Non tariff barriers มีอะไรบ้าง

A nontariff barrier is a way to restrict trade using trade barriers in a form other than a tariff. Nontariff barriers include quotas, embargoes, sanctions, and levies. As part of their political or economic strategy, some countries frequently use nontariff barriers to restrict the amount of trade they conduct with other countries.

Key Takeaways

  • A nontariff barrier is a trade restriction–such as a quota, embargo or sanction–that countries use to further their political and economic goals.
  • Countries usually opt for nontariff barriers (rather than traditional tariffs) in international trade.
  • Nontariff barriers include quotas, embargoes, sanctions, and levies.

How Nontariff Barriers Work

Countries commonly use nontariff barriers in international trade. Decisions about when to impose nontariff barriers are influenced by the political alliances of a country and the overall availability of goods and services.

In general, any barrier to international trade–including tariffs and non-tariff barriers–influences the global economy because it limits the functions of the free market. The lost revenue that some companies may experience from these barriers to trade may be considered an economic loss, especially for proponents of laissez-faire capitalism. Advocates of laissez-faire capitalism believe that governments should abstain from interfering in the workings of the free market.

Countries can use nontariff barriers in place of, or in conjunction with, conventional tariff barriers, which are taxes that an exporting country pays to an importing country for goods or services. Tariffs are the most common type of trade barrier, and they increase the cost of products and services in an importing country.

Often times countries pursue alternatives to standard tariffs because they release countries from paying added tax on imported goods. Alternatives to standard tariffs can have a meaningful impact on the level of trade (while creating a different monetary impact than standard tariffs).

Types of Nontariff Barriers

Licenses

Countries may use licenses to limit imported goods to specific businesses. If a business is granted a trade license, it is permitted to import goods that would otherwise be restricted for trade in the country.

Quotas

Countries often issue quotas for importing and exporting both goods and services. With quotas, countries agree on specified limits for products and services allowed for importation to a country. In most cases, there are no restrictions on importing these goods and services until a country reaches its quota, which it can set for a specific timeframe. Additionally, quotas are often used in international trade licensing agreements.

Embargoes

Embargoes are when a country–or several countries–officially ban the trade of specified goods and services with another country. Governments may take this measure to support their specific political or economic goals.

Sanctions

Countries impose sanctions on other countries to limit their trade activity. Sanctions can include increased administrative actions–or additional customs and trade procedures–that slow or limit a country’s ability to trade.

Voluntary Export Restraints

Exporting countries sometimes use voluntary export restraints. Voluntary export restraints set limits on the number of goods and services a country can export to specified countries. These restraints are typically based on availability and political alliances.

  • หน้าแรก
  • คลังความรู้
  • รายงานสรุปเชิงนโยบาย
  • แนวทางการลดมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non–Tariff Measures: NTMs) ภาคสินค้าเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ในกลุ่มประเทศประชาคมอาเซียน 6 (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์)

logo-itd ไม่พลาดบทความงานวิจัย ข่าวสาร และกิจกรรมใหม่ ๆ จาก itd

Top


– การกีดกันสินค้านำเข้าจะดำเนินการผ่านด้านผู้บริโภคเช่นการให้ข้อมูลกับผู้บริโภคเรื่องความปลอดภัยของสินค้าดังนั้นการส่งออกสินค้าของไทยอาจไม่ถูกกีดกันจากมาตรการทางการค้าหากแต่จะถูกปฏิเสธจากผู้บริโภคเอง

– ต้องติดตามกฎระเบียบอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะมาตรการที่เป็นอุปสรรคทางการค้าสาหรับสินค้านำเข้า

– ต้องติดตามการแจ้งเตือนอย่างใกล้ชิดเนื่องจากเป็นการส่งสัญญาณให้รู้ว่าสินค้าใดกำลังประสบปัญหาการส่งออกไปประเทศต่างๆเหล่านี้

– ธุรกิจไทยอาจมีต้นทุนธุรกรรมเพิ่มขึ้นในการดำเนินการด้านเอกสารที่เกี่ยวข้องกับมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมมาตรการด้านแรงงานเด็กและแรงงานบังคับและมาตรการด้านการปล่อยก๊าซเรือนกระจกฯลฯ

– ต้องติดตามมาตรการต่างๆที่แตกต่างกันระหว่างมาตรการระดับประเทศและมาตรการระดับท้องถิ่นหรือมลรัฐ

 

 

สหรัฐอเมริกา:เน้นคุ้มครองผู้ผลิต

 

– เพื่อคุ้มครองผู้ผลิตในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ

– เพื่อรักษาระดับการแข่งขันให้เท่าเทียมกับสินค้าที่นำเข้าจากต่างประเทศที่มีกฎระเบียบหย่อนยานกว่า

– เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันทางการค้าในตลาดต่างประเทศ

สหภาพยุโรป:เน้นด้านความปลอดภัยของผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม

– มีกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับสินค้าหนึ่งมากมายครอบคลุมตั้งแต่วัตถุดิบกระบวนการผลิตผลผลิตและบรรจุภัณฑ์

– เน้นการแวดระวังล่วงหน้าก่อนเกิดปัญหา

– ระบบ Rapid Alert ที่มีการแจ้งเตือนประเทศสมาชิกอย่างรวดเร็วและมีการจัดระดับของความรุนแรงจากการนำเข้าสินค้าจากประเทศใดๆซึ่งจะเป็นข้อมูลสาหรับการส่งออกของไทยในการเตรียมการป้องกันมิให้เกิดปัญหา

จีน:เน้นคุ้มครองผู้ผลิต

 

เลียนแบบกฎระเบียบเหมือนสหภาพยุโรปเช่น WEEE (Waste on Electric and Electronic Equipment) และRoHS (Restrictions on Hazardous Substances)

มาตรการที่ไม่ใช่ภาษีประกอบด้วยอะไรบ้าง

มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-tariff Barriers/Non-tariff Measures) หมายความถึงมาตรการที่มิใช่ภาษีศุลกากร ซึ่งเป็นกฎระเบียบข้อบังคับของภาครัฐบาลที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศได้แก่ มาตรการกึ่งภาษีอากร การควบคุมราคา การควบคุมปริมาณข้อกำหนดในการนำเข้าสินค้าบางชนิด การตรวจสอบคุณภาพสินค้า การตรวจสอบแหล่ง ...

มาตรการที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากรมีลักษณะอย่างไร

มาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษีศุลกากร (NTMs) มักถูกมองว่าเป็นมาตรการกีดกันทางการค้าหรือเป็นอุปสรรคทางการค้าที่ประเทศต่างๆนำมาใช้ เพื่อคุ้มครองผู้ผลิตและผู้บริโภคของตน การติดตามการกำหนดมาตรการ NTMs ในกรอบพหุภาคี ได้เน้นการดูผลจากกระบวนการระงับข้อพิพาททางการค้าต่างๆขององค์การการค้า

NTMs หรือ Non Tariff Measures มีความหมายว่าอย่างไร

๑.๒ มาตรการที่มิใช่ภาษี(Non - Tariff Measures: NTMs) มาตรการที่มิใช่ภาษี (NTMs) หมายถึง มาตรการที่นอกเหนือจากภาษีศุลกากรทั่วไป ซึ่งอาจมีผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อสินค้า ปริมาณการค้าหรือราคาในระบบการค้าระหว่างประเทศ๑๐ ๖ ถือได้ว่าเป็นทั้งแม่บทของกฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศและเครื่องมือเกี่ยวกับการค้าโลก

มาตรการกีดกันทางการค้ามีอะไรบ้าง *

การตั้งกำแพงภาษี เป็นวิธีการที่เคยมีการใช้กันมาโดยตลอด ประเทศต่างๆ มักตั้งภาษีศุลกากรไว้สูง เพื่อกีดกันสินค้าจากต่างประเทศ ภาษีศุลกากรโดยทั่วไปจะมี 2 ลักษณะคือ ... .
การควบคุมสินค้า ... .
การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ... .
การห้ามนำเข้าสินค้าจากบางประเทศ ... .
ให้เงินอุดหนุนอุตสาหกรรมในประเทศ.