ตัวแปรทางเศรษฐกิจ มีอะไรบ้าง

สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230

ศิริขวัญ เจริญวิริยะกุล

สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230

บทคัดย่อ

แม้ว่าภาครัฐจะเข้ามาส่งเสริมการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในอุตสาหกรรม New s-curve แต่การลงทุนยังขาดความต่อเนื่องของการพัฒนาอุตสาหกรรมให้สอดรับกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง จึงได้มีการวิจัยเพื่อวิเคราะห์ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคที่มีผลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของประเทศไทยในอุตสาหกรรม New s-curve โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ รายไตรมาสตั้งแต่ พ.ศ.2560-พ.ศ. 2563 และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression analysis) ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary least square) เพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคที่มีนัยสำคัญต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของประเทศไทยในอุตสาหกรรม New s-curve จำนวน 5 รายอุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรมดิจิทัล และอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ผลการศึกษาพบว่า อัตราการเติบโตการลงทุนภายในประเทศของภาครัฐ อัตราดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจรและอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ในขณะที่อัตราการเติบโตของการส่งออกมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในอุตสาหกรรมดิจิทัลและอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ส่วนดัชนีผลิตภาพแรงงานไม่มีผลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในอุตสาหกรรม New s-curve ดังนั้นภาครัฐสามารถใช้ผลการศึกษานี้ประกอบการพิจารณาเพื่อกำหนดมาตรการสนับสนุนหรือกำหนดนโยบายที่เหมาะสมในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในอุตสาหกรรม New s-curve ได้อย่างต่อเนื่อง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

ฉบับ

ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (2022): พฤษภาคม-สิงหาคม

บท

บทความวิจัย

ตัวแปรทางเศรษฐกิจ มีอะไรบ้าง

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น

References

Aunthong, A. (2007). A guide to using eviews program: For econometrics analysis. Social Research Insitution: Chiangmai University. (in Thai)

Bank of Thailand. (2019). foreign direct investment classified by industry [online]. Retrieved February 20, 2021, from: https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=656&language=th. (in Thai)

Chandra, T. & Handoyo, R. (2020). Determinants of foreign direct investment in 31 Asian Countries for the 2002-2017 period. Contemporary Economics, 14(4), 563-578.

Charoenporn, P. (2015). Foreign direct investment be the driving factor for the economy in 2015?. Thailand Economics in Focus (TEF) Thammasat University, 2 February 2015. Bangkok: Thammasat University

Chumprasert, V. (2011). Foreign direct investment and productivity spillover in Thailand chemical industry. Master’ s Thesis. Chulalongkorn University. (in Thai)

Chusri, W. & Lalitsasivimol, W. (2020). Health tourisms: Thailand’s competitiveness. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 7(2), 205-226. (in Thai)

Gertpon, S. & Pongpitnupijit, J. (2017). Factors affecting Japanese direct investment in automotive, metal and electrical appliances industries of Thailand. Journal of Management Science, Chiang Rai Rajabhat University, 11(1), 81-110. (in Thai)

Giatruenggrai, C., TepKam, P., & Chinwonwattana, W. (2020). 10 years of Thai industry, How Far Have We Come?. Focused And Quick (FAQ), Financial Policy Bank of Thailand, 165, 1-13. (in Thai)

Jankanakittikul, T. & Namnai, K. (2018). The application of theory in international investment. Journal of Research and Development Institute, Rajabhat Maha Sarakham University, 5(1), 249-258. (in Thai)

Kan, P. (2017). Determinants of inward foreign direct investment from China, South Korea and Japan and its contribution to economics growth in Cambodia. Master of Arts Program in International Economics and Finance. Chulalongkorn University.

Kumpirarusk, P. & Rohitratana, K. (2018). Industry 4.0: Future industries of Thailand. WMS Journal of Management Walailak University, 7(3), 52-64. (in Thai)

Marknual, C. (2019). Robotics industry and Thailand's manufacturing development (Part 1). Research Intelligence, Krungsri Research, 1-11. (in Thai)

Meesati, C. (2013). Factors affecting foreign direct investment in mould and dies industry of Thailand, Master’s Thesis. Kasetsart University Sriracha Campus. (in Thai)

Ministry of industry. (2017). Thailand's 20-Year National Strategy (2017–2036). Ministry of industry. (In Thai)

Okapanom, T. & Sricharoen T. (2016). Factors affecting foreign direct investment in Thailand. Journal of Business Economics and Communications, 11(2), 75-87. (in Thai)

Punmalee, A. (2020). Macroeconomic determinants of foreign direct investment Inflow in Thailand. Master’s Thesis. Kasetsart University Sriracha Campus. (in Thai)

Punprasert, S., Mawongwai, Y. & Nilsom, W. (2019). Factor influencing the inflow of foreign direct investment from Netherlands in the food processing industry, Thailand. Khon khen Agriculture Journal, 47(suppl.1), 877-882. (in Thai)

Sagarik, D. (2015). The determinants of foreign direct investment flows: Evidences from ASEAN Member Countries, NIDA Development Journal, 55(2), 1-23.

Suttiwatarueputti, S., Seprat, K., Pin-tong, J., Tansagun, S., Adisongann, R., Wongsintuwiset, P., et al. (2017). Thai private investment series article (1/3): 8 facts of Thai investment [Online]., Retrieved February 19, 2021, from: https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA/6NetForeignDirectInvestment.pdf. (in Thai)

Thailand Board of Investment. (2020). Investment promotion summary (Thai only)[Online]. Retrieved February 20, 2021, from: https://www.boi.go.th/index.php?page=statistics_condition_promotion&language=th. (In Thai)

ปัจจัยทางเศรษฐกิจมีกี่ด้านอะไรบ้าง

การพัฒนาเศรษฐกิจจะต้องมีปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ ดังนี้.
ประชากร จำนวนประชากร และคุณภาพของประชากร.
ทรัพยากรธรรมชาติ ปริมาณและชนิดของทรัพยากรมีผลต่อการผลิต.
การสะสมทุนการออมและการลงทุนภายในประเทศ.
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี วิธีการผลิตและการคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ.

Economic Factor คืออะไร

(1) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ (Economic Factors) ที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ของประเทศและของจังหวัดที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถแบ่งเป็นปัจจัยทางเศรษฐกิจภายในประเทศ และ ปัจจัยทางเศรษฐกิจภายนอกประเทศ

เศรษฐศาสตร์มีเรื่องอะไรบ้าง

แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ ในปัจจุบัน การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์แบ่งเป็น 2 แขนงหลัก คือ 1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) เป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคล ครัวเรือน เป็นการศึกษา เฉพาะส่วนย่อย ๆ ในระยะเวลาหนึ่ง ๆ เช่น พฤติกรรมของตลาด กลไกราคา (อ่านเพิ่มเติมจากบทที่ 3) ๆ 2. เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)

เศรษฐศาสตร์จุลภาค มีอะไรบ้าง

เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจใดหน่วยเศรษฐกิจหนึ่ง เช่น การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภครายใดรายหนึ่งว่าจะมีการตัดสินใจในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการอย่างไร จำนวนเท่าใด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายความพอใจสูงสุดภายใต้ขีดจำกัดของรายได้จำนวนหนึ่ง พฤติกรรมของผู้ผลิตหรือ ...