ทัศน ศิลป์ กับ วัฒนธรรม 4 ภาค

ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้

ความเเตกต่างทางศิลปะระหว่างภาคเหนือเเละภาคใต้ เช่นด้่านสถาปัตยกรรม ปติมากรรม
the difference art in difference region

ทัศน ศิลป์ กับ วัฒนธรรม 4 ภาค

ความเเตกต่างทางศิลปะระหว่างภาคเหนือเเละภาคใต้ เช่นด้่านสถาปัตยกรรม ปติมากรรม
the difference art in difference region

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การศึกษาลักษณะสำคัญของงานทัศนศิลป์ในแต่ละภูมิภาคของไทย รวมถึงลักษณะบ้านเรือนไทยในแต่ละภูมิภาค มีความสำคัญต่อการพัฒนาความรู้ด้านศิลปะของนักเรียน ทำให้สามารถพิจารณารายละเอียดที่แตกต่างกันในแต่ละภาค โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องทัศนศิลป์ท้องถิ่นไทย เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้และเห็นคุณค่าของงานศิลปะในแต่ละภาคของไทยมากยิ่งขึ้น

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

ศ 1.2 ม. 1/2 ระบุ และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย

จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้

1.  นักเรียนสามารถระบุงานศิลปะในท้องถิ่นของตนเองได้

2.  นักเรียนสามารถเปรียบเทียบงานศิลปะแต่ละภาคของไทยได้

3.  นักเรียนเห็นคุณค่าของงานศิลปะในแต่ละภาคของไทย

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 

              1.  มีวินัย

              2.  ใฝ่เรียนรู้

              3.  รักความเป็นไทย

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ

1. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. การประเมินสมรรถนะหลักที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

เครื่องมือ
1. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. แบบประเมินสมรรถนะหลักที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

บทน�ำ

เนอ้ื หาเกีย่ วกบั ทศั นศลิ ป์ท้งั 4 ภาค
ประกอบไปดว้ ย งานจิตรกรร สถาปตั ยกรรม และประติมากรรม
ทง้ั สี่ภาคทัง้ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ และภาคกลาง

งานทศั นศิลป์แต่ละภาคมีกล่นิ อายของ เพ่ือให้คนร่นุ หลังได้ศึกษา รปู แบบงาน

ความเป็นทอ้ งถ่นิ ผสมอยดู่ ้วย จติ รกรรมในสมัยก่อน หรือ รปู แบบ

เพ่ืออนุรักษ์ และใหค้ วามส�ำ คัญกบั งาน สถาปัตยกรรมที่ยังคงมีเหน็ น้อย เพราะ

ทศั นศิลปภ์ าคกลาง ภาคเหนอื ภาค ชำ�รุดเสียหาย งานสถาปัตยกรรมยงั เหน็

อสี าน และภาคใต้ คนในทอ้ งถน่ิ บา้ งทำ� ไดม้ าก มกี ารบูรณะซ่อมแซม เพื่อไมใ่ ห้

เพ่ือเป็นอาชีพ และความจรรโลงใจ บาง สิ่งเหลา่ นจี้ างหายไปจากทอ้ งถิ่น

สง่ิ ทรดุ โทรมและชำ�รดุ เสยี หาย เชน่ งาน

จิตรกรรมฝาผนังมกี ารบรู ณะ

สารบญั

ภาคกลาง 01 ภาคเหนอื 12

ประติมากรรม จิตรกรรม
ประเภทของงานประตมิ ากรรม
จิตรกรรม จติ กรรมฝาผนังวดั บวกครกหลวง
จิตรกรรมไทยแบบประเพณี
สถาปตั ยกรรมไทย จติ รกรรมวัดภูมินทร์
เรอื นไทยภาคกลาง
เรอื นเดย่ี ว ประติมากรรม
เรือนหมู่
เรอื นหมคู่ หบดี ประติมากรรมวดั มอญหรภิ ุญชยั
เรอื นแพ
ประติมากรรมเจดยี ์กูก่ ดุ่

สถาปัตยกรรม

วดั โพธาราม

หอไตรวัดสิงห์

ภาคอีสาน 17 ภาคใต้ 27

จิตรกรรม จงานประตมิ ากรรม
ฮูปแต้ม วดั บ้านยาง ประตมิ ากรรมเจาพระนารายณ์
สถาปัตยกรรมภาคอสี าน จิตรกรรม
ปราสาทพนมรุ้ง จติ รกรรมฝาผนังวดั พระเบกิ
เมอื งโบราณนครจ�ำ ปาศรี งานสถาปตั ยกรรม
พระธาตพุ นม ลกั ษณะเด่นของบ้านเรือน
ประติมากรรมอีสาน ลักษณะงานสาุ ปตั ยกรรม
ธาตุอสี าน
พระไมอ้ สี าน
ความเปน็ มาของพระไม้
ความเชือ่ เกีย่ วกับการทำ�พระไม้

01

ภาคกลาง

■ ประตมิ ากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปตั ยกรรม

ประตมิ ากรรม

เป็นงานศลิ ปะแสดงออกด้วยการป้ ัน แกะสลัก หล่อ
และการจดั องคป์ ระกอบความงามอ่นื ลงบนสื่อต่าง ๆ
เชน่ ไม้ หนิ โลหะ สมั ฤทธิ์ ฯลฯ
เพ่ือให้เกดิ รปู ทรง 3 มติ ิ มคี วามลึกหรอื นนู หนา
สามารถส่อื ถึงสง่ิ ตา่ ง ๆ สภาพสังคม วฒั นธรรม
รวมถงึ จติ ใจของมนษุ ย์โดยชน้ิ งาน ผา่ นการสร้างของ
ประติมากร ประตมิ ากรรมเป็นแขนงหนึง่ ของทัศนศิลป์

ผู้ทำ�งานประตมิ ากรรม เรยี กว่า ประติมากร

งานประติมากรรมท่เี กีย่ วกบั ศาสนามกั สะกดใหแ้ ตก
ต่างออกไปวา่ ปฏมิ ากรรม
ผูท้ สี่ ร้างงานปฏมิ ากรรม เรียกว่า ปฏิมากร

ความงามของงานประตมิ ากรรม
เกิดจากการแสงและเงา ทเ่ี กิดขึ้นในผลงานการสรา้ ง
งานประตมิ ากรรมท�ำ ได้ 4 วธิ ี

02

3. การหล่อ (Molding) 1. การป้ ัน (Casting)
เป็นการสรา้ งรปู ทราง 3 มติ ิ เป็นการสร้างรปู ทรง 3 มติ ิ จากวสั ดุ
จากวัสดุที่หลอมตัวและกลับแข็ง ตัว ทเี หนียว อ่อนตวั และยดึ จับตวั กนั
ได้ โดยอาศัยแมพ่ ิมพ์ ซึง่ ท�ำ ใหเ้ กิด ได้ดี วสั ดทุ น่ี ิยมน�ำ มาใชป้ ้ ัน ได้แก่
ผลงานท่เี หมอื นกนั ทุกประการตง้ั แต่ ดนิ เหนียว ดนิ นำ้�มนั ปูน แป้ง ขี้
2 ชน้ิ ข้นึ ไป วสั ดทุ ีน่ ิยมน�ำ มาใชห้ ลอ่ ผึ้ง กระดาษ หรอื ข้ีเลือ่ ยผสมกาว
ได้แก่ โลหะ ปูน แปง้ แก้ว ข้ผี ึ้ง ดิน เปน็ ต้น
เรซิ่น พลาสติก ฯลฯ ร�ำ มะนา (ชิต
เหรยี ญประชา) 2. การแกะสลัก (Carving)
เปน็ การสรา้ งรูปทรง 3 มติ ิ
จากวัสดทุ ี่แข็ง เปราะ โดยอาศัย
เครอ่ื งมอื วัสดุท่ีนิยมนำ�มา
แกะ ไดแ้ ก่ ไม้ หนิ กระจก แก้ว
ปูนปลาสเตอร์ เป็นตน้

4. การประกอบขึ้นรูป
(Construction)
เป็นการสรา้ งรูปทรง 3 มิติ โดยน�ำ
วสั ดุต่าง ๆ มา ประกอบเขา้ ดว้ ยกัน
และยดึ ติดกันดว้ ยวัสดุต่าง ๆ วธิ ี
การสรา้ งสรรค์งานขน้ึ อยกู่ ับวัสดทุ ใ่ี ช้
ประติมากรรม
มีอยู่ 3 ลกั ษณะ คือ แบบนูนต�ำ่ แบบ
นนู สูง และแบบลอยตัว

03

ประเภทของงานประติมากรรม

ประเภทของงานประตมิ ากรรม แบง่ เป็น 3 ประเภท ตามมิตขิ องความลกึ

1. ประติมากรรมนูนต่�ำ
งานประตมิ ากรรมที่มลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กับประติมากรรมประเภทนนู สงู แต่จะ
แบนหรอื บางกวา่ ประติมากรรมประเภทนี้ ไมป่ รากฏมากนกั ในอดีต
ได้แก่ ประติมากรรมทีเ่ ปน็ ลวดลายประดับตกแตง่ เช่น แกะสลกั ด้วยไม้ หนิ ปูน
ป้ ัน เป็นตน้

2. ประติมากรรมนนู สูง
ประติมากรรมที่ไมล่ อยตัว มพี ื้นหลงั ตัวประตมิ ากรรมจะย่ืนออกมาจาก
พื้นหลงั ค่อนข้างสูง ประตมิ ากรรมท่ีเป็นลวดลายประดับตกแตง่ ดว้ ย เชน่
ประตมิ ากรรมปูนป้ นั ประดับกระจกหนา้ บ้าน พระอโุ บสถและวิหารต่าง ๆ ตลอด
จนถึงการประดบั ตกแต่งสถาปตั ยกรรมในปัจจบุ ัน เชน่ ประติมากรรมทีป่ ้ นั เป็น
เรื่องราวหรอื เปน็ ลวดลายประดบั ตกแตง่ อาคาร ตกแตง่ ฐานอนสุ าวรยี ์ ตกแต่ง
สะพาน และสิง่ กอ่ สร้างต่าง ๆ เป็นตน้

3. ประตมิ ากรรมลอยตวั
ประติมากรรมที่ป้ นั หลอ่ หรือแกะสลกั ข้นึ เปน็ รปู ร่างลอยตวั มองไดร้ อบดา้ น
ไม่มีพื้นหลงั เช่น รูปประตมิ ากรรมท่ีเป็นอนสุ าวรียป์ ระตมิ ากรรมรูปเหมือน
พระพุ ทธรปู ลอยตัวสมยั ต่าง ๆ และประตมิ ากรรมประดับตกแต่ง เปน็ ต้น

“ประตมิ ากรรมประเภทลอยตัวของไทยที่ร้จู ักกันดี คอื พระพุ ทธ
รปู สมัยต่าง ๆ โดยเฉพาะพระพุ ทธรูปสมัยสโุ ขทยั นับเป็น
ประตมิ ากรรมลอยตัวทีส่ มบรู ณแ์ บบ

04

มรู ติหรือประตมิ ากรรมเทพฮินดู

ประติมากรรมแบบลอยตวั

ของทา้ วจตโุ ลกบาลทศ่ี าลทา้ วจตโุ ลกบาล เกษรวิลเลจ

ประตนู รก

ประติมากรรมนูนสงู
แบบกลมุ่ ขนาดใหญ่

ของรอแดง็ ประตมิ ากรชาวฝร่ังเศส

05

สำ�หรับงานประตมิ ากรรมแบบลอยตัว มักทำ�เป็นพระพุ ทธรปู เทวรูป รปู เคารพต่างๆ
(ศิลปะประเภทนี้จะเรยี กว่า ปฏมิ ากรรม) ตกุ๊ ตาภาชนะดนิ เผา ตลอดจนถงึ เครื่องใช้
ตา่ งๆ ซงึ่ มีลักษณะท่ีแตกตา่ งกนั ออกไปตามสกุลชา่ งของแตล่ ะทอ้ งถิ่น หรือแตกต่าง
กันไปตามคตนิ ิยมในแตล่ ะยคุ สมยั โดยทว่ั ไปแลว้ เรามกั ศกึ ษาลักษณะของสกุลชา่ งท่ี
เป็นรูปแบบของศิลปะสมยั ตา่ งๆ ในประเทศไทยจากลกั ษณะของพระพุ ทธรปู เนื่องจาก
เปน็ งานท่ีมีววิ ฒั นาการมาอยา่ งตอ่ เนอื่ งยาวนาน จดั สรา้ งอย่างประณีตบรรจง ผสู้ ร้าง
มกั เปน็ ช่างฝีมือทเ่ี ชี่ยวชาญทีส่ ุดในทอ้ งถิ่นหรือยุคสมัยนั้น และเปน็ ประติมากรรมที่มวี ธิ ี
การจดั สร้างอย่าง ศักด์สิ ทิ ธ์เิ ป่ ยี มศรัทธา ลกั ษณะของประติมากรรมของไทยในสมยั
ตา่ งๆ สามารถล�ำ ดับได้ดงั นี้

ศิลปะทวารวด ศิลปะศรวี ิชยั ศลิ ปะลพบุรี ศิลปะล้านนา

06

จิตรกรรม

วิหารลายค�ำ วัดพระสงิ ห์

จิตรกรรมฝาผนังวหิ ารลายค�ำ ที่วดั พระสิงห์วรมหาวิหาร สีทีใ่ ชเ้ ปน็ วรรณสเี ยน็ ท่มี ีสีน้ำ�เงิน
ครามและสเี ขียวเปน็ ส่วนใหญ่ นอกจากนี้กม็ ีสีแดง สีเขยี ว สีน้ำ�ตาล สดี �ำ และสที องซ่งึ
ใช้เขยี นส่วนทเ่ี ปน็ โลหะปดิ ด้วยทองค�ำ เปลวตัดด้วยสีแดง,ด�ำ เชน่ เชงิ หลังคาและยอด
ปราสาท หรือ อาวธุ เครื่องประดบั จิตรกรรมฝาผนังท่งี ดงามประดับตลอดทั้งอาคาร

จิตรกรรมฝาผนงั ท่งี ดงาม แบ่งเปน็ 2 สว่ น

1. ภาพลายทองลอ่ งชาด 2. จติ รกรรมภาพเขียนสี
เทคนิคฉลุกระดาษบนเสาและผนังด้านหลัง เปน็ ภาพเลา่ เรอ่ื ง
พระประธาน เปน็ งานแบบลวดลายเกอื บ ทิศเหนือ เขียนเรื่อง สงั ขท์ อง
ทั้งหมด ทิศใต้ เขยี นเรอ่ื งสวุ รรณหงส์
ลายทองบนผนงั ดา้ นหลงั พระประธาน ตอนบนของผนงั ทั้ง 2 ดา้ น เขียนภาพเทพ
จดุ เด่น คือ มีการใช้ทองมากเปน็ พิเศษ ชุมนมุ เทวดาและนทิ านชาดก
ทำ�ให้พระพุ ทธรปู ดูเด่นเป็นสง่า ผนงั ดา้ นซา้ ย เขยี นเรือ่ งสงั ขท์ อง
ด้านขวา เขยี นเร่อื งสวุ รรณหงส์
เทคนิคในการเขียนใชส้ ีเขียวและครามมาก

07

ภาพจติ กรรม วหิ ารลายค�ำ วดั พระสงิ ห์

08

จิตรกรรมไทยแบบประเพณี (Thai Traditional Painting)

เปน็ ศลิ ปะท่มี ีความประณตี สวยงาม แสดงความร้สู กึ ชีวติ จิตใจและความเปน็
ไทย ท่ีมีความออ่ นโยน ละมนุ ละไม สรา้ งสรรคส์ บื ต่อกันมาต้งั แต่อดตี จนได้
ลกั ษณะประจำ�ชาติ มีลกั ษณะและรูปแบบพิเศษ นิยมเขียนบนฝาผนงั ภายใน
อาคารทีเ่ กย่ี วกับพุ ทธศาสนา และอาคารท่เี กี่ยวกับบุคคลช้นั สูง เช่น โบสถ์ วิหาร
พระทีน่ ั่ง วงั บนผนื ผา้ บนกระดาษ และบนส่งิ ของเครอ่ื งใชต้ า่ งๆ โดยเขียน
ดว้ ยสีฝุ่น ตามกรรมวิธีของชา่ งเขียนไทยแตโ่ บราณ เนื้อหาที่เขยี นมกั เปน็ เรือ่ ง
ราวเกีย่ วกับอดตี พุ ทธ พุ ทธประวัติ ทศชาติชาดก ไตรภูมิ วรรณคดีและชวี ติ
ไทย พงศาวดารต่าง ๆ ส่วนใหญ่นยิ มเขียนประดับผนงั พระอโุ บสถ วิหารอันเปน็
สถานทศ่ี ักดิ์สิทธป์ิ ระกอบพิธที างศาสนา ลกั ษณะจิตรกรรมไทยเปน็ ศลิ ปะแบบ
อุดมคติ (Idealistic) ผนวกเข้ากับเรือ่ งราวทีก่ ึง่ ลกึ ลับมหัศจรรย์ ซึ่งคล้ายกบั
งานจิตรกรรมในประเทศแถบตะวนั ออกหลาย ๆ ประเทศ เชน่ อินเดีย ศรีลงั กา
จนี และญ่ีปุ่น เปน็ ต้น เปน็ ภาพทร่ี ะบายสแี บนเรยี บ ด้วยสีคอ่ นขา้ งสดใส และมี
การตัดเสน้ เป็นภาพ 2 มิติ ให้ความรู้สกึ เพียงดา้ นกว้างและยาว ไมม่ ีความลกึ
ไมม่ ีการใชแ้ สงและเงามาประกอบ จติ รกรรมไทยแบบประเพณมี ีลักษณะพิเศษใน
การจดั วางภาพแบบเลา่ เรื่องเปน็ ตอน ๆ ตามผนงั ช่องหนา้ ต่าง รอบโบสถ์ วิหาร
และผนังด้าน หน้าและหลังพระประธาน ภาพจิตรกรรมไทยมกี ารใช้สีแตกตา่ งกัน
ออกไปตามยคุ สมยั ทง้ั เอกรงค์ และพหุรงค์ โดยเฉพาะการใชส้ ีหลายๆ สีแบบ
พหุรงค์นยิ มมากในสมยั รัตนโกสินทร์ เพราะได้สีจากตา่ งประเทศท่เี ข้ามาติดตอ่
ค้าขายดว้ ย ท�ำ ใหภ้ าพจิตรกรรมไทยมีความสวยงามและสีสนั ทีห่ ลากหลายขึน้

รปู แบบลกั ษณะภาพในจิตรกรรมไทย ส�ำ หรบั พวกชาวบา้ นธรรมดาสามัญ
ซง่ึ จติ รกรไทยส้ รา้ งสรรคอ์ อกแบบ กจ็ ะเน้นความตลกขบขนั สนุกสนาน
ไว้เปน็ รปู แบบอุดมคตทิ ่แี สดงออก ร่าเริงหรอื เศรา้ เสยี ใจออกทางใบหนา้
ทางความคดิ ใหส้ ัมพันธก์ ับเนือ้ เรื่อง สว่ นชา้ งมา้ เหลา่ สตั วท์ ั้งหลาย กม็ รี ปู
และความส�ำ คัญของภาพ เช่น รูป แบบแสดงชวี ติ เปน็ ธรรมชาติ
เทวดา นางฟา้ กษัตริย์ นางพญา ซึ่งจิตรกรไทยได้พยายามศึกษา
นางรำ� จะมีลักษณะเด่นงามสง่าด้วย ถา่ ยทอดอารมณ์ สอดแทรกความรู้สึก
ลีลาอันชดชอ้ ย แสดงอารมณค์ วาม ในรูปแบบได้อยา่ งลกึ ซึง้ เหมาะสม และ
รู้สกึ ปีติยินดี หรอื เศรา้ โศกเสียใจ สวยงาม
ดว้ ยอากัปกริ ยิ าทา่ ทาง ยกั ษ์ มาร จะ
แสดงออกด้วยท่าทางทีบ่ ึกบนึ แข็ง
ขนั ส่วนวานรแสดงความลิงโลด
คล่องแคลว่ วอ่ งไวด้วยลีลาทว่ งทา่
และหนา้ ตา

09

รปู แบบลักษณะภาพในจติ รกรรมไทย

10

สถาปัตยกรรมกรรม

เรอื นไทยภาคกลาง
เปน็ เรอื นไทยประเภท
ที่นยิ มที่สุด มลี ักษณะเปน็ เรือน
ยกพื้น ใต้ถนุ สงู สงู จากพื้นดิน
เสมอศีรษะคนยืน รูปทรงลม้ สอบ
หลังคา ทรงสูงชายคายื่นยาว เพื่อ
กนั ฝนสาด แดดส่อง นยิ มวางเรือน
ไปตามสภาพแวดล้อมทิศทางลม
ตามความเหมาะสม ถือเป็นแบบฉบับ
ของเรอื นไทยเดมิ ท่ีเราคนุ้ เคยกันดี

ในรปู แบบ เรอื นฝาปะกนถือเป็น เรอื นไทยแท้ เรือนไทยฝาปะกน คอื เรอื นที่ฝาท�ำ จากไม้สกั มีไม้
ลูกตัง้ และลกู นอน และมแี ผน่ ไม้บางเข้าลน้ิ ประกบกนั สนทิ หนา้ จัว่ กท็ �ำ ด้วยวิธเี ดียวกัน เราจะ
พบเห็นเรือนไทยภาคกลาง เช่น เรอื นเดีย่ ว เรือนหมู่ เรอื นหมูค่ หบดี และ เรอื นแพ

เรือนเดย่ี ว

สำ�หรับครอบครัวเด่ยี ว สรา้ งขน้ึ โดยมีประโยชน์
ใช้สอยที่เพียงพอกบั ครอบครัวเล็ก ๆอาจ เป็น
เรือนเคร่ืองผูกเรอื นเคร่อื งสบั หรอื ผสมผสานกัน
กเ็ ปน็ ไดแ้ ลว้ แต่ฐานะ ประกอบด้วย เรือนนอน 1
หลัง เรือนครวั 1 หลัง ระเบียงยาว ตลอดเป็นตวั
เชอื่ มระหว่างหอ้ งนอนกับชาน

11

เรือนหมู่

คอื เรอื นหลายหลงั ซึง่ ปลูกอย่ใู นที่เดียวกัน
สมยั ก่อนลูกชายแต่งงานสว่ นใหญจ่ ะไปอยู่
บา้ นผหู้ ญงิ สว่ นลูกผหู้ ญงิ จะน�ำ เขยเขา้ บา้ น
จะอยเู่ รือนหลงั ยอ่ มกว่า เรือนหลงั เดิมเรยี ก
ว่า “หอกลาง” สว่ นเรอื นนอกเรยี กวา่ “หอร”ี
เพราะปลูกไปตามยาว ถ้ามเี รอื นปลกู อกี หลัง
หนึ่งเปน็ ดา้ นสกัดกเ็ รียกว่า “หอขวาง”
อาจม“ี หอนัง่ ”ไว้สำ�หรับนัง่ เลน่ บางแห่ง
มี“หอนก” ไวส้ ำ�หรบั เลีย้ งนก

เรือนหมูค่ หบดี

เรอื นหมคู่ หบดีโบราณสำ�หรับผ้มู ฐี านะดี
ลกั ษณะการจัดเรอื นหม่คู หบดขี องโบราณ
เปน็ เรือนขนาดใหญม่ เี รือนคู่และเรือน หลงั
เลก็ หลังน้อยรวมเขา้ ด้วยกัน แต่ละหลงั ใช้
ประโยชน์ต่างหน้าที่กนั ออกไป ประกอบดว้ ย
เรอื นนอน เรือนลูก เรือนขวาง เรอื นครัว
หอนก และชาน

เรอื นแพ

การสร้างบ้านบริเวณชายฝ่ ังต้องยกพื้นชน้ั
บนสงู มาก ไมส่ ะดวกในหนา้ แลง้ ทำ�ให้เกิดการ
สรา้ งเรือนในลกั ษณะ " เรอื นแพ " ทส่ี ามารถ
ปรบั ระดบั ของตนเองข้นึ ลงได้ตามระดบั น�ำ้ ใน
แม่น้�ำ ล�ำ คลอง

12

ภาคเหนอื

■ ประตมิ ากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปัตยกรรม

ประติมากรรม ตามเขตหบุ เขาตอนบนแล้วส่งผา่ นลงสู่
เมอื งตอนล่างโดยอาศยั ลำ�น้�ำ ปิงเป็นเส้น
- วดั มอญหริภุญชยั จงั หวัดเชยี งใหม่ ทางการขยายตวั เมืองหรภิ ญุ ชยั จงึ เป็น
เมืองหริภุญชัยเปน็ ศนู ยก์ ลางของอารยธรรม ศูนยก์ ลางการคา้ ท่สี ำ�คัญ เปน็ เมอื งที่
มอญในทีร่ าบลมุ่ แม่น้�ำ ปิง ในราวพุ ทธ มง่ั คัง่ จากการคา้
ศตวรรษท่ี 13 นับเปน็ การขยายตัวของ
วฒั นธรรมจากเมืองละโว้ข้นึ มาทางภาคเหนอื
เมอื งหรภิ ุญชัยจงึ เป็นเมอื งเหนือสุดที่รับ
วัฒนธรรมละโว้ เมอื งหรภิ ุญชยั เแตเ่ ดิมเป็น
ศูนย์กลางการค้าของป่า ท�ำ หน้าทีร่ ับสินค้า
จากแหลง่ ตา่ งๆ

- เจดยี ก์ ู่กดุ วัดจามเทวี จังหวัดล�ำ พู น และภายหลังจากถวายพระเพลิงพระศพ
เปน็ โบราณสถานเกา่ แกแ่ ละมคี วามสำ�คญั ใน ของพระนางจามเทวแี ล้ว จงึ โปรดใหส้ รา้ ง
ประวัตศิ าสตร์มากท่ีสุดวัดหนึ่งในจงั หวัดลำ�พู น เจดยี ์เหลย่ี มมียอดหมุ้ ดว้ ยทอง เรยี กชื่อ
วดั จามเทวี ประวัตคิ วามเป็นมาค่อนขา้ งสับสน ว่า “สุวรรณจงั โกฏ”
เพียง 2 แหง่ คือกูจ่ ามเทวี หรอื กกู่ ุด หรือสวุ รรณ
จงั โกฏเจดยี ์ กับรัตนเจดยี ์ เรยี กกันท่วั ไปว่า เจดยี ์
แปดเหล่ยี ม มเี อกสารและตำ�นานกล่าวถงึ โบราณ
สถานท้งั สองแห่งขัดแย้งกันมาก บางแหง่ กล่าววา่
พระนางจามเทวปี ฐมกษตั ริย์แห่งเมอื งหรภิ ุญชยั
โปรดให้สร้างพระบรมธาตุสวุ รรณจังโกฏ
พร้อมท้งั ได้สถาปนาวัดจามเทวี สว่ นเอกสารบาง
แหง่ กลา่ ววา่ พระราชโอรสของพระนางจามเทวี
คือ เจา้ มหนั ตยศและเจา้ อนนั ตยศ โปรดใหส้ ร้างขน้ึ
เพื่อถวายพระเพลงิ พระศพของพระนางจามเทวี

13

จิตรกรรม

จติ กรรมภาคเหนอื เกิดจากการผสมผสานทางศลิ ปวฒั นธรรมของแตล่ ะเมืองในโบราณ
หลายแห่งเข้าไวด้ ้วยกัน ตง้ั แตเ่ มอื งเชียงแสน เชยี งใหม่ พุ กามของพม่า ละโว้
จากทางใต้ และศิลปะจีน จนกลายเปน็ ศิลปะที่มีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัวอ่อนช้อยงดงาม
แตศ่ ิลปะท่เี ปน็ รากฐานสำ�คัญในท้องถนิ่ ภาคเหนือ คอื ศิลปะหริภุญชัย และ ศลิ ปะล้านนา
โดยมีงานทัศนศลิ ปท์ สี่ ำ�คัญมากมาย เชน่ จติ รกรรมฝาผนงั วดั พระสงิ ห์ จติ รกรรมวิหาร
วัดภูมินทร์ จงั หวัดนา่ น

1. จิตรกรรม เปน็ งานตกแต่ง
สถาปัตยกรรมทีม่ จี ุดประสงคน์ อกจาก
ความงามแล้ว ยังเป็นงานเขียนเพื่อให้
สอดคล้องกบั คตคิ วามเชือ่ ทางศาสนา

วัดบวกครกหลวง จติ รกรรมฝาผนงั ท่วี ัดบวกครกหลวง จงั หวัดเชยี งใหม่
เปน็ วัดทม่ี คี วามเกา่ แก่วดั หนึ่งของเมอื ง
เชยี งใหม่ สร้างขึ้นในยุคสมัยใดไม่มหี ลัก ทวา่ ที่วิหารวัดบวกครกหลวงมีการเขยี นเรอ่ื ง
ฐานปรากฏแน่ชัด ความโดดเด่นของวัด ทศชาตชิ าดกมากทีส่ ุด คือมี 6 พระชาตคิ ือ
บวกครกหลวงอยู่ทว่ี ิหารทรงลา้ นนา ซึง่ เตมิยชาดก สวุ รรณสามชาดก เนมิราชชาดก
เป็นอาคารกอ่ อิฐถือปูนหลงั คาเครื่องไม้ มโหสถชาดก วิฑูรชาดกและเวสสนั ดรชาดก
ซึง่ สน สมี าตรงั สนั นิษฐานอายุวา่ ประมาณ
ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังในวหิ าร ตน้ พุ ทธศตวรรษที่ 24
เขยี นเรอ่ื งราวพุ ทธประวัติและชาดกใน
นบิ าต จ�ำ นวน 14 ห้องภาพ
โดยฝีมือช่างไตชาวล้านนา จิตรกรรมฝา
ผนงั ของวดั ในล้านนา โดยเฉพาะทีว่ ัด
บวกครกหลวงอย่างละเอียดพบขอ้ มูล
ท่นี า่ สนใจคือ จติ รกรรมฝาผนงั ในล้าน
นาไมพ่ บการเขียนทศชาติครบทง้ั สบิ พระ
ชาติ แตจ่ ะมีการเลอื กมาเฉพาะตอนที่
นิยมเพียงบางเรือ่ งเท่านั้น

14

ภาพจิตรกรรมหรือ “ฮบู แตม้ ”
ในวดั ภมู ินทร์เปน็ ชาดกในพุ ทธศาสนา
แตถ่ า้ พิจารณารายละเอียดของวถิ ี
ชีวติ ของคนเมืองในสมัยนนั้ มภี าพที่
น่าสนใจอยู่หลายภาพ ภาพเด่น คอื
ภาพปู่มา่ นยา่ มา่ น ซึง่ เปน็ ค�ำ เรียก
ผูช้ ายผ้หู ญงิ ชาวไทลอื้ ในสมัยโบราณ
กระซิบสนทนากัน ผู้ชายสักหมึก ผู้
หญงิ แต่งกายไทลือ้ อยา่ งเต็มยศ

จิตรกรรมวหิ ารวดั ภมู ินทร์ จังหวดั นา่ น

ภาพธรรมเนยี มการอยู่ขว่ ง ของชาวไทล้ือ ช่วงรัชกาลที่ 5 ทรงผม และเคร่อื งแตง่ กาย
พ่อแม่จะอนญุ าตใหห้ นุม่ สาวพบปะกนั ทช่ี าน ของผูห้ ญิงเป็นรูปแบบดยี วกับทีก่ ำ�ลัง เป็น
บ้านในเวลาค่ำ� ขณะหญิงสาวก�ำ ลงั ป่ ันฝ้าย ที่นยิ มในยุโรปขณะนั้น นอกจากนีเ้ ป็นภาพ
หรือ “อยูข่ ่วง” หากสาวเจ้า ตกลงปลงใจ จิตรกรรม ฝาผนงั เรื่องราวของพุ ทธประวัติ
ด้วยกจ็ ะจดั พิธีแตง่ งาน หรือที่เรียกว่า “ คนั ธกมุ ารและเนมีราชชาดก
เอาค�ำ ไป ปอ่ งกั๋น” หรือเปน็ ทองแผน่
เดยี วกัน การคา้ ขาย แลกเปล่ยี นใน
ชุมชน ภาพชาวพื้นเมือง ซึ่งอาจเป็นชาว
เขา “เป๊อะ” ของป่าบนศรีษะเพื่อนำ�มาแลก
เปล่ยี นกบั คน ชีวติ ความเป็นอยู่ของคน
เมอื งนา่ น หญิงสาวก�ำ ลงั ทอผ้าดว้ ยกีพ่ ื้น
เมอื ง นอกชานมีเรอื นเล็กๆ ตั้งหมอ้ น้�ำ ดนิ
เผาที่เรียกวา่ “ร้านน้ำ�”
สว่ นชายหนมุ่ ไว้ผมทรงหลกั แจว หรอื ทรง
มหาดไทย แสดงใหเ้ หน็ อิทธิพลตะวันตกที่
เข้ามา ผสมผสานในวิถพี ื้นเมืองน่าน ภาพ
ชาวตา่ งประเทศ ทเ่ี ขา้ มาเมืองน่าน

15

สถาปตั ยกรรมกรรม

วดั เจด็ ยอด

(พระอารามหลวง) เป็นวัดโบราณและ
มคี วามส�ำ คัญทางด้านประวตั ศิ าสตร์
วัดหนึง่ ของอาณาจกั รล้านนาไทย
กลา่ วคือ เป็นวัดทส่ี มเดจ็ พระเจ้าติโลก
ราช รัชกาลที่ 10 แหง่ ราชวงศม์ งั ราย
ทรงโปรดเกลา้ ให้สร้างขน้ึ เมอ่ื พ.ศ.
1998 โปรดใหห้ ม่ืนด้ามพร้าคต หรอื
สหี โคตรเสนาบดี เปน็ นายชา่ งท�ำ การ

กอ่ สร้าง ศาสนสถานและเสนาสนะขึน้ เปน็ พระอาราม โปรดฯ ใหน้ ิมนตพ์ ระมหาเถระชื่อพระอตุ
ตมปญั ญา มาสถิตเป็นอธิบดสี งฆอ์ งค์แรกในพระอารามนี้ ที่ไดเ้ ทศนาแก่พระเจ้าสมเดจ็ ตโิ ลก
ราชจนเกิดให้ศรทั ธา และเชอ่ื ในเร่อื งอานสิ งส์ปลกู ต้นโพธ์ิ

วดั เจด็ ยอด โบราณสถานท่เี กา่ แก่และมคี วามสำ�คัญทางพระพุ ทธศาสนาของประเทศไทย
สถานที่เคยมีการประชุมสงั คายนาพระไตรปฎิ กครง้ั ที่ ๘ ของโลก
ซึ่งเปน็ วัดพระอารามหลวง ชน้ั ตรี ชนิดสามญั เป็นวดั ประจ�ำ ปคี นเกดิ ปมี ะเส็ง หรอื ปีงูเล็ก
ซึ่งตามความเชื่อของชาวล้านนา พระธาตปุ ระจ�ำ ปีเกดิ ปมี ะเสง็ ก็คอื “โพธิบลั ลงั ก์ วหิ ารมหา
โพธิเจดยี ”์ รฐั พิหาร ประเทศอินเดีย แต่เนือ่ งจากสถานทีป่ ระดิษฐานโพธบิ ลั ลงั ก์อยไู่ กล จึง
อนโุ ลมให้เปน็ พระเจดยี ์ที่มลี ักษณะใกล้เคียงกัน ซ่งึ กค็ อื “พระเจดยี เ์ จด็ ยอด” หรือ “มหาเจ
ดีย์พุ ทธคยา”

16

หอไตร

วดั สงิ หว์ รมหาวิหาร จงั หวัดเชยี งใหม่
ตง้ั อยทู่ ี่ถนนสามล้าน ตำ�บลพระสงิ ห์ อำ�เภอเมอื งเชยี งใหม่ เดมิ ชื่อ วดั สีเชยี ง
เปน็ พระอารามของนครเชยี งใหม่ มาประมาณ 700 ปีเศษ พญาผายูกษตั รยิ อ์ งค์ที่ 5

ในราชวงศ์มงั รายโปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งวดั นี้ขึ้น ใน พ.ศ. 1888
พรอ้ มท้ังสร้างพระเจดีย์สงู 24 ศอก เพื่อใช้เป็นทีบ่ รรจุอัฐิของพญาคำ�ฟู พระราชบดิ า

หอไตร วัดพระสิงหว์ รมหาวหิ าร (หนา้ วดั ) หอไตร หมายถงึ อาคารหรอื สิง่ ปลูกสรา้ งท่ี
มีลักษณะเปน็ หอสงู สำ�หรบั เก็บคมั ภรี ์พระไตรปิฎกหรอื หนงั สือธรรมทางพุ ทธศาสนา เรียกว่า

หอพระไตร กม็ ี หอพระธรรม ก็มี วัดท่มี ีหอไตรมกั จะเปน็ วดั เกา่ แก่ และ วัดใหญ่

17

ภาคอีสาน

■ ประติมากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปตั ยกรรม

ประติมากรรม

ธาตุอสี าน Taad I-San
(Northeast Buddhist Holy Stupa)
ธาตุและพระธาตุเป็นภาษาถิ่นของอีสาน ใช่เรียก
อนสุ าวรยี ห์ รือส่ิงก่อสร้างที่บรรจุอฐั ิธาตุของผูต้ าย มี
ความหมายเชน่ เดียวกบั สถปู หรือเจดยี ใ์ นภาษาภาค
กลาง ธาตุ หมายถึงท่บี รรจกุ ระดูกของบุคคลส�ำ คญั
ธรรมดาสามัญ นบั แต่ชาวบา้ นไปจนถึงเจ้าเมืองและ
พระสงฆอ์ งคเ์ จ้าโดยทั่วไป พระธาตุถูกสร้างขนึ้ เพื่อ
ประดษิ ฐานเฉพาะพระบรมสารีรกิ ธาตุขององค์สมเด็จ
พระสมั มาสันพุ ทธเจ้า หรือพระอรหันตเ์ ทา่ นั้น ความ
โดดเดน่ ของรูปแบบมกั แสดงออกตรงส่วน”ยอดธาต”ุ
มากกวา่ ส่วนอืน่

18

“ธาต”ุ ในคร้ังแรกนิยมใช้ไม้จึงเรยี กว่า “ธาตไุ ม้”
โดยใชไ้ ม้ถากใหเ้ ปน็ ทอ่ น 4 เหลย่ี มจตรุ สั กว้างยาวไม่เกินดา้ นละ ๓๐
ซม. แลว้ ตกแต่งบวั หวั เสาใหว้ จิ ติ รพิสดาร ต่อมาได้พัฒนามาใช้การ
กอ่ อิฐถือปูน ซง่ึ สามารถทำ�ได้ใหญ่โตและแข็งแรงย่ิงขึ้น เรยี กวา่ “ชะ
ทาย” ซง่ึ ทำ�ข้ึนจากปูนขาวผสมทราย ยางบงและน้ำ�หนังเปน็ ตัวประสาน
ธาตปุ ูน จำ�แนกออกไดต้ ามความสำ�คัญของผู้ตายดังนี้

1. ธาตปุ ูนบคุ คลสามัญ
ธาตใุ สก่ ระดกู ของชาวบา้ นธรรมดาทัว่ ๆไป มกั ท�ำ ขนาดไม่สูงใหญม่ ีทั้ง
แบบเรยี บ และป้ นั ปูนประดับเปน็ ลวดลายบริเวณเรอื นธาตุ

2. ธาตปุ นู บคุ คลส�ำ คญั
ธาตขุ องนายบา้ น ก�ำ นัน ครใู หญ่ หรอื บคุ คลท่เี ปน็ ท่เี คารพนับถอื
ในหมบู่ ้าน ตลอดจน ธาตุของเจ้าเมอื งหรอื ลูกหลานผสู้ บื ทอดในวงศ์
ตระกลู การก่อสร้างธาตุให้บุคคลเหลา่ นจี้ ะประณีตแตกต่างกวา่ ธาตุของ
บุคคลสามญั

3. ธาตุปนู พระสงฆ์ ได้แก่ ธาตุของพระเถระผู้ใหญ่ เจา้ อาวาส ญา
คูหรอื ญาท่าน เป็นตน้ มกั ก่อสรา้ งสงู ใหญม่ ีความซบั ซ้อนมากขึ้น ตั้ง
อย่ใู นตำ�แหน่งท่ดี ูเดน่ เป็นสงา่ ในวัด รองมาจาก “พระธาต”ุ
นอกจากรูปแบบของ “ธาตุ” และ “พระธาตุ”

19

แล้วยงั มีรูปแบบของ “บอื บา้ น” หรือ “หลกั ขนาดประมาณ ๑๕-๒๕ ซม. ความสงู
บา้ น” (ส่วนมากท�ำ ดว้ ยไม้) ของอสี านทม่ี ี ไม่จ�ำ กัดมาประดษิ ฐเ์ ปน็ ทีบ่ รรจุอัฐิของ
ลกั ษณะใกลเ้ คียงกับ “ธาตุไม”้ ของสามัญ สามญั ชนนับเป็นงานพื้นฐานในเชงิ ช่าง
ชน ต่างกันแต่วา่ ไม่มีชอ่ งบรรจุอัฐิเท่านัน้ เปน็ มลู เหตุแหก่ ารสรา้ งงานสถาปัตยกรรม
นบั เป็นศิลปกรรมพื้นบ้านอกี อยา่ งหน่งึ ท่ีนา่ ประเภทอนุสาวรียใ์ นโอกาสต่อมา ธาตุ
สนใจอย่างยิง่ ปูน เปน็ ธาตทุ ี่ท�ำ ดว้ ยปนู ไม่ใช้โครงเหลก็
เปน็ งานฝีมอื ชา่ งทพี่ ัฒนารปู แบบมาจาก
ธาตไุ มแ้ ละธาตปุ ูน ธาตไุ ม้ โดยมีองค์ประกอบของฐานธาตุ
เรือนธาตุ และยอดธาตุ การบรรจุอฐั นิ ้นั
Taad Mai (Wooden Taad) and Taad นิยมบรรจุในเรือนธาตุเปน็ สว่ นใหญ่ ธาตุ
Poon (Masonry Taad) ปนู นิยมสร้างส�ำ หรับบคุ คลสามัญ บุคคล
สำ�คัญ ตลอดจนเจ้านายและพระสงห์
ธาตุไม้ คือการน�ำ แทง่ ไม้ ๔ เหลีย่ มจัตุรัส ข้อมูลจากหอ้ งอีสานนิทรรศน์ หอศิลป
วัฒนธรรม ม.ขอนแก่น

20

ความเป็นมาของพระไมใ้ นภาคอีสาน

การสร้างพระไม้ในอสี านไมส่ ามารถระบไุ ดช้ ดั เจนว่ามปี ระวตั ิความเปน็ มา
และการสรา้ งอยา่ งไร ใครเป็นผู้สรา้ งขน้ึ ครง้ั แรก เนื่องจากไมม่ หี ลกั ฐานที่เป็นเอกสาร
อา้ งอิงชดั เจน จากการศกึ ษารูปแบบพระไมอ้ ีสานเม่อื เปรยี บเทียบกับพระไมใ้ นประเทศ
สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว มลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกันมากจนแทบจะแยกขาด
จากกันโดยสน้ิ เชงิ ไมไ่ ดห้ รอื อาจกลา่ วได้ว่าเปน็ สกุลช่างเดียวกันทีไ่ ด้รบั
และแลกเปลย่ี นอทิ ธพิ ลซง่ึ กนั และกัน นกั วิชาการบางทา่ นไดใ้ หค้ วามเหน็ วา่ พระไม้
ในอสี านไดร้ ับอทิ ธพิ ลมาจากฝ่ ังซา้ ยแมน่ �ำ้ โขง โดยศลิ ปะแบบลา้ นช้าง แล้วแผข่ ยาย
อทิ ธพิ ลขา้ มมายงั ฝ่ ังไทย จากการอพยพโยกย้ายกด็ หี รอื จากการถา่ ยโอนโดยทาง
เครอื ญาติกด็ ี

จากหลักฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ด้กล่าวอา้ งสนบั สนนุ แนวความคดิ ขา้ งต้นดงั กลา่ ว
คอื ชนชาติลาวไดน้ ับถอื พุ ทธศาสนามาตั้งแตส่ มยั อย่ใู นจีนในสมัยแผน่ ดินขุนหลวงลี
เมา (พ.ศ. ๖๑๒) อยใู่ นนครงายลาว อาณาจักรหนองแสงแลว้ เปน็ พุ ทธศาสนาแบบ
มหายาน ภายหลังไดจ้ างหายไปเพราะแพรห่ ลายอยใู่ นชนชั้นสงู เท่านั้นในขณะท่ีผคู้ น
สว่ นใหญ่ยังนับถือผีฟา้ ผีแถน จนกระทั่งพระเจา้ ฟา้ งมุ้ ขึ้นครองราชย์จงึ ไดน้ �ำ พุ ทธ
ศาสนาเขา้ มาสู่อาณาจักรลา้ นช้างใหม่ เมือ่ พ.ศ. ๑๙๐๒ นบั จากนั้นพุ ทธศาสนาจึงได้
เจริญรงุ่ เรอื งสบื มา

นักวชิ าการเชื่อว่าพระไมใ้ นอีสานแรกเริ่มเดมิ
ทีน่ า่ จะเกดิ ขน้ึ ภายหลังสมัยการปกครองของ
พระเจ้าฟา้ งมุ้ และนา่ จะเร่มิ จากการทำ�พระพุ ทธ
รูปประทับเปน็ ยนื เลยี นแบบพระบาง ซึง่
พระเจ้าฟา้ งมุ้ ได้อัญเชญิ มาจากเมอื งอินทปัต
นคร (กมั พู ชา) ต่อมาจึงได้แพร่กระจายความ
เชอ่ื สสู่ ามญั ชน

เนอ่ื งจากพระไม้ประทบั ยนื ค่อนข้างทำ�ได้ยาก
และไมเ่ หมาะสำ�หรับช่างพื้นบา้ น จึงเปลยี่ น
มาสรา้ งพระไม้ประทบั นั่งปางต่าง ๆ ดงั นั้นจึง
พบเหน็ พระไม้ประทบั นัง่ มากกวา่ ประทับยืน

21

ความเชอ่ื เกยี่ วกบั การท�ำ พระไม้ของคนอีสาน

คนอีสานอนั หมายรวมทัง้ ชาวบา้ น ชา่ งแกะสลกั และพระสงฆ์มีความเชือ่ ในการท�ำ
พระไมห้ ลายประการดังนี้

- เพื่อผลานิสงส์ผลบญุ แก่คนสร้างและชา่ งในอานสิ งส์
ภายภาคหนา้ และการเกดิ ในดินแดนของพระศรอี าริยเมตไตย

- เพื่อเปน็ พระพุ ทธบูชา
เม่ือชา่ งแกะแล้วคนอีสานมักนำ�พระไมข้ องตนเองรวมทัง้ พระอน่ื ๆ
เขา้ พิธพี ุ ทธาภิเษกเพื่อใหพ้ ระพุ ทธปฏมิ ากรที่สร้างมคี วามศกั ด์สิ ิทธแ์ิ ละน�ำ ไปกราบ
ไหวบ้ ชู าแทนองคส์ ัมมาสัมพุ ทธเจา้

- เพื่อสบื ทอดพระพุ ทธศาสนาสร้างแทนองค์สัมมาสมั พุ ทธเจา้
- เพื่อตอ่ อายุและสบื ชะตาให้กับผ้ปู ว่ ยหรือเพื่อสะเดาะเคราะห์ต่างๆ
- เพื่ออทุ ิศส่วนกศุ ลให้กับบพุ การแี ละญาตมิ ิตรผู้ลว่ งลับ
- เพื่อสร้างพระพุ ทธแทนตนของพระผูบ้ วชใหม่

(เพื่อยืนยนั และเป็นสกั ขีพยานในการเข้าสเู่ พศบรรพชิตของตน)

22

จิตรกรรม

ฮปู แตม้ วดั ยางทวงวราราม (วัดบา้ นยาง) จงั หวดั มหาสารคาม
ฮปู แตม้ คือ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในภาคอสี าน ซึ่งปรากฏบนผนังทั้งภายนอกและภายใน
ของสิม (โบสถ์) วิหาร หอไตร และหอแจก (ศาลาการเปรยี ญ) แสดงเรื่องราวพุ ทธประวตั ิ
หรอื วรรณกรรมพื้นบา้ น เปน็ ความงามแบบพื้นบ้านทซ่ี ื่อตรง เรียบงา่ ย ลักษณะเด่น คือ

เน้อื เรื่องแบ่งเปน็ ตอนๆ เชื่อมตอ่ กนั ช่างแตม้ จะใช้เส้นแถบ หรือใชช้ ่องว่างรอบองค์
ประกอบภาพแทนการคั่นเน้อื เรื่องแตล่ ะตอน เพื่อมิให้เกดิ ความสับสนในเนือ้ หาแตล่ ะตอน
ยังมีคำ�บรรยายภาพก�ำ กบั ไว้ดว้ ย ช่างแต้มเปน็ ทัง้ ฆราวาสและพระภกิ ษใุ นสงั คมชนบท ซ่งึ

เชือ่ วา่ การได้เขยี นฮูปแตม้ ถอื เปน็ บุญกศุ ล

ฮปู แตม้ ในจงั หวดั ขอนแกน่ มหาสารคาม

23

ที่โดง่ ดังจนนำ�ไปทำ�เปน็ สัญลกั ษณใ์ นการจดั กจิ กรรมหลาย ๆ ครัง้
เป็นเนือ้ เร่อื งของสินไซ น่นั คอื สังข์ศิลป์ชยั เปน็ วรรณกรรมท้องถิ่นของประเทศลาวและ
ถน่ิ อสี าน ทีม่ คี ณุ คา่ ทางศาสนา เนื้อเรือ่ งของสงั ขศ์ ลิ ป์ชยั จึงถูกถ่ายทอดลงบนฝาผนัง
ของโบสถ์ในแถบภาคอสี าน โดยจังหวัดทพี่ บ สมิ อสี านเนือ้ เรอ่ื งสงั ขศ์ ิลป์ชัยส่วนใหญอ่ ยู่
ท่ี จงั หวัด ขอนแก่น มหาสารคาม แตใ่ นจังหวดั ร้อยเอด็ กาฬสนิ ธุ์ ยโสธรอบุ ลราชธานีและ
นครราชสมี า ยงั คงเป็นเรือ่ งราวตามความเชือ่ คำ�สอน คตธิ รรมตามหลักพระพุ ทธศาสนา

24

25

สถาปัตยกรรมกรรม

เมอื งนครจ�ำ ปาศรี ปราสาทพนมรงุ้

จงั หวดั มหาสารคาม จังหวัดบรุ รี ัมย์
เมืองโบราณนครจำ�ปาศร”ี มีสัณฐานเปน็ รปู รูปแบบของศิลปะเขมรโบราณท่มี ี
สี่เหล่ยี มผนื ผา้ มุมมน กว้างประมาณ 1,500 ความงดงามมากที่สุดแหง่ หนึ่ง ความ
เมตร ยาวประมาณ 2,700 เมตร ประกอบ งดงามและความยิ่งใหญ่ ของปราสาท
ด้วยเชงิ เทนิ หรือคนั ดิน 2 ช้ัน มคี ูนํ้าข้นั แหง่ นี้ปรากฏให้เหน็ ไดใ้ นรปู ของงาน
กลาง กว้างประมาณ 20 เมตร เนนิ ดนิ สถาปตั ยกรรม การจำ�หลักลวดลาย
สงู ประมาณ 3 เมตร และกว้างประมาณ 6 การเลอื กท�ำ เลทีต่ ัง้ บนยอดเขามแี ผนผงั
เมตร เมอื งโบราณแห่งน้มี ีการพัฒนาการ ตามแนวแกนที่มอี งคป์ ระกอบของสง่ิ
ของเมืองทสี่ บื ต่อมาหลายสมัยตัง้ แต่พุ ทธ ก่อสร้าง ต่าง ๆ เรียงตัวกันเปน็ แนว
ศตวรรษที่ 12-16 นครจำ�ปาศรี เร่มิ มีการ เส้นตรงพุ่งเข้าหาจุดศูนยก์ ลาง
พัฒนาการของเมอื งทีช่ ดั เจนขึ้นโดยมีการ คือ ปราสาทประธาน
ขุดคเู มอื ง-ก�ำ แพงเมืองล้อมรอบ เพื่อไว้ใช้
เปน็ พื้นท่เี ก็บนํ้าเพื่อการเกษตรกรรม เมืองโบราณนครจ�ำ ปาศรี

26

พระธาตุพนม

จงั หวดั นครพนม

พระธาตพุ นม ศาสนสถานอนั ศกั ด์ิสิทธแ์ิ ห่งอสี าน

พระบรมธาตุที่แสดงถึงความเจริญรงุ่ เรอื งทางพุ ทธศาสนาของนครพนมมาแต่
โบราณกาล สร้างขน้ึ เมื่อต้นพุ ทธกาลประมาณ พ.ศ.8 ในสมยั อาณาจกั รศรีโคตรบรู เจริญ
รุง่ เรือง ประดิษฐานอยูบ่ นภกู ำ�พรา้ ตงั้ ตระหง่าน อยูร่ มิ ฝ่ ังโขง เป็นสถานทค่ี รง้ั หนึง่ พุ ทธ
องค์เคยเสดจ็ มาโปรดสตั ว์น้อยโหญ่ ตามตาํ นานอุรงั คธาตกุ ลา่ วถึง พระมหากัสสปะและ
พระอรหนั ต์ 500 องค์ ได้นําพระอรุ ังคธาตุ (กระดกู ส่วนหนา้ อก) ของพระสมั มาสัมพุ ทธ
เจา้ มาจากชมพู ทวีปและทา้ วพญาผคู้ รองนครทั้ง 5 เป็นประธาน ในการสรา้ งทีป่ ระดิษฐาน
พระอุรงั คธาตุ

27

ภาคใต้

■ ประติมากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปัตยกรรม

ประติมากรรม

ภาคใต้จะเปน็ ผลงานเกีย่ วกับพระพุ ทธศาสนา ศาสนา
พราหมณฮ์ ินดู ศาสนาอสิ ลาม ผลงานศลิ ปะสว่ นใหญ่
จะเปน็ ไปในรูปแบบอาณาจักรลงั กาสกุ ะ อาณาจกั รตาม
พรลิงและอาณาจักรศรีวิชัย เปน็ ตน้

วัดคูเต่า สงขลา

ตัง้ อยู่ที่ตำ�บลแม่ทอม
อ�ำ เภอบางกลำ�่ จังหวัด
สงขลา สรา้ ง เมอ่ื ปี พ.ศ.
๒๔๔๓ มีงานศลิ ปกรรมท่ี
แสดงฝีมอื ของชา่ งท้อง
ถ่นิ ภาคใตแ้ ท้ ๆ ท้งั ทาง
ด้านสถาปตั ยกรรม และ
ประตมิ ากรรม โดยเฉพาะ
ประตมิ ากรรมปนู ป้ ันที่
มีอยมู่ ากมาย เช่น พระ
อโุ บสถ
ก�ำ แพงแกว้ เจดยี ์

28

เขาพระนารายณ์ พังงา

แหลง่ โบราณเขาเวยี ง
(เขาพระนารายณ)์ เปน็ ภเู ขา
มีเทวรปู ศิลา ๓ องค์ ลว้ นเป็น
ประติมากรรมอยู่ในกลมุ่ เดียวกนั
และยังพบเศษภาชนะดินเผาเคลือบ
เนือ้ แกร่ง ประติมากรรมในพุ ทธ
ศาสนา หรอื ศาสนาฮนิ ดู เชน่ รปู
เคารพ
พระพิมพ์ และ ซากสถาปตั ยกรรม

29

จิตรกรรม

รปู แบบงานจิตรกรรมของพักใต้อาจจะสบื เนือ่ งจากสมัยอยธุ ยาตอนปลายถงึ สมยั กรุง
รตั นโกสินทร์ตอนตน้ รปู แบบจะสะทอ้ นวถิ ีชวี ติ วัฒนธรรมในภูมิภาคอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั และ
แบ่งไดห้ ลายแบบ เชน่ แบบเลียนแบบครูช่างเดิม แบบศิลปะแบบจนี แบบศลิ ปะตะวนั ตก

แบบประเพณีรัชดาลที4่ แบบพื้นบ้าน

30

จิตรกรรมฝาผนงั วัดวงั จงั หวดั พัทลงุ

ภาพจิตรกรรมภายในพระอุโบสถของวดั วัง กลา่ วกนั ว่าเปน็ ฝีมือช่างคณะเดียวกบั
ท่ีเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในพระอโุ บสถวัดพระศรรี ัตนศาสดารามจิตรกรรมสมัย

รตั นโกสนิ ทร์ ชว่ งรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 5
(พ.ศ. 2403) ลกั ษณะงานเขยี นขนึ้ โดยชา่ งในทอ้ งถิ่น แต่จำ�ลองรปู แบบงานให้
เหมอื นกับจติ รกรรมในแถบพระนคร ภาพส่วนใหญ่นยิ มใชส้ แี ดงและสนี ้ำ�เงิน

จติ รกรรมฝาผผนงั วดั
วิหารเบิก จงั หวัดพัทลุง

จิตรกรรมฝาผนงั ภายในพระ
อโุ บสถวัดวิหารเบิกน้นั เชอ่ื
กันว่าเขียนขนึ้ เม่อื ประมาณ
พ.ศ.๒๔๐๓ โดยช่างชาวพัทลุง

ทีช่ ่อื สุ่นซง่ึ ขณะน้นั ด�ำ รง
ต�ำ แหนง่ หลวงเทพบณั ฑิต

ประจำ�เมืองพั ทลุง

ตามประวตั ิ ช่างสนุ่ ผูน้ ีเ้ คยไปหดั เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนงั ทีก่ รุงเทพฯ และยงั เคย
เขยี นภาพในวดั พระศรีรัตนศาสดารามดว้ ย

31

สถาปัตยกรรมกรรม

ลกั ษณะเด่น ของบา้ นเรอื นในภาคใต้
จากอากาศรอ้ นและมลี มทะเลตลอดเวลา
ด้วยเหตนุ ี้การสร้างบ้านของผ้คู นในภาค
ใต้จงึ เนน้ ในเรื่องของการระบายความรอ้ น
เป็นพิเศษ มีอากาศรอ้ นฝนตกชกุ มีลมและ
ลมแรงตลอดปีบ้านเดือนจงึ มกั มหี ลงั คา
เต้ียลาดชันเป็นการลดการประทะของแรง
ลมเมื่อฝนตกจะทำ�ใหน้ ้ำ�ไหลได้เร็วขึ้นจะ
ทำ�ให้หลังคาแห้งไวดว้ ย

ลักษณะงานสถาปัตยกรรม

เจดียว์ ดั หลง จังหวดั สุราษฎรธ์ านี .มดั ยดิ กรือเซะ จงั หวัดปัตตานี

สรปุ ทัศนศลิ ป์ 4 ภาค 32

■ ประตมิ ากรรม ■ จติ รกรรม ■ สถาปตั ยกรรม

ทศั นศลิ ป์ใน ประเทศไทยมที ัง้ หมด 4 ภาคไดแ้ ก่ ภาคเหนอื ภาค
อสี าน ภาคกลาง ภาคใต้ โดยผลงานทัศนศลิ ปใ์ นแต่ละภาค จะ
สะท้อนถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี และ วฒั นธรรม การใช้
ชีวิตประจำ�วัน เหมอื นเหมือนกนั แตจ่ ะแตกตา่ งกันตรงที่ สภาพ
ความเป็นอยู่ ภูมอิ ากาศ และ การใชช้ วี ิต ทำ�ให้มปี ระเพณี
วัฒนธรรม และ ความเชอ่ื ที่แตกต่างกัน จึงท�ำ ให้ผลงานทาง
ทัศนศลิ ป์ต่างๆ จติ รกรรม ประตมิ ากรรม และสถาปตั ยกรรม
มคี วามแตกต่าง และ มีความเปน็ เอกลกั ษณ์ของแตล่ ะภมู ภิ าค
อย่างชดั เจน

33

สรุปทศั นศิลป์ 4 ภาค

■ ประติมากรรม ■ จติ รกรรม ■ สถาปัตยกรรม

ภาคเหนอื ภาคใต้
ทัศนศิลปต์ ่างๆ ไดร้ ับอิทธพิ ลมาจากสมยั ทศั นศลิ ปข์ องภาคใต้ จะเป็นผลงานท่ี
เชยี งแสน ประตมิ ากรรมทีพ่ บสว่ นมากจะ เกีย่ วกับพุ ทธศาสนา ศาสนาพราหมณ-์
เปน็ พระพุ ทธรปู ซงึ่ มีความรว่ มสมยั กับ ฮินดู และศาสนาอสิ ลาม เปน็ ส่วนใหญ่
สุโขทยั และท้งั ไดร้ บั อทิ ธิพลจากประเทศ ซึ่งผลงานศิลปะจะเปน็ ไปในรูปแบบของ
พมา่ นำ�มาผสมผสานกัน อาณาจกั รลงั กาซุกะ และ อาณาจกั รตาม
พรลิง หรอื อาณาจกั รศรวี ชิ ยั
ภาคอสี าน ภาคกลาง
ทัศนศิลป์ของภาคอสี าน นัน้ เกดิ จาก ทศั นศิลป์ของภาคกลาง แหล่งผลิต
บรรพบรุ ษุ ในสมัยก่อน ซงึ่ ผลงานศลิ ปะ งานศิลปะนั้นสว่ นใหญ่อยู่ ในจงั หวัด
นั้นจะสามารถดูไดต้ าม ศาสนสถานวัดