บทไหว้ครูเรื่องกาพย์พระไชยสุริยาขึ้นต้นด้วย มาตราใด

พระไชยสุริยา มีความยาวประมาณ ๑ เล่มสมุดไทย แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกาพย์ ได้แก่ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคณางค์ ๒๘ สุนทรภู่แต่งเรื่องนี้ราวปี พ.ศ. ๒๓๖๘ ขณะจำพรรษาอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีในสมัยรัชกาลที่ ๓ จุดประสงค์ในการแต่งเรื่องนี้ก็เพื่อใช้เทียบสอนอ่านภาษาไทยคือเป็นการสอนอ่านหนังสือไทยให้แก่เด็กๆ

สารบัญ Show

  • Share this:

เนื้อเรื่องของนิทานเรื่องพระไชยสุริยามีอยู่ว่า มีกษัตริย์พระองค์หนึ่งมีพระนามว่าพระไชยสุริยา ครองเมืองสาวัตถี มีมเหสีทรงพระนามว่าสุมาลีครอบครองบ้านเมืองด้วยความผาสุก ต่อมาพวกข้าราชการ เสนาอำมาตย์ ไม่ประพฤติตนอยู่ในทำนองคลองธรรม ทำให้เกิดอาเพศ มีนํ้าป่าไหลท่วมเมือง นอกจากนี้ยังมีผีป่ามาทำให้ชาวเมืองล้มตายเป็นจำนวนมาก พระไชยสุริยาจึงได้พามเหสีและบริวารเสด็จลงเรือสำเภา ทิ้งบ้านเมืองออกสู่ทะเล เรือสำเภาถูกพายุใหญ่จนเรือแตก พระไชยสุริยาพามเหสีหนีขึ้นฝั่งได้ พระอินทร์เสด็จมาสอนธรรมะแต่พระไชยสุริยาและพระมเหสีทั้ง ๒ พระองค์ปฏิบัติธรรมจนได้เสด็จไปสู่สวรรค์
ตอนต้นเรื่องมีบทไหว้ครูสั้นๆ โดยใช้คำในมาตราแม่ ก กา มีเนื้อความไหว้พระรัตนตรัย บิดามารดา (แสดงว่าแต่งในขณะที่บิดาและมารดายังมีชีวิตอยู่) อาจารย์และเทวดาต่างๆ…

สุนทรภู่แต่งแบบเรียน

กาพย์พระไชยสุริยานั้น ใครๆ ก็ทราบดีว่า สุนทรภู่ผู้แต่งกล่าวถึงคอรัปชั่นของพาราสาวัตถีอย่างเห็นจริง แม้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ก็ทรงนำไปอ้างใน “ปลุกใจเสือป่า” แต่ที่ข้าพเจ้านำมาเสนอนี้มีเจตนาจะแสดงเทคนิคของสุนทรภู่ในการแต่งคำอ่านเทียบมาตรา ก. กา ให้เห็นว่าสุนทรภู่มีปรีชาสามารถมากในการประกอบคำเฉพาะในแม่ ก. กา ให้เป็นเรื่องขึ้นได้อย่างมหัศจรรย์ แม้นักแต่งแบบเรียนภายหลังท่านคือ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ก็ไม่ยอมแข่งกับท่าน กลับขอยืมมาใช้ในแบบเรียนหลวง คือ มูลบทบรรพกิจ

สุนทรภู่นั้นตามประวัติว่าเคยเป็นครูของเจ้าฟ้า ๓ พระองค์ คือ เจ้าฟ้าอาภรณ์ เจ้าฟ้ากลาง และเจ้าฟ้าปิ๋ว ทั้งสามพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กับเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

