ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง

- ข้อเสียของสายอาชีพ  คือ มีข้อจำกัดในการเรียนต่อมหาวิทยาลัยในบางสาขาวิชาหรือบางคณะ เช่น คณะสัตวแพทย์ฯ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขฯ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ ทั้งหมดนี้สายอาชีพไม่สามารถสมัครเรียนต่อได้

สาขาการออกแบบกราฟิก เป็นหลักสูตรที่เน้นศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบงานกราฟิกเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการสื่อสารและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ทั้งในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อดิจิทัล ได้แก่ การออกแบบโปสเตอร์ การออกแบบโลโก้การออกแบบภาพลักษณ์สำหรับองค์กรการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Design) และการออกแบบกราฟิกสำหรับเว็บไซต์ รวมไปถึงเรียนรู้การออกแบบงานกราฟิกเพื่อใช้ในการสื่อสารการโฆษณาประชาสัมพันธ์

บทความงาน > บทความนักศึกษาจบใหม่ > เรียนต่อสายอาชีพ มีสาขาอะไรบ้าง เลือกอย่างไรให้ตรงใจ

เรียนต่อสายอาชีพ มีสาขาอะไรบ้าง เลือกอย่างไรให้ตรงใจ

  • 23 April 2021

ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง
ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง
ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง
ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง
ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง
ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง
ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง

           เรียนต่อสายอาชีพ ทางเลือกที่กำลังมาแรงสำหรับน้อง ๆ ที่จบม. 3 และกำลังตัดสินใจเส้นทางการเรียนต่อ เพราะนอกจากผู้จบการศึกษาจากการ  เรียนต่อสายอาชีพ จะเป็นที่ต้องการของตลาดงานอย่างสูงแล้ว หลักสูตรสายอาชีพยังถูกออกแบบมาให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนจริงและลงมือปฏิบัติจริง เพื่อมีประสบการณ์ทำงานจริง รวมไปถึงสาขาวิชาที่มีความเฉพาะเจาะจง เป็นสายตรงของอาชีพ สมชื่อสายอาชีพ และยังมีสาขาให้เลือกหลากหลาย ซึ่งแต่ละสาขาก็จะมีวิชาเรียนไม่เหมือนกัน เพื่อสร้างความเชี่ยวชาญให้ผู้เรียน และเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนและความต้องการของตลาดงานในยุคปัจจุบัน

ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง

           มาทำความรู้จักสาขาของสายอาชีพกันดีกว่า ว่ามีสาขาอะไรให้เลือกเรียนบ้าง

  1. อุตสาหกรรม
  • สาขาวิชาเครื่องกล แบ่งออกเป็น สาขางานยานยนต์ เครื่องกลอุตสาหกรรม เครื่องกลเรือ เครื่องกลเกษตร  ตัวถังและสีรถยนต์
  • สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง แบ่งออกเป็น สาขางานเครื่องมือกล ซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล เขียนแบบเครื่องกล ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเกษตร แม่พิมพ์พลาสติก แม่พิมพ์โลหะ
  • สาขาวิชาโลหะการ แบ่งออกเป็น สาขางานเชื่อมโลหะ อุตสาหกรรมต่อตัวถังรถโดยสาร
  • สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แบ่งออกเป็น สาขางานไฟฟ้ากำลัง อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม เมคคาทรอนิกส์ เทคนิคคอมพิวเตอร์
  • สาขาวิชาการก่อสร้าง แบ่งออกเป็น สาขางานก่อสร้าง โยธา สถาปัตยกรรม เครื่องเรือนและการตกแต่งภายใน สำรวจ
  • สาขาวิชาการพิมพ์ แบ่งออกเป็น สาขางานการพิมพ์
  • สาขาวิชาแว่นตาและเลนส์ แบ่งออกเป็น สาขางานแว่นตาและเลนส์
  • สาขาวิชาการต่อเรือ แบ่งออกเป็น สาขางานต่อเรือโลหะ ต่อเรือไม้ ต่อเรือไฟเบอร์กล๊าส นาวาสถาปัตย์ ซ่อมบำรุงเรือ
  • สาขาวิชาผลิตภัณฑ์ยาง แบ่งออกเป็น สาขางานผลิตภัณฑ์ยา

อาชีพตอนเรียนจบ : งานด้านเครื่องกล เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง โลหะ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การก่อสร้าง สิ่งพิมพ์ แว่นตาและเลนส์ การต่อเรือ ผลิตภัณฑ์ยาง

 

  1. พาณิชยกรรม บริหารธุรกิจ
  • สาขาวิชาพณิชยการ แบ่งออกเป็น สาขางานการบัญชี การขาย การเลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจสถานพยาบาล การประชาสัมพันธ์ ภาษาต่างประเทศ งานสำนักงานสำหรับผู้พิการทางสายตา
  • สาขาวิชาธุรกิจบริการ แบ่งออกเป็น สาขางานการจัดการความปลอดภัย การจัดการความสะอาด

อาชีพตอนเรียนจบ : งานการบัญชี การขาย เลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ธุรกิจค้าปลีก การประชาสัมพันธ์ งานจัดการ

 

  1. ศิลปกรรม
  • สาขาวิชาศิลปกรรม แบ่งออกเป็น สาขางาน วิจิตรศิลป์ การออกแบบ ศิลปหัตถกรรม อุตสาหกรรมเครื่องหนัง เครื่องเคลือบดินเผา เทคโนโลยีการถ่ายภาพฯ เครื่องประดับอัญมณี ช่างทองหลวง เทคโนโลยีศิลปกรรม การพิมพ์สกรีน คอมพิวเตอร์กราฟิก ศิลปหัตถกรรมโลหะ รูปพรรณและเครื่องประดับ ดนตรีสากล เทคโนโลยีนิเทศศิลป์ ช่างทันตกรรม

อาชีพตอนเรียนจบ : งานวิจิตรศิลป์ การออกแบบ ศิลปหัตกรรม เครื่องเคลือบดินเผา เทคโนโลยีการถ่ายภาพ เครื่องประดับอัญมณี ช่างทองหลวง เทคโนโลยีศิลปกรรมการพิมพ์สกรีน คอมพิวเตอร์กราฟิก ศิลปหัตกรรมโลหะ รูปพรรณและเครื่องประดับ เทคโนโลยีนิเทศศิลป์

 

  1. คหกรรม
  • สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย แบ่งออกเป็น สาขางาน ผลิตและตกแต่งสิ่งทอ ออกแบบเสื้อผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า อุตสาหกรรมเสื้อผ้า ธุรกิจเสื้อผ้า
  • สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ แบ่งออกเป็น สาขางาน อาหารและโภชนาการ แปรรูปอาหาร ธุรกิจอาหาร
  • สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น สาขางาน คหกรรมการผลิต คหกรรมการบริการ ธุรกิจคหกรรม คหกรรมเพื่อการโรงแรม
  • สาขาวิชาเสริมสวย แบ่งออกเป็น สาขางาน เสริมสวย

อาชีพตอนเรียนจบ : งานผ้าและเครื่องแต่งกาย อาหารและโภชนาการ เสริมสวย

 

  1. เกษตรกรรม
  • สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ แบ่งออกเป็น สาขางาน พืชศาสตร์ สัตวศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร ช่างเกษตร เกษตรทั่วไป การประมง

อาชีพตอนเรียนจบ : งานด้านพืช – สัตว์ อุตสาหกรรมเกษตร ช่างเกษตร เกษตรทั่วไป

 

  1. ประมง
  • สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ แบ่งออกเป็น สาขางาน เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
  • สาขาวิชาแปรรูปสัตว์น้ำ แบ่งออกเป็น สาขางาน แปรรูปสัตว์น้ำ การผลิตซูริมิและผลิตภัณฑ์
  • สาขาวิชาประมงทะเล แบ่งออกเป็น สาขางาน ประมงทะเล

อาชีพตอนเรียนจบ : การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ แปรรูป สัตว์น้ำ ประมงทะเล

 

  1. อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
  • สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว แบ่งออกเป็น สาขางาน การโรงแรม การท่องเที่ยว

อาชีพตอนเรียนจบ : การโรงแรมและการท่องเที่ยว

 

  1. อุตสาหกรรมสิ่งทอ
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ แบ่งออกเป็น สาขางาน เทคโนโลยีสิ่งทอ
  • สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ แบ่งออกเป็น สาขางาน เคมีสิ่งทอ
  • สาขาวิชาอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป แบ่งออกเป็น สาขางานอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป

อาชีพตอนเรียนจบ : เทคโนโลยีสิ่งทอ เคมีสิ่งทอ อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป

 

  1. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ แบ่งออกเป็น สาขางาน เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบเสียง แบ่งออกเป็น สาขางาน เทคโนโลยีระบบเสียง

อาชีพตอนเรียนจบ : เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีระบบเสียง

 

           จุดเด่นของการเรียนสายอาชีพ

           นอกจากจุดเด่นด้านความเฉพาะเจาะจงของวิชาเรียนที่เน้นให้ทำงานเป็นจริง ๆ ได้ใช้อุปกรณ์จริง อย่างเช่น คอมพิวเตอร์ ที่ถ้าได้เรียนซ่อมคอม ก็จะได้แกะเครื่องคอมพิวเตอร์จริง ๆ หรือการเรียนเครื่องกล เครื่องจักรต่าง ๆ ก็จะได้จับเครื่องจักร เครื่องมือจริง ๆ ที่ใช้ทำงานด้วย เรียกได้ว่าในห้องเรียนมีอุปกรณ์เหมือนกับห้องทำงานจริง ๆ เลยก็ว่าได้ และยังรวมไปถึงความนิยมจากตลาดงานที่พร้อมอ้าแขนรับบุคลากรวิชาชีพที่มีทักษะเชี่ยวชาญจากการเรียนจบสายอาชีพมา

           ระหว่างที่เรียนสายอาชีพอยู่ คุณยังมีโอกาสได้ทำงานจริง ๆ พร้อมกับได้มีรายได้จริง ๆ จากการทำงานพาร์ทไทม์ระหว่างเรียนไปด้วย และยังได้สร้างเสริมประสบการณ์ทำงาน ความรู้และทักษะความชำนาญ ไปพร้อม ๆ กับการเรียนที่เน้นการปฏิบัติจริงของสายอาชีพ เรียกได้ว่าให้โอกาสคุณได้มีประสบการณ์การใช้ชีวิตผ่านการทำงานจริงในระหว่างเรียน ฝึกความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่ที่ทำงานแล้ว และยังช่วยเพิ่มโอกาสในการได้งานจริงหลังเรียนจบให้มากขึ้นกว่าเดิมด้วย

           เรื่องระยะเวลาของหลักสูตรก็เป็นอีกหนึ่งจุดเด่นที่น่าสนใจ เพราะถ้าเรียน ปวช. (หลักสูตร 3 ปี) ต่อ ปวส. ซึ่งเป็นหลักสูตร 2 ปี ก็จะทำให้คุณสามารถมีวุฒิออกมาหางานทำได้เร็วกว่าคนที่เรียนสายสามัญ 2 – 4 ปีเลย แต่ถ้าใครเปลี่ยนใจอยากได้วุฒิป.ตรีด้วย ก็สามารถทำได้โดยที่ไม่ต้องเสียเวลา เพราะสามารถเทียบโอนหลังจากจบ ปวส. เพื่อมาเรียนต่อหลักสูตรปริญญาตรีอีก 2 ปี ก็จะได้วุฒิ ป.ตรี เหมือนกับคนที่เรียนสายสามัญแล้ว

           ถ้ารู้ความชอบของตัวเองชัดเจน รู้แล้วว่าตัวเองอยากทำอาชีพอะไรในอนาคต การเลือกเรียนสายอาชีพที่ใช่ ก็เป็นอีกทางเลือกที่จะช่วยติดจรวดให้กับเส้นทางอาชีพของคุณได้เลย

