นักพัฒนาซอฟต์แวร์ ทําอะไรบ้าง

จากชื่อจะเห็นว่ามีคำว่า Engineer หรือ วิศกร ซึ่งแก่นหลักของงานวิศวกรรม คือ การคำนึงถึงการสร้างตั้งแต่การเริ่มต้นวางแผน รับผิดชอบ ไปจนถึงการปิดจบโครงการ ซึ่งสำหรับงาน Software Engineer ก็มีการนำหลักการและทฎษฎีทางวิศกรรมมาประยุกต์ใช้ เช่น การมองและวิเคราะห์ปัญหาด้วยแนวคิดเชิงวิศวกรรม การคำนึงถึงสภาพแวดล้อมเดิมก่อนสร้างสิ่งใหม่ นอกจากนี้ยังต้องให้คำปรึกษากับลูกค้าเพื่อสร้าง Software ที่เหมาะสมกับลูกค้าที่สุด และทำงานร่วมกับ Programmer ดังนั้น Software Engineer ก็จำเป็นต้องมีทักษะด้านภาษา Coding โดยเฉพาะการอ่าน Code และความรู้เชิงโครงสร้างของการเขียน Code

— รายได้เฉลี่ยของ Software Engineer สูงสุด(ขึ้นอยู่กับบุลคลและประสบการณ์) อยู่ที่: 270,000 บาท/เดือน

Software Programmer

หนึ่งในอาชีพยอดฮิตของสาย Tech ที่หลายๆ คนคุ้นเคยกันดี หน้าที่ก็คือการสร้าง Software ผ่านการเขียนโปรแกรม (Programming) นั่นเอง ซึ่งการใช้ภาษา Coding ก็เป็นส่วนหนึ่งของงาน Programing ด้วยเช่นกัน หน้าที่หลักของ Programmer คือ การรับคำสั่งจาก Designer Engineer หรือ หัวหน้าทีม เพื่อเปลี่ยนความต้องการเหล่านั้นให้มาอยู่ในรูปแบบ Code เป็นอาชีพที่เหมาะสำหรับคนที่ชอบ Coding หรืออยากเริ่มต้นในสายงานนี้ เพราะสามารถต่อยอดไปเป็น Software Engineer หรือ สายงานอื่นๆ ได้อีกหลากหลายในอนาคต แน่นอนว่าทักษะด้านภาษา Coding เป็น A must ของอาชีพนี้ เพราะจำเป็นต้องใช้อ่าน และสร้างโค้ดที่เรียบร้อย รวมถึงการแก้ไขโค้ดที่ผิดพลาดอยู่เสมอ

— รายได้เฉลี่ยของ Software Programmer สูงสุด(ขึ้นอยู่กับบุลคลและประสบการณ์) อยู่ที่: 150,000 บาท/เดือน

นักพัฒนาซอฟต์แวร์ ทําอะไรบ้าง

programmers discussing project Image by @pressfoto via freepik.com

โดยสรุปอาจจะกล่าวได้ว่า Software Engineer กับ Software Programmer เป็นอาชีพอีกคู่หนึ่ง ที่มีส่วนงานรับผิดชอบทับซ้อนกันใน มุม (aspect) และ ขอบเขตงาน (scope) ที่ต่างกัน ตัวอย่างเช่น Back-End Engineer กับ Back-End Programmer สำหรับทักษะด้านการ Coding นั้นถือเป็นทักษะจำเป็นสำหรับทั้งสองอาชีพ โดยตัวอย่างภาษาที่ควรรู้ ได้แก่ C ,C++, C#, Java, JavaScript, LISP, MATLAB, Perl, PHP, Python, R, Ruby และ SQL

นักเขียนโปรแกรม หรือ โปรแกรมเมอร์ (Programmer) มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผู้ที่สามารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากหลายข้อมูล

นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer) คือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์เช่นในการออกแบบ การวางแผนพัฒนา ซึ่งขอบเขตงานจะกว้างกว่าการเขียนโปรแกรม โดยอาจมีส่วนร่วมในระดับทั้งโครงงาน แทนการดูแลส่วนของชิ้นงาน ซึ่งในกลุ่มนี้อาจรวมถึงโปรแกรมเมอร์ฟรีแลนซ์

โปรแกรมเมอร์ หรือ นักเขียนโปรแกรมหรือนักพัฒนาซอฟแวร์ มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยใช้ภาษาทางโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่นภาษา JAVA, JavaScript, PHP,C#, Python นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ทดสอบรหัสหรือโค้ดเพื่อทำให้คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ทำงานได้ และในกรณีที่เกิดปัญหาจากการทำงานของคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์จะทำการตรวจสอบรหัสที่เกิดข้อผิดพลาดและซ่อมแซมแก้ไขให้ถูกต้อง ปัจจุบันนี้โปรแกรมเมอร์ ยังคงเป็นอาชีพที่ต้องการสูงของตลาดแรงงาน ไม่ว่าจะในไทยหรือต่างประเทศ เพราะธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับไอทีและดิจิทัล มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ

การเตรียมตัวสู่การประกอบอาชีพ

อาชีพโปรแกรมเมอร์ เป็นตำแหน่งงานที่มีความต้องการของบริษัททั้งภาครัฐและเอกชน โดยอาชีพนี้เป็นอาชีพที่สามารถต่อยอดหรือปรับเปลี่ยนไปสายงานที่ใกล้เคียงได้ เช่น Web Developer, Mobile application, QA Engineer, Software Engineer, นักพัฒนาระบบสารสนเทศ, นักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักวิทยาการข้อมูล (Data Science), นักพัฒนาระบบด้านอินเตอร์เน็ตสรรพสิ่ง (Internet of Things), นักพัฒนาระบบด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (cybersecurity) นอกจากนี้อาชีพโปรแกรมเมอร์ยังสามารถเริ่มต้นจากการรับเขียนโปรแกรม และเปิดบริษัทเป็นของตนเอง

Software developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ ผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบ วางแผนพัฒนา เน้นในเรื่องของการเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาใดภาษาหนึ่ง ซึ่งขอบเขตงานจะกว้างกว่าการเขียนโปรแกรม โดยอาจมีส่วนร่วมในทั้งโปรเจกต์ มากกว่าดูแลส่วนของชิ้นงาน

ทักษะที่ต้องมีของ Software developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ ควรมีทั้ง Hard Skill และ Soft Skill ดังนี้

ด้าน Hard Skill คือ เรื่องของการ Coding เป็นหลัก เนื่องจากเป็นคนที่ต้องรู้จักภาษาโปรแกรมเป็นอย่างดี ทักษะพื้นฐานด้านภาษาโปรแกรมที่ควรมี คือ ภาษา C, C+, Java, COBAL, IOS, Android , Java, Python, Lisp นอกจากนี้ยังรวมไปถึงทักษะในเรื่องของการวิเคราะห์ข้อมูลและวางแผนงานได้อย่างแม่นยำ

ด้าน Soft Skill คือ เรื่องของการสื่อสาร รวมทั้งต้องรับฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะจากผู้อื่น ต้องใส่ใจในรายละเอียด มีความคิดสร้างสรรค์เป็นคนที่คิดนอกกรอบ และมีแง่มุมหลายมุมมอง มีทัศนคติที่ดี การบริหารเวลาที่ดี มีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อลูกค้า และงานที่ได้รับมอบหมาย รักการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ และพร้อมที่จะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ

หน้าที่เบื้องต้นของ Software developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์

1. วิจัย วิเคราะห์ และพัฒนาระบบซอฟต์แวร์
2. ศึกษากระบวนการ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องของระบบซอฟต์แวร์
3. ออกแบบกระบวนการในการทำระบบซอฟต์แวร์ให้เป็นมาตรฐานสำหรับผู้ใช้งาน
4. ทดสอบ ตรวจสอบ ความถูกต้องของกระบวนการให้เป็นไปตามมาตรฐานขององค์กร
5. ประเมินผลการทำงานของแต่ละขั้นตอน พร้อมประเมินผลความเสี่ยง
6. ดูแลแก้ไขข้อมูลด้านซอฟต์แวร์ขององค์กร
7. แนะนำและสอนการใช้โปรแกรมให้พนักงาน

นักพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นหนึ่งในกลุ่มงานสายไอทีที่เป็นที่ต้องการของตลาดในปัจจุบันและในอนาคตแน่นอน หากใครเริ่มสนใจอยากจะทำตำแหน่งนี้ สามารถเข้าไปสมัครงานด้านไอทีจากบริษัทชั้นนำที่ Professional One

หางานสาย IT ฝากเรซูเม่กับ professional-one.com
ตำแหน่งสาย IT ที่เปิดรับ professional-one.com/job

Developer Front End Developer IT Outsource IT Services IT Support Mobile Application Programmer resume resume ไอที Technical Skills งานสายไอที งานไอที ทักษะไอที สายงานไอที โปรแกรมเมอร์

พัฒนาซอฟต์แวร์เพื่ออะไร

การพัฒนาซอฟต์แวร์ (อังกฤษ: software development) เป็นกระบวนการก่อร่าง กำหนด ออกแบบ เขียนโปรแกรม จัดทำคู่มือ ทดสอบ และแก้ไขบั๊กที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและการปรับปรุงแอปพลิเคชัน เฟรมเวิร์ก หรือส่วนประกอบซอฟต์แวร์อื่น ๆ อีกทั้งการพัฒนาซอฟต์แวร์ยังเป็นกระบวนการเขียนและปรับปรุงซอร์ซโค้ด แต่ในแง่มุมที่กว้างขึ้นนั้นการพัฒนา ...

Developer เรียนอะไรบ้าง

“นักพัฒนาแอปพลิเคชั่น” อาชีพมาแรงต้องเรียนอะไรบ้าง.
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ Computer Science..
สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ Computer Engineering..
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology..
สาขาวิศวกรรรมเว็บไซด์และเทคโนโลยีการสื่อสาร Mobile Technology and Website..
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์ Applied Computer Science..

พัฒนาซอฟต์แวร์มีอะไรบ้าง

7 ขั้นตอนสำคัญของกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์.
การวางแผนและการวิจัย (Plan and Research) ... .
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ (Analyze) ... .
การออกแบบและสร้างต้นแบบ (Design and Prototype) ... .
การพัฒนา (Development) ... .
การประกันคุณภาพ (Warrantee) ... .
การปรับใช้ซอฟต์แวร์ (Customize) ... .
การบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ (Maintenance).

Software Developer VS Software Engineer ต่างกันอย่างไร

4) Software developer คือนักพัฒนาซอฟต์แวร์ มีหน้าที่ code โปรแกรม แต่เพิ่มการdesign ,Architecture ,UML. แต่บางคนเรียกรวมหรือสลับกับ programmer ก็ได้ 5) Software Engineer คือเรียนรู้กระบวนการทำซอฟต์แวร์ตั่งแต่ต้นทางยันปลายทาง เหมาะสำหรับคนทำ Software House เป็นอย่างยิ่ง