เมื่อเป็นครูเจ้าฟ้าทั้งสามนั้น สุนทรภู่คงจะได้เริ่มแต่งแบบเรียนสอนภาษาไทยขั้นต้นขึ้น คือ สอนตั้งแต่แม่ ก. กา แม่กนไปจนกระทั่งถึงแม่เกย ท่านนำเอาเรื่องไชยสุริยามาเป็นเนื้อเรื่อง แต่นักวรรณคดีบางท่านว่าสุนทรภู่แต่งเรื่องพระไชยสุริยาภายหลังคือแต่งในเมื่อท่านบวชอยู่ที่วัดเทพธิดา ข้าพเจ้าสันนิษฐานว่าสุนทรภู่คงแต่งแต่ครั้งเป็นครูเจ้านาย อาจมารวบรวมเป็นเรื่องเดียวกันจากหลายๆ ตอน เมื่อครั้งบวชอยู่กระมัง?

ธรรมดาการสอนหนังสือไทย เมื่อผู้เรียนอ่าน ก. ข.ได้แล้วจึงเรียนประสมอักษรครูโบราณ นิยมผูกถ้อยคำเป็นหมวดหมู่ให้นักเรียนอ่าน สุนทรภู่ก็น่าจะทำเช่นเดียวกันคือแต่งกาพย์เรื่องพระไชยสุริยา สอนศิษย์ของท่าน ปรากฏว่าเรื่องพระไชยสุริยาของสุนทรภู่สอนศิษย์ได้ผลดี ภายหลังคนทั้งหลายก็นำเอากาพย์พระไชยสุริยาของสุนทรภู่ไปสอนศิษย์โดยทั่วกัน ความนิยมแพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวาง จนพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) นักอักษรศาสตร์สมัยรัชากาลที่ ๕ ก็ไม่ยอมแต่งใหม่ เมื่อทำหนังสือมูลบทบรรพกิจเป็นแบบเรียนหลวง ท่านขอยืมเรื่องพระไชยสุริยาของสุนทรภู่นั้น มีผลสองสถานคือ ผลทางอักขรวิธี กับผลทางวรรณคดี นับได้ว่าเรื่องกาพย์พระไชยสุริยามค่าลํ้าในวงอักษรศาสตร์ไทยเรื่องหนึ่ง

                        ๒. สะท้อนแนวคิดของคนในสังคม  สามัคคีเภทคำฉันท์ได้สะท้อนให้เห็นสภาพสังคมว่า จะต้องมีความสามัคคีจึงจะอยู่รอดได้  เมื่อใดก็ตามที่ความเป็นปึกแผ่น ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติถูกทำลาย เมื่อนั้นบ้านเมืองจะระส่ำระสาย ขาดความเป็นเอกภาพ ต่างคนต่างหวาดระแวงกัน ขาดความไว้ใจกัน ทำให้ฝ่ายตรงข้ามมีโอกาสโจมตีได้ง่าย นับว่าเป็นอุทาหรณ์ที่ผู้อ่านต้องนำไปเป็นเครื่องเตือนใจว่า การคบคนและการไว้วางใจบุคคลอื่นนั้น ต้องใช้วิจารณญาณไตร่ตรองให้รอบคอบ มิฉะนั้นจะนำผลร้ายมาสู่ตนได้เหมือนบรรดากษัตริย์ลิจฉวีแห่งแคว้นวัชชีที่มิได้ไตร่ตรองเหตุผลให้รอบคอบ ทรงหลงกลศัตรูรับ วัสสการพราหมณ์ไว้จนเป็นเหตุให้เสียแคว้นวัชชีในที่สุด

คำแปลของทั้งสองบทสวดแต่งด้วยกาพย์ฉบัง 16 ซึ่งโดยทั่วไปเมื่ออ่านแล้ว จะฟังดูไม่เพราะสำหรับคนที่เคยชินกับกานท์/กลอนที่มี 4 วรรค แต่บทคำแปลของ บทสวดไหว้ครู และ บทสวดสังฆคุณ สวดมนต์ทำนองสรภัญญะ เป็นอะไรที่ไพเราะมาก ๆ และเป็นแรงบันดาลใจให้ สว อิเฎล ได้แต้งกาพย์ฉบัง 16 และทำให้เข้าใจความไพเราะของมันได้ลึกซึ้งขึ้น

พระไชยสุริยา มีความยาวประมาณ ๑ เล่มสมุดไทย แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกาพย์ ได้แก่ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคณางค์ ๒๘ สุนทรภู่แต่งเรื่องนี้ราวปี พ.ศ. ๒๓๖๘ ขณะจำพรรษาอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีในสมัยรัชกาลที่ ๓ จุดประสงค์ในการแต่งเรื่องนี้ก็เพื่อใช้เทียบสอนอ่านภาษาไทยคือเป็นการสอนอ่านหนังสือไทยให้แก่เด็กๆ

เนื้อเรื่องของนิทานเรื่องพระไชยสุริยามีอยู่ว่า มีกษัตริย์พระองค์หนึ่งมีพระนามว่าพระไชยสุริยา ครองเมืองสาวัตถี มีมเหสีทรงพระนามว่าสุมาลีครอบครองบ้านเมืองด้วยความผาสุก ต่อมาพวกข้าราชการ เสนาอำมาตย์ ไม่ประพฤติตนอยู่ในทำนองคลองธรรม ทำให้เกิดอาเพศ มีนํ้าป่าไหลท่วมเมือง นอกจากนี้ยังมีผีป่ามาทำให้ชาวเมืองล้มตายเป็นจำนวนมาก พระไชยสุริยาจึงได้พามเหสีและบริวารเสด็จลงเรือสำเภา ทิ้งบ้านเมืองออกสู่ทะเล เรือสำเภาถูกพายุใหญ่จนเรือแตก พระไชยสุริยาพามเหสีหนีขึ้นฝั่งได้ พระอินทร์เสด็จมาสอนธรรมะแต่พระไชยสุริยาและพระมเหสีทั้ง ๒ พระองค์ปฏิบัติธรรมจนได้เสด็จไปสู่สวรรค์
ตอนต้นเรื่องมีบทไหว้ครูสั้นๆ โดยใช้คำในมาตราแม่ ก กา มีเนื้อความไหว้พระรัตนตรัย บิดามารดา (แสดงว่าแต่งในขณะที่บิดาและมารดายังมีชีวิตอยู่) อาจารย์และเทวดาต่างๆ…

สุนทรภู่แต่งแบบเรียน

กาพย์พระไชยสุริยานั้น ใครๆ ก็ทราบดีว่า สุนทรภู่ผู้แต่งกล่าวถึงคอรัปชั่นของพาราสาวัตถีอย่างเห็นจริง แม้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ก็ทรงนำไปอ้างใน “ปลุกใจเสือป่า” แต่ที่ข้าพเจ้านำมาเสนอนี้มีเจตนาจะแสดงเทคนิคของสุนทรภู่ในการแต่งคำอ่านเทียบมาตรา ก. กา ให้เห็นว่าสุนทรภู่มีปรีชาสามารถมากในการประกอบคำเฉพาะในแม่ ก. กา ให้เป็นเรื่องขึ้นได้อย่างมหัศจรรย์ แม้นักแต่งแบบเรียนภายหลังท่านคือ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ก็ไม่ยอมแข่งกับท่าน กลับขอยืมมาใช้ในแบบเรียนหลวง คือ มูลบทบรรพกิจ

สุนทรภู่นั้นตามประวัติว่าเคยเป็นครูของเจ้าฟ้า ๓ พระองค์ คือ เจ้าฟ้าอาภรณ์ เจ้าฟ้ากลาง และเจ้าฟ้าปิ๋ว ทั้งสามพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กับเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

เมื่อเป็นครูเจ้าฟ้าทั้งสามนั้น สุนทรภู่คงจะได้เริ่มแต่งแบบเรียนสอนภาษาไทยขั้นต้นขึ้น คือ สอนตั้งแต่แม่ ก. กา แม่กนไปจนกระทั่งถึงแม่เกย ท่านนำเอาเรื่องไชยสุริยามาเป็นเนื้อเรื่อง แต่นักวรรณคดีบางท่านว่าสุนทรภู่แต่งเรื่องพระไชยสุริยาภายหลังคือแต่งในเมื่อท่านบวชอยู่ที่วัดเทพธิดา ข้าพเจ้าสันนิษฐานว่าสุนทรภู่คงแต่งแต่ครั้งเป็นครูเจ้านาย อาจมารวบรวมเป็นเรื่องเดียวกันจากหลายๆ ตอน เมื่อครั้งบวชอยู่กระมัง?

ธรรมดาการสอนหนังสือไทย เมื่อผู้เรียนอ่าน ก. ข.ได้แล้วจึงเรียนประสมอักษรครูโบราณ นิยมผูกถ้อยคำเป็นหมวดหมู่ให้นักเรียนอ่าน สุนทรภู่ก็น่าจะทำเช่นเดียวกันคือแต่งกาพย์เรื่องพระไชยสุริยา สอนศิษย์ของท่าน ปรากฏว่าเรื่องพระไชยสุริยาของสุนทรภู่สอนศิษย์ได้ผลดี ภายหลังคนทั้งหลายก็นำเอากาพย์พระไชยสุริยาของสุนทรภู่ไปสอนศิษย์โดยทั่วกัน ความนิยมแพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวาง จนพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) นักอักษรศาสตร์สมัยรัชากาลที่ ๕ ก็ไม่ยอมแต่งใหม่ เมื่อทำหนังสือมูลบทบรรพกิจเป็นแบบเรียนหลวง ท่านขอยืมเรื่องพระไชยสุริยาของสุนทรภู่นั้น มีผลสองสถานคือ ผลทางอักขรวิธี กับผลทางวรรณคดี นับได้ว่าเรื่องกาพย์พระไชยสุริยามค่าลํ้าในวงอักษรศาสตร์ไทยเรื่องหนึ่ง

บทไหว้ครูจากเรื่องกาพย์พระไชยสุริยาขึันต้นด้วยมาตราใด

ตอนต้นเริ่มเรื่องด้วยบทไหว้ครูสั้น ๆ บอกจุดประสงค์ในการแต่ง โดยใช้คำในมาตราแม่ ก กา และเล่าเรื่องราวสภาพ ความเป็นอยู่ของชาวเมืองสาวัตถี การเกิดน้ำท่วมเมือง พระไชยสุริยาพามเหสีและบริวารเสด็จลงเรือสำเภา เกิดพายุกลางมหาสมุทร

บทไหว้ครูแต่งด้วยกาพย์ชนิดใด

นี่เป็นบทไหว้ครูที่เราคุ้นกันมาก จากกาพย์พระไชยสุริยาของพระสุนทรโวหาร (ภู่) หรือที่เราเรียกท่านตามฉายาที่ชาวบ้านเรียกๆ กันว่า “สุนทรภู่” กวีสี่แผ่นดินสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ หนังสือซึ่งถือเป็นหนังสือเรียนได้ เพราะสอนวิธีการเรียนหนังสือไทยอย่างสนุก โดยเอาคำประพันธ์มาล่อ ซึ่งก็จะทำให้จำได้ง่าย ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 5 พระยา ...

กาพย์พระไชยสุริยาแต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทใดบ้าง

เรื่องกาพย์พระไชยสุริยานี้แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกาพย์ ได้แก่ กาพย์ยานี11 กาพย์ฉบัง16 กาพย์สุรางคนางค์ 28. ตัวอย่างคำประพันธ์

บทไหว้ครูในกาพย์พระไชยสุริยาได้ไหว้ใครบ้าง

สาธุสะจะขอไหว้ พระศรีไตรสรณา พ่อแม่และครูบา เทวดาในราศี.
ภุมราการุญสุนทร ไว้หวังสั่งสอน เด็กอ่อนอันเยาว์เล่าเรียน.
ก ข ก กา ว่าเวียน หนูน้อยคอยเพียร อ่านเขียนผสมกมเกย.