           สนใจหางานเฉพาะทาง งานสายอาชีพ งานที่ต้องการทักษะความเชี่ยวชาญสูง งานโรงงาน มาค้นหางานกับเราได้ที่แอปพลิเคชัน JobsDB แอปหางานที่มีงานทุกตำแหน่งให้คุณได้เลือกสมัคร

ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ทั้ง iOS และ Android

ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง

เลือกงานที่ใช่ ใช้ชีวิตที่ชอบ ด้วยการค้นหางานที่ง่ายและรวดเร็ว พร้อมทั้งจัดการเรซูเม่อย่างมีประสิทธิภาพ ให้คุณอัปโหลด ดู และลบได้ทุกเมื่อที่ต้องการ เพลิดเพลินไปกับประสบการณ์การใช้งานแสนง่าย ด้วยระบบ AI ใหม่ ช่วยค้นหางานที่ตรงใจมากขึ้นถึง 6 เท่า​

คำถามสู่ความสำเร็จในอนาคต: เด็กรุ่นใหม่ เรียนสายอาชีพดีไหม ?
Checklists สิ่งที่ควรเตรียมตัวก่อน เลือกเรียนสายอาชีพ  
เรียนต่อ ปวส. และ เรียนต่อปริญญาตรี ทางเลือกไหนที่ใช่สำหรับเรา

งานสายอาชีพ  ปวช.  เรียนสายอาชีพ

บทความยอดนิยม

ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง

ตำแหน่ง Data Engineer คืออะไร? ต้องทำอะไรบ้าง

ยุคที่สายงานด้าน Tech เติบโตอย่างรุ่งเรืองแบบก้าวกระโดด จะเห็นได้ว่ามีชื่อตำแหน่งงานใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเกิด...

ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง

ประกาศรายชื่อผู้ได้รับรางวัล จากการทำแบบสำรวจความคิดเห็นของท่านที่มีต่อแบรนด์ JobsDB

ผู้ได้รับรางวัล Starbucks Card มูลค่า 400 บาท อันดับที่ 1-100     ลำดับที่ 1-50 ชื่อ-สกุล ลำดับที่......

ป ว ช คอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อคณะอะไรได้บ้าง

ทำไมบริษัทเทคต้องสนใจเรื่อง Sustainability

ช่วงหลังมานี้หลายคนคงได้ยิน หรือเริ่มตระหนักรู้เกี่ยวกับเรื่องความยั่งยืน หรือ Sustainability กันมากขึ้น ด้วยความที่สิ่ง...

เรียนคอมพิวเตอร์กราฟฟิกทํางานอะไรได้บ้าง

เมื่อจบไปแล้วสามารถทำงานได้หลายอย่าง เช่น Illustrator, Computer Graphics Designer, Web Interface Designer, Digital Designer, Graphics Artist, Computer Animator, Model Maker, Photographer, Picture Editor, New Media Developer, Flim and Video Producer, Editor, Artist, Creative Director, Videographer เป็นต้น

จบปวช ต่อคณะอะไรได้บ้าง

คณะที่น่าสนใจในระดับมหาวิทยาลัย ที่ต่อยอดจากหลักสูตรสายอาชีพได้.
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์.
คณะวิศวกรรมศาสตร์.
คณะการโรงแรมและการท่องเที่ยว.
คณะมนุษยศาสตร์.
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี.
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ.
คณะอุตสาหกรรม.
คณะเกษตรกรรม.

คอมพิวเตอร์กราฟิก ต้องเก่งอะไร

ทักษะพื้นฐานทางด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก การประยุกต์ใช้ศิลปะสมัยใหม่ ในการออกแบบและสร้างสรรค์ผลงานทางด้านกราฟิกดีไซน์ การพัฒนาเว็บไซต์ การออกแบบสื่อมัลติมีเดีย 2 มิติ และ 3 มิติ

ดิจิทัลกราฟิก ทํางานอะไร

อาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา นักออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ นักออกแบบสื่อสร้างสรรค์ประเภทต่างๆ ผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะการออกแบบด้วยรูปภาพ