คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีวิสัยทัศน์ คือ เป็นคณะชั้นนำของประเทศไทยที่ผลิตบัณฑิต งานวิจัย และนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์และเทคโนโลยี โดยเน้นองค์ความรู้ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งภาคธุรกิจ ภาคการเกษตร และภาคอุตสาหกรรมในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ นอกจากนี้ ยังมีภารกิจในการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นศาสตร์ของคณะ หรือองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยให้แก่ท้องถิ่นและสังคม ผ่านกระบวนการให้บริการวิชาการ รูปแบบต่าง ๆ

Show


คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม ได้รับการจัดตั้งที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เพื่อผลิตบัณฑิตด้านเทคโนโลยีและการจัดการ ที่มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาและบูรณาการองค์ความรู้ เพื่อตอบสนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและองค์กรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องคณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม ประกอบด้วย 4 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม (IM) ภาควิชาการออกแบบและบริหารงานก่อสร้าง (CDM) และภาควิชาวิศวกรรมเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม (AEI) โดยมีการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรีที่จัดการเรียนการสอนปัจจุบัน จำนวน 11 หลักสูตร ด้วยลักษณะของหลักสูตรที่มีความเป็นสหวิทยาการ รวมถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่าง ๆ ทำให้บัณฑิตของคณะมีความรู้ความสามารถและศักยภาพเชิงนวัตกรรม ที่สามารถตอบสนองความต้องการของอุตสาหกรรมและองค์กรที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี นอกจากการผลิตบัณฑิต คณะยังมีพันธกิจอื่นที่ดำเนินการ อาทิ การบริการทางวิชาการที่สอดรับกับความต้องการของชุมชนและสังคม รวมถึงการสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาและวิจัยกับหน่วยงานภายนอก ทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน

หลักสูตรปริญญาตรี

ปริญญาตรี 4 ปี

หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 1 สาขา ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 2 สาขา ได้แก่

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 3 สาขา ได้แก่

ปริญญาตรีต่อเนื่อง 2 ปี

หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 2 สาขา ได้แก่

ปริญญาตรีเทียบโอน 2 ปีครึ่ง

หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 1 สาขา ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.). 1 สาขา ได้แก่

ปริญญาตรีเทียบโอน 3 ปี

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 1 สาขา ได้แก่

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้เริ่มจากการเป็นหน่วยงานในสังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีการเปิดสอนหลักสูตรหัตกรรมศึกษาและอุตสาหกรรมศิลป์ มาตั้งแต่ปีการศึกษา 2522 ต่อมาได้มีการเปิดสอนในหลักสูตรด้านอุตสาหกรรมที่หลากหลาย เพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการสภาพเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ที่แปรเปลี่ยนเมื่อปีการศึกษา 2543 มีการ เปิดสอนหลักสูตรด้านอุตสาหกรรมมากขึ้น จึงได้จัดตั้งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จนกระทั่งปี พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏสวนสุนันทาได้เปลี่ยนสภาพเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมจึงได้รับการจัดตั้ง ให้เป็นหน่วยงานระดับคณะตามประกาศกระทรวงศึกษา เรื่องการแบ่งส่วนราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ซึ่งปัจจุบันมีการเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 4 ปี และหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 4 ปี

คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

ปรัชญา

ทักษะเป็นเลิศ เชิดชูคุณธรรม ก้าวนํา วิชาการ เชี่ยวชาญเทคโนโลยี


วิสัยทัศน์

หน่วยงานจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและ มาตรฐานวิชาชีพ


พันธกิจ

  1. ผลิตบัณฑิตที่เน้นทักษะในการประกอบวิชาชีพ มีความรับผิดชอบ มีความพร้อมในการเรียนรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
  2. การวิจัยที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ และสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการหรือชุมชน
  3. บริการวิชาการ ให้การบริการวิชาการที่เป็นเอตทัคคะ ที่ตอบและแก้ปัญหาของสังคม โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น และสังคม
  4. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ประเพณีไทยและสืบสานวัฒนธรรมวังสวนสุนันทา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)
  1. สาขาวิชาเทคโนโลยีความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Safety Technology and Occupational Health)
  2. สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า (Electrical Technology)
  3. สาขาวิชาการจัดการอสังหาริมทรัพย์และทรัพยากรอาคาร (Real Estate and Facility Management)
  4. สาขาวิชาการออกแบบกราฟิกและมัลติมีเดีย (Graphic and Multimedia Design)
หลักสูตรการออกแบบบัณฑิต (อบ.บ.)
  1. สาขาวิชาการออกแบบนิทรรศการและแอนิเมชันสามมิติ (Exhibition Design and Three Dimensional Animation)
  2. สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ (Industrial Design and Packaging)
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)
  1. สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
  2. สาขาวิชาวิศวกรรมหุ่นยนต์ (Robotics Engineering)
  3. สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรม (Engineering Management)
หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ)
  1. สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์และวิทยาศาสตร์ (Industrial Arts and Science)


เข้าสู่เว็บไซต์ของคณะ

คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

คณะครุศาสตร์

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

คณะศิลปกรรมศาสตร์

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

คณะวิทยาการจัดการ

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

วิทยาลัยสหเวชศาสตร์

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

วิทยาลัยนิเทศศาสตร์

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

รายละเอียด
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาอะไรบ้าง

วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง

รายละเอียด

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทำงานอะไรได้บ้าง

สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม.
เรียนจบแล้วทำงานอะไร.
1) นักวิชาการเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรม 2) เจ้าหน้าที่ฝ่ายการผลิตและควบคุมคุณภาพ 3) นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 4) นักออกแบบผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญา 5) ช่างอุตสาหกรรม 6) ผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ 7) ผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์.

อุตสาหกรรมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง

วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering : IE) เป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบ พัฒนา วางแผน ควบคุม วิจัยดำเนินงาน การบริหารจัดการ และติดตามประเมินผลระบบโดยรวม โดยครอบคลุมปัจจัยทุกๆด้าน ทั้งบุคคล ข้อมูล เครื่องจักรอุปกรณ์ วัสดุ พลังงาน การเงิน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ สรุปก็คือ พยายามหาทางใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่ ...

สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรมเรียนอะไรบ้าง

เรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง การเขียนแบบไฟฟ้า, คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า,วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์, การติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในและภายนอกอาคาร,การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า, การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม, ปฏิบัติการวงจรไฟฟ้า, เครื่องกลไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์กำลัง, วงจรดิจิทัลและการออกแบบวงจรลอจิก เป็นต้น

สาขาวิชาเทคโนโลยี เครื่องกล ทำงานอะไร

อาชีพที่สามารถประกอบได้ 1. พนักงานควบคุมเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม 2. พนักงานฝ่ายซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องจักร 3. พนักงานควบคุมการทำงานของหม้อไอน้ำ เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ 4. รับราชการในหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเครื่องกล