คุณลักษณะ ของผู้ ตีความ หลักฐานที่ดี คือข้อใด

˹���á

�ç���¹��¹�Ӽ�� 㹾���ػ�����

����ǡѺ����

����������ѧ���֡�� ��ʹ�����Ѳ�����

��úѭ

��ʹ� ���¸���

˹�ҷ������ͧ

���ɰ��ʵ��

����ѵ���ʵ��

������ʵ��

Ẻ�֡�Ѵ

 

��鹵͹�Ըա�÷ҧ����ѵ���ʵ��

 

��鹵͹��� 4 ��õդ�����ѡ�ҹ
          ��õդ�����ѡ�ҹ ���¶֧ ��þԨ�óҢ��������ѡ�ҹ��Ҽ�����ҧ��ѡ�ҹ��ਵ�ҷ�����ԧ���ҧ�� �´٨ҡ���ҡ����¹�ͧ���ѹ�֡����ٻ��ҧ�ѡɳ��·���仢ͧ��д�ɰ������ҧ� ���������������·�����ԧ���
�Ҩ�ͺῧ��ਵ������������
          㹡�õդ�����ѡ�ҹ �ѡ����ѵ���ʵ��֧��ͧ�������Ѻ�������¨ҡ�ӹǹ����� ��ȹ��� �������� ��� �ͧ�����¹����ѧ����ؤ���¹�鹻�Сͺ���� ���ͷը����Һ��Ҷ��¤�����鹹͡�ҡ�����¤����������ѡ������ �ѧ�դ������·�����ԧ����ὧ����
            



แบบฝึกกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

ให้นักเรียนพิจารณาคำถาม แล้วเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว พร้อมให้เหตุผลประกอบ

มาตรฐานการเรียนรู้ส 4.1 : ม.4-6/1ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ

1. “ การศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจปรัชญาของชีวิต ”  หมายถึงข้อใด *

1 point

1. เข้าใจความจริงของธรรมชาติ

2. ตระหนักถึงภาระของการใช้ชีวิตในสังคม

3. รู้ถึงความจริงกับการพยายามถึงความจริง

4. เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไป

2. เหตุใดจึงกล่าวว่าการเรียนประวัติศาสตร์ก่อให้เกิดการพัฒนาปัญญา *

1 point

1. ต้องใช้นักปราชญ์ในการบันทึกข้อมูล

2. ก่อให้เกิดความรู้ใหม่หรือการเกิดปัญญา

3. มีการใช้ปัญญาในการพิจารณาข้อเท็จจริง

4. ต้องใช้กระบวนการทางปัญญาในการค้นคว้าข้อมูล

3. สิ่งใดที่นักประวัติศาสตร์ขาดไป  จะส่งผลให้ผลงานขาดคุณภาพ *

1 point

4. ข้อใดที่นักประวัติศาสตร์พึงกระทำเมื่อรู้ว่าสิ่งที่ตนเองศึกษาไม่ถูกต้อง *

1 point

1. รวมกลุ่มศึกษาใหม่อีกครั้ง

2. ยอมแก้ไขในการตีความใหม่

3. ปิดบังซ่อนเร้นข้อมูลไว้ก่อน

4. ขอโทษทางสื่อประชาสัมพันธ์

5. ข้อใดคือหน้าที่ของนักมานุษยวิทยา *

1 point

1. ศึกษาร่องรอยของมนุษย์จากโบราณวัตถุ

2. ตรวจสอบดิน หิน แร่ ที่มีหลักฐานปรากฏ

3. ศึกษาชาติพันธุ์ของมนุษย์ในแต่ละบริเวณของโลก

4. ศึกษาลักษณะภูมิประเทศในถิ่นฐานเดิมของมนุษย์

6. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ *

1 point

3. สร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล

4. กำหนดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา

7. คำว่า “ ประวัติศาสตร์ ” บัญญัติขึ้นใช้ในประเทศไทยในสมัยใด *

1 point

8. ข้อใดเป็นลักษณะของการวิพากษ์ภายนอก *

1 point

1. ตรวจช่วงเวลาของหลักฐาน

2. ตรวจลักษณะทั่วไปของหลักฐาน

3. ตรวจความน่าเชื่อถือของหลักฐาน

4.ประเมินจุดมุ่งหมายของผู้สร้างหลักฐาน

9. คุณลักษณะของผู้ตีความหลักฐานที่ดี คือข้อใด *

1 point

1. รอบคอบ ยุติธรรม ช่างสังเกต

2. ละเอียด รอบคอบ ช่างสังเกต

3. ช่างสังเกต เฉลียวฉลาด นำเสนอน่าสนใจ

4. รอบคอบ ยุติธรรม นำเสนอได้อย่างถูกต้อง

10. ขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คือข้อใด *

1 point

11. ลักษณะสำคัญของหลักฐานทางโบราณคดี คือข้อใด *

1 point

4. โครงกระดูกมนุษย์ ขวานหิน

12. “ เทพปกรณัม ”  เป็นหลักฐานในลักษณะใด *

1 point

13. ข้อใดเป็นหลักฐานที่บันทึกโดยเจตนา *

1 point

3. หนังสือพิมพ์ โครงกระดูก

4. เครื่องใช้สำริด ภาพวาดในถ้ำ

14.  ข้อใดเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ *

1 point

15. หลักฐานประเภทใดที่เกิดขึ้นในสมัยประวัติศาสตร์ *

1 point

3. เครื่องประดับของมนุษย์

4. ถ้ำที่อยู่อาศัยของมนุษย์

16. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง *

1 point

1. อียิปต์เกิดก่อนเมโสโปเตเมีย

2. โรมและกรีกรวมตัวสู้กับอียิปต์

3. บ้านเชียงเก่ากว่าเมโสโปเตเมีย

4. เอเชียไมเนอร์คือประเทศอิหร่านในปัจจุบัน

17.   ผู้ที่รู้จักใช้เหล็กเป็นกลุ่มแรก คือข้อใด *

1 point

1. ชาวจีน – ลุ่มแม่น้ำฮวงโห

2. ชาวฮิตไทต์ – เอเชียไมเนอร์

3. ชาวอารยัน – ลุ่มแม่น้ำสินธุ

4. ชาวเปอร์เชีย – ริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

18. ข่าวในหนังสือพิมพ์รายวันนับเป็นหลักฐานชั้นใดทางประวัติศาสตร์ *

1 point

4. หลักฐานที่ไม่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์

19. ในมณฑลเฮอหนาน ( Honan ) ของจีนมีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาเนื้อสีแดงทาสีดำ  หรือชนิดมีลวดลาย  มีอายุ       ประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริสตกาลนั้น จัดว่าเป็นหลักฐานชนิดใด *

1 point

4. หลักฐานทางประวัติศาสตร์

20. ข้อใดไม่ใช่หลักฐานที่ใช้ในการศึกษายุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ (02/18/2/2560)   *

1 point

1. โครงกระดูกมนุษย์สไตน์ไฮม์

2. ภาพเขียนสีในถ้ำอัลตามีรา

3. บันทึกประวัติของอักบาร์

5. เครื่องปั้นดินเผาวัฒนธรรมหยางเชา

21. การวิพากษ์หลักฐานจัดว่าเป็นขั้นตอนใดของวิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์ (02/18/2/2560)   *

1 point

3. การประเมินคุณค่าหลักฐาน

22. ข้อใดไม่สามารถใช้เป็นหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา (02/2/3/2562) *

1 point

1. องค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม

2. ป้อมวิไชยประสิทธิ์ กรุงเทพมหานคร

3. ศิลาจารึกวัดจุฬามณี จังหวัดพิษณุโลก

4. จารึกลานทองวัดส่องคบ จังหวัดชัยนาท

5. ซากเตาเผาโบราณบริเวณแม่น้ำน้อย จังหวัดสิงห์บุรี

23. ข้อใดผิดเมื่อกล่าวถึงวิธีการตรวจสอบและการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์ *

1 point

1. การทราบอายุของหลักฐานจะช่วยให้ตีความหลักฐานนั้นได้ดีขึ้น

2. การสร้างความมุ่งหมายในการสร้างหลักฐานจะช่วยให้ตีความหลักฐานนั้นให้ได้ดีขึ้น

3. หลักฐานที่ไม่มีการระบุเวลาที่ทําหลักฐานนั้นขึ้นมาสามารถนํามาใช้ในการศึกษาได้

4. หลักฐานที่กล่าวถึงเฉพาะด้านดีของสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่สามารถนํามาใช้เป็นหลักฐานในการศึกษาได้

5. หลักฐานที่เขียนในช่วงเวลาที่อยู่ใกล้กับการเกิดขึ้นของเหตุการณ์ที่บันทึกไว้ในหลักฐานนั้นทําให้หลักฐานชิ้นนั้นมีความน่าเชื่อถือมากกว่า

Never submit passwords through Google Forms.