หลักการบริหารของ Henri Fayol มีกี่ประการ

�ѹ���������͡�ʾٴ��¡Ѻ���������дѺ�٧ͧ������˹�� �����š����¹�ǤԴ��ҹ��ú����èѴ������������������������Ѻ�������� ���Ѵ��� ������˹�ҧҹ�ͧ��� �������ҧ�š����¹���¹����鹼���֡�֧��ѡ��èѴ��ú����� (Administrative Management) �� Henri Fayol ������֡���������¹ �����ѡ��âͧ��ҹ�繾�鹰ҹ����Ӥѭ㹡�ú����èѴ�����¡������ �ѧ��鹼��֧�͹���ѡ��âͧ��ҹ���š����¹�Ф�Ѻ �¼�����������Ҩҡ˹ѧ��ͪ��� ��èѴ��� �� �.��.�ش� �����Ե �Ҩ�����ШӤ���Ѱ�����ʹ��ʵ�� ʶҺѹ�ѳ�Ե�Ѳ�Һ�������ʵ�� ˹�� 8-9 ��觷�ҹ�繼������ѡ �����þ��Ѻ

 

หลักการบริหารของ Henri Fayol มีกี่ประการ

����Ѻ��ѡ��èѴ��ú�����(Administrative Management) �� Henri Fayol  ��Сͺ���� ��ѡ��� 5 ��С�ôѧ���

1)    ����ҧἹ (Planning)

2)    ��èѴͧ���� (Organizing)

3)    �����觡�� (Commanding)

4)    ��û���ҹ�ҹ (Coordinating)

5)    ��äǺ���(Controlling)

��й͡�ҡ��� Fayol �ѧ�����Ƕ֧��ѡ��÷���Ӥѭ㹡�èѴ��� 14 ��С�� �ѧ����Ѻ

1)    ����觧ҹ�ѹ�ӵ�������ӹҭ (Division of work)

2)    �ӹҨ˹�ҷ�� ��Ф����Ѻ�Դ�ͺ (Authority and responsibility)

3)    ����º�Թ�� (Discipline)

4)    �������͡�Ҿ㹡�úѧ�Ѻ�ѭ��/��觡�� (Unity of command)

5)    ����շ�ȷҧ���ǡѹ㹡�÷ӧҹ (Unity of direction)

6)    �Ż���ª����ǹ�ؤ�����ͧ�ҡ�Ż���ª����ǹ���� (Subordination of individual interest of the general interest)

7)    ������ŵͺ᷹ (Remuneration)

8)    �������ӹҨ (Centralization)

9)    ��¡�úѧ�Ѻ�ѭ�� (Scalar chain)

10)         ����������º (Order)

11)         ���������Ҥ (Equity)

12)         ������蹤�㹧ҹ �������ء����Ңͧ�ҹ�ͧ�ؤ�ҡ�

13)         �����Դ������� (Initiative)

14)         �������Ѥ�� (Esprit de corps)

 

หลักการบริหารของ Henri Fayol มีกี่ประการ

หลักการบริหารของ Henri Fayol มีกี่ประการ

หลักการบริหารของ Henri Fayol มีกี่ประการ

����Ф�Ѻ�����ѡ��þ�鹰ҹ����Ӥѭ���������÷ء�� �ء�дѺ����֡�� ����ҡ��ҹ����֡�� ��й��ǤԴ����ҹ���ҾѲ�ҵ��ͧ���͵���ʹ��鵹�ͧ�觢�� ���������ѡ��ú����âͧ Fayol �һ�Ѻ�� �¤ӹ֧�֧������� ��������ҧ�״���蹵��ʶҹ��ó�������¹�ŧ������С� �Ѻ�ͧ����¤�Ѻ��ҷ�ҹ���繺ؤ�ŷ��ͧ��õ�ͧ��� �����仵��㹢�ǹö���觡���觢ѹ��ؤ�ص��ˡ��� 4.0 ����繼��ӵ�Ǩ�ԧ���§��ԧ���ҧ��͹��Ѻ

            1.4.12 หลักการเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหน่ง (Promotion) หลักการเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหน่งผู้บังคับบัญชาโดยตรงย่อมทราบพฤติกรรมในการทํางานของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ดีกว่าผู้อื่นดังนั้นการพิจารณาให้คุณและโทษแก่ผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของผู้ใดก็ควรให้ผู้นั้นทราบและมีสิทธิ์มีเสียงในการพิจารณาด้วยเพื่อความเป็นธรรมแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาของเขาและ เพื่อเป็นการเสริมสร้างขวัญในการทํางานของบุคคลในองค์การด้วย

หลักการในการบริหารจัดการ (Principles of Management) ตามแนวคิดของ อองริ ฟาโยล ประโยชน์ของทฤษดี POCCC และหลักการจัดการของ อองริ ฟาโยล

ทฤษฏี POCCC และหน้าที่ทางด้านการจัดการ (Management Function)

 

ทฤษฏี POCCC นั้นมาจากหน้าที่ 5 ประการที่ อองริ ฟาโยล กำหนดขึ้นสำหรับการบริหารจัดการองค์กร ในแต่ละหน้าที่นั้นต่างก็มีความสำคัญในตัวเอง ขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงและส่งผลในกันและกัน เพื่อให้การทำงานสมบูรณ์และประสบความสำเร็จอีกด้วย โดยรายละเอียดของหน้าที่ทั้ง 5 ประการ นั้นมีดังนี้

POCCC

P – Planning : การวางแผน

O – Organizing : การจัดองค์กร

C – Commanding : การบังคับบัญชาสั่งการ

C –  Coordination : การประสานงาน

C – Controlling : การควบคุม

 

P – Planning : การวางแผน

การกำหนดแผนปฏิบัติการหรือวิถีทางที่จะปฏิบัติงานไว้ตั้งแต่ต้นจนจบ ให้ครอบคลุมทุกกระบวนการ เป็นแนวทางที่วางไว้สำหรับการทำงานในอนาคตซึ่งการวางแผนนี้จะเกิดขึ้นจากวิสัยทัศน์บวกกับจินตนาการในการบริหารจัดการที่คาดการณ์ล่วงหน้า ซึ่งจะถ่ายทอดออกมาเป็นแผนปฏิบัติการ การทำงานและเป้าหมายที่จะต้องบรรลุสู่ความสำเร็จ

O – Organizing : การจัดองค์กร

การกำหนดตำแหน่งงาน ภาระ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ตลอดจนจำนวนคนให้ครอบคลุมการทำงานครบทุกกระบวนการ รวมถึงการจัดโครงสร้างตำแหน่ง โครงสร้างองค์กร เพื่อจัดลำดับการบริหารและสั่งการด้วย หากองค์กรมีการจัดการองค์กรที่เป็นระบบระเบียบ แบ่งงานชัดเจน ไม่ทับซ้อยมีหน้าที่ครบ มีปริมาณคนพอกับที่ต้องการ ก็ย่อมทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และโอกาสบรรลุผลสำเร็จที่สูง

C – Commanding : การบังคับบัญชาสั่งการ

การจัดองค์กรตลอดจนจัดโครงสร้างการทำงานนั้นจะทำให้เราเห็นสายบังคับบัญชาที่ชัดเจน เห็นลำดับความสำคัญ ตลอดจนอำนาจหน้าที่ในการสั่งการเพราะการทำงานหมู่มากจำเป็ฯต้องมีผู้บังคับบัญชาเพื่อให้การทำงานดำเนินไปได้อย่างราบรื่น มีคนคอยควบคุม สั่งการ ดูภาพรวม ตลอดจนสอดส่องปัญหาเพื่อหาทางแก้ไขให้ไวที่สุด ข้อดีในการมีอำนาจสั่งการอีกอย่างก็คือช่วยให้เกิดการตัดสินใจอย่างทันท่วงที ผู้ที่มีอำนาจการตัดสินใจจะต้องสามารถวิเคราะห์สิ่งต่างๆ ได้อย่างรอบคอบ และตัดสินใจได้เฉียบขาด ว่องไวตลอดจนมีความรับผิดชอบในการตัดสินใจของตนด้วย และผู้บังคับบัญชาที่ดี ยังสามารถที่จะสร้างแรงจูงใจในการทำงาน เข้าใจและเอาใจใส่ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้กำลังใจ รวมถึงอยู่ข้างๆ ในยามที่เกิดวิกฤติ

C – Coordination : การประสานงาน

หมายถึงภาะรหน้าที่ในการเชื่อมโยงงานตลอดจนการปฏิบัติการทุกอย่างรวมไปถึงกำลังคนที่หน่วยให้ทำงานเข้ากันให้ได้ กำกับให้มุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน อำนวยให้เกิดการทำงานที่ราบรื่น เพื่อให้เกิดผลสำเร็จตามที่วางไว้ทุกอย่างหากขาดการประสานงานที่ดีก็อาจทำให้เกิดความล้มเหลวได้ เมื่อมีการแบ่งโครงสร้างตลอดจนมอบหมายงานให้กับแต่ละส่วนชัดเจนและการประสานงานให้เกิดการทำงานที่ดีที่สุดนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะแต่ละส่วนต้องทำงานสอดประสานกันเพื่อผลสำเร็จเดียวกันนั่นเอง การประสานงานที่ดีนั้นจำเป็นจะต้องมีในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับบุคคลต่อบุคคล หัวหน้างานต่อลูกน้อง แผนกต่อแผนก ไปจนถึงผู้บริหารต่อทุกหน่วยงานในองค์กรเช่นกัน

C – Controlling : การควบคุม

การควบคุมในที่นี้หมายถึงการกำกับตลอดจนบริหารจัดการทุกอย่างให้สำเร็จลุล่วงไปตามแผนที่วางไว้ ประครองการดำเนินงานให้เป็นไปตามกรอบที่กำหนด ทั้งในเรื่องของการกรอบเวลา มาตรฐานการปฏิบัติการ ขั้นตอนการทำงาน ไปจนถึงการประสานงานทุกฝ่ายให้เกิดความราบรื่น การควบคุมนี้ยังรวมไปถึงการบริหารที่ไม่ใช่ทรัพยกรบุคคลอีกด้วย แต่รวมถึงทรัพยากรที่เป็นวัตถุดิบ เครื่องจักร ผลผลิตที่ได้ ตลอดจนงบประมาณในการดำเนินงานทั้งหมดด้วย เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิาภาพที่สุด

หลักในการบริหารจัดการ (Principles of Management) ตามแนวคคิดของ อองริ ฟาโยล

อย่างที่ทราบกันไปแล้วว่า อองริ ฟาโยล ได้นำเอาประสบการณ์การบริหารจัดการของตนมาสร้างเป็นหลักในการบริหารจัดการ 14 ประการ ที่ก่อให้เกิดความสำเร็จขององค์กร ซึ่งหลักการนี้ยังได้รับการยกย่องและใช้กันมาจนถึงทุกวันนี้ โดยหลักการจัดการทั้ง 14 ประการนั้นมีรายละเอียดดังนี้

  • การแบ่งหน้าที่และการทำงาน (Division of Work) การวางโครงสร้างองค์กรตลอดจนการทำงานจะทำให้เราเห็นหน้าที่และการทำงานของแต่ละคนในองค์กรได้ชัดเจน นั่นนำมาซึ่งการแบ่งงานให้ส่วนต่างๆ ทำได้อย่างครบถ้วนอีกด้วย การแบ่งงานกันทำนั้นควรแบ่งตามทักษะและความชำนาญของแต่ละคน เพื่อให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
  • อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority & Responsibiity) การปฏิบัติงานที่ดีเมื่อได้รับอำนาจหน้าที่ในการทำงานแล้วต้องมีความรับผิดชอบต่องานที่ทำด้วย การตัดสินใจ อออกคำสั่ง บริหารจัดการ จะต้องสามารถรับผิดชอบต่อการกระทำของตนตามอำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
  • ระเบียบวินัย (Discipline) การทำงานหมู่มากนั้นจำเป็นจะต้องมีระเบียบววินัยในการทำงานหากทุกคน ทุกตำแหน่ง ทำงานอย่งามีระเบียบวินัย นอกจากจะไม่ก่อให้เกิดปัญหาใดๆ แล้วยังทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ประสบผลสำเร็จได้อย่างง่ายดาย ระเบียบวินัยนั้นเป็นกรอบข้อตกลงนการปฏิบัติร่วมกัน เคารพเชื่อฟัง ให้เกียรติิซึ่งกันและกัน และทำงานตามที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด ระเบียบวินัยควรบังคับจากบนลงล่าง มีหลักการที่ชัดเจน และมีบทลงโทษไว้รองรับผู้ที่ฝ่าฝืนด้วย แต่ก็ควรลงโทษตามเหตุผลตลอดจนมีมีความเป็นธรรมระเบียบวินัยยังหมายถึงการทำงานร่วมกันอย่างตรงไปตรงมา ชัดเจน ไม่ออกนอกลู่นอกทาง ไม่หลบหลีกเพื่อเอื้อประโยชน์ฝ่ายใด ผู้บังคับบัญชาควรปฏิบัติตามระเบียบวินัยให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วย
  • เอกภาพแห่งการบังคับบัญชา (Unity of Command) 
    การมีหัวหน้าหือผู้บังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพที่สุดนั้นจำเป็นจะต้องมีเพียงคนเดียวเพื่อมีอำนาจเด็ดขาดในการสั่งการ และส่งผลให้การตัดสินใจสามารถทำให้ปฏิบัติการได้อย่างทันท่วงที การมีผู้บังคับบัญชาหลายคนนั้นจะทำให้เกิดการสับสนใจการสั่งการไปจนถึงการปฏิบัติงาน และอาจทำให้เกิดการตัดใจที่ช้าได้เนื่องจากรอมติสรุปอีกครั้ง การมีผู้บังคับบัญชาหลายคนยังอาจทำให้เกิดการขัดแย้งได้ง่ายอีกด้วย ทั้งความขัดแย้งในการทำงาน และความขัดแย้งระหว่างผู้บังคับบัญชาเอง
  • เอกภาพของทิศทางการดำเนินงาน (Unity of Direction)
    การทำงานควรมีแผนงานหลักเพียงแผนงานเดียว อาจมีแผนสำรองไว้รองรับแต่ก็ควรยึดตามแผนงานหลักเป็นอับดับแรกก่อน ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนใจการทำงาน มีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน แล้วการทำงานที่เป็นกลุ่ม หน่วยงาน หรือแม้แต่องค์กร สิ่งสำคัญคือการมีเป้าหมายร่วมกันการมีจุดมุ่งหมายร่วมกันนั้นจะทำให้ทุกคนเห็นแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจนมีหลักยึด มีเส้นทางเดินที่ไปสู่ทิศทางเดียวกัน และมีแรงผลักดันร่วมกันในการก้าวไปสู่จุดหมาย ทำให้แผนงานประสบผลสำเร็๗ได้ง่ายและมีพลัง
  • ผลประโยชน์ส่วนบุคคลเป็นรองกว่าประโยชน์ส่วนรวม (Subordination of Individual Interset)
    คุณธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ควรยึดถือในการทำงาน ควรยีดถือเป็นประโยชน์ขององค์กรประโยชน์ของส่วนรวม มาก่อนประโยชน์ส่วนตัว ทั้งนี้ควรอยู่บนบรรทัดฐานแห่งความยุติธรรม ความถูกต้อง ความเหมาะสมดว้ย หลักบริหารข้อนี้สอดคล้องกับคำกล่าวของอริสโตเติลที่ว่า ส่วนรวมคือผลรวมจากส่วนย่อย (the whole is the sum of its parts) บุคคลแต่ละคนจึงควรยอมรับว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่ใหญ่กว่า หากส่วนรวมอยู่ไม่ได้ตัวเขาก็อยู่ไม่ได้เช่นกััน
  • การให้ผลประโยชน์ตลอดจนค่าตอบแทน (Remuneration)
    แน่นอนว่าการทำงานนั้นย่อมีมการจ้างงาน องค์กรควรมีการคำนวนผลตอบแทนที่เหมาะสม ยุติธรรม ไม่เอาเปรียบ ที่สำคัญต้องได้รับความเห็นชอบตลอดจนพึงพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่ายระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง การให้ผลประโยชน์ตอบแทนยังควรปรับเปลี่ยนตามสถาน์ที่เหมาะสมอีกด้วยอย่างกรณีที่องค์กรสามารถประกอบการได้ผลกำไรที่มากขึ้น ก็ควรปันผลตอบแทนให้ลูกจ้างมากขึ้นตาม เป็นต้น ในส่วนของเรื่องค่าตอบแทนนั้นอาจไม่ใช่การจ่ายในรูปแบบเงินเสมอไป ยังรวมถึงค่าตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ อาทิ ของรางวัล สวัสดิการ ผลประโยชน์รูปแบบอื่น การฝึกอบรม ตลอดจนการยกย่องเชิดชูซึ่งสามารถสร้างความพอใจให้พนักงานได้อีกด้วย
  • สมดุลของการรวมและกระจายอำนาจ (The Degree of Centralization)
    การรวมอำนาจไว้ศูนย์กลางนั้นจะง่ายต่อการควบคุม สั่งการ และทันท่วงที ตัดสินใจได้ฉับไว ศูนย์รวมอำนาจความเป็นจุดเดียวและอาจมีการกระจายอำนาจลดหลั่นไปยังส่วนต่างๆ แต่ต้องมีลำดับความสำคัญที่แตกต่างและมีอำนาจที่แตกต่างกันด้วย เพื่อการควบคุมที่เป็นระบบและง่ายต่อการปฏิบัติงาน
  • สายการบังคับบัญชา (Scalar Chain)
    การวางสายงานจะทำให้เราเห็นอำนาจการบังคับบัญชา ตลอดจนระดับขั้นของการบริหารงานอย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดความลื่นไหลตลอดจนกระบวนการทำงานที่เป็นระบบระเบียบ บริหารจัดการได้ง่าย แก้ไขปัญหาได้ว่องไวตรงจุด ทั้งยังช่วยให้เกิดระเบียบในการสื่อสาร การส่งต่อข้อมูล รวมถึงการจัดการเนื้อหาของการสื่อสารให้เหมาะสมได้อีกด้วย
  • ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความพร้อมในการทำงาน (Order)
    ทุกอย่างหากอยู่ในความเป็นระเบียบเรียบร้อยก็จะทำให้การทำงานมีประสิทธิาภพ บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้ได้สะดวกและง่ายดายขึ้น บริหารจัดการได้อย่างไม่ติดขัด และดำเนินตามมาตรฐานได้อย่างราบรื่น ทุกคนควรเคารพระเบียบวินัยขององค์กรและปฏิบัติให้เกิดความเรียบร้อยเหมาะสม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยนี้ยังสะท้อนถึงความรับผิดชอบอย่างรอบด้าน ไม่สะเพราะ เอาใจใส่ ตลอดจนใส่ใจรายละเอียดในการทำงานอีกด้วย ซึ่งนั่นจะทำให้ผลงานออกมาดี และส่งเสริมให้องค์กรประสบความสำเร็จ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยนี้ยังหมายถึงเรื่องสถานที่ทำงาน สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการจัดระเบียบทั้งอค์งกร ให้มีความพร้อม สะอาด น่าทำงาน และอำนวนความสะดวกให้เหมาะสมด้วย
  • ความเสมอภาค (Equity)
    องค์กรควรให้ความสำคัญกับความเสมอภาค ในที่นี้หมายถึงความเสมอภาคในฐานนะที่เป็นมนุนษ์เฉกเช่นเดียวกันควรได้รับสิทธิและการปฏิบัติที่มีมนุษยธรรม ไม่กดขี่ ข่มแหง รังแก หรือทำร้ายให้เกิดความเสียหายใดๆ ควรมีความเอื้ออารีย์ต่อกัน เห็นอกเห็นใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความซื้อสัตย์ ยุติธรรม ไม่เอาเปรียบซึ่งกันและกัน
  • เสถียรภาพในการทำงาน (Stability of Tenure of Personnel)
    การทำงานที่มีเสถียรภาพจะทำให้พนักงานอุ่นในใจการทำงาน ไม่กัวง และเต็มที่กับการทำงาน หากองค์กรเอื้ออำนาจให้เกิดการย้านงานที่ง่าย หรือองค์กรไม่มีมาตรฐานในการทำงานที่ชัดเจนที่มีผลทำให้พนักงานต้องออกจากงาน การเปลี่ยนแปลงรูปแบบนี้ย่อมส่งผลเสียต่อการทำงานได้เช่นกัน เมื่อพนักงานขาดเสถียรภาพในการทำงานก็ย่อมทำให้องค์กรไม่มีเสถียรภาพตามไปด้วย นอกจากจะทำให้การทำงานสะดุดไม่ราบรื่นแล้วยังลดความน่าเชื่อถือขององค์กรได้อีกต่างหาก สิ่งที่องค์กรควรบริหารจัดการก็คือทำให้พนักงานรู้สึกว่ามีความมั่นคงในการทำงาน เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน และมีความสุขกับการทำงานรวมถึงให้ค่าตอบแทยที่เหมาะสม เพื่อลดอัตราการเข้าออกของพนักงานให้ต่ำลง และสร้างเสถียรภาพให้เกิดขึ้นกับองค์กรได้
  • เสรีภาพในการนำเสนอสิ่งใหม่ (Initiative)
    พนักงานควรมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและนำเสนอสิ่งใหม่ๆ ซึ่งจะก่อให้เกิดอุปนิสัยคิดริเริ่มอันเป็นพื้นฐานที่ดีของการทำงานไม่ว่าลักษณะใดหรือสายอาชีพใดก็ตาม ซึ่งนี่คือจุดแข็งขององค์กรได้เลยทีเดียว องค์กรควรส่งเสริมให้มีการแสดงออก เปิดโอกาสให้พนักงานได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนเสนอแนวคิดใหม่ ๆ รวมถึงเสนอแนะด้านการทำงาน ปัญหาที่พบ ตลอดจนแนวทางที่ควรแก้ไขปรับปรุง นั่นยังจะทำให้พนักงานได้เสนอแนวความคิดเห็นขององค์กรด้วย และการเปิดโอกาสให้พนังกานได้เสนอแนวความคิดใหม่ๆ อาจทำให้องค์กรได้วีธีการปฏิบัติงานใหม่ๆ คบอดจนเป็นแนวทางให้การผลิตผลผลิตใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กรขึ้นได้เช่นกัน
  • ความเข้าใจและการไว้วางใจซึ่งกันและกัน (Esprit de Corps)
    หลักการบริหารข้อนี้นำมาจากหลักการการทหารของกองทัพฝรั่งเศสที่แปลความได้ว่า “สามัคคีคือพลัง” นั่นเอง องค์กรควรทำงานอย่างสอดประสานกันด้วยดี เพื่อผลลัพธ์ขององค์กรที่ยอดเยี่มที่สุด พนักงานทุกคนต้องทำงานอย่างเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกัน และมีความเป็นทีม ร่วมแรงร่วมใจกันทำงาน ตลอดจนรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้ก้าวไปสู่จุดที่ประสบความสำเร็จร่วมกัน

ประโยชน์ของทฤษฏี POCCC และหลักการจัดการของ อองริ ฟาโยล

อองริ ฟาโยล ได้คิดค้นทฤษฏี POCCC และกำหนดหลักการบริหารจัดการไว้เป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติการซึ่งจะเป็นประโยชน์ฝ่ายบริหารตลอดจนผู้จัดการในการจัดการบริหารองค์กรเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันหลักการนี้ก็สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมได้ตามลักษณะองค์กรอีกด้วย ทำให้การบริหารจัดการเป็นระบบ ระเบียบ และปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้องค์กรมีศักยภาพ และประกอบกิจการได้อย่างประสบความเสร็จได้เป็นอย่างดี หลัการต่างๆ ของอองริ ฟาโยล ยังเป็นแกนยึดที่สำคัญที่ครอบคลุมรายละเอียดทุกกระบวนการและภาพรวมทั้งองค์กรเพราะส่งเสริมสนับสนุนให้ใส่ใจตั้งแต่เรื่องของการวางแผน,การปฏิบัติ,การให้อำนาจการจัดสรรกำลังคน,การสร้างความยุติธรรม,การส่งเสริมให้มีความคิดริเริ่ม, ไปจนกระทั่งการดูแลเรื่องอัตราจ้างที่เหมาะสม ซึ่งเป็นการบริหารจัดการที่ครบองค์ ครบกระบวนการ และทุกคนทุกฝ่ายได้รับผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกันหมด สิ่งสำคัญอีกอย่างของหลักการต่างๆ ของ อองริ ฟาโยล นั้นก็คือการไม่ได้มุ่งเน้นเฉาะการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลเพียงอย่างเดียว แต่ยังมุ่งเน้นไปยังการบริหารจัดการทรัพยากรอื่นๆ ที่ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตอีกด้วย ตลอดจนการบริหารจัดการสถานที่ และระบบระเบียบการทำงานให้เหมาะสม ซึ่งทำให้การบริหารจัดการองค์รวมขององค์กรประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม