้องถิ่นและระดับชาติ พนักงานบริษัทเอกชน ผู้บริหารบริษัท ผู้จัดการฝ่าย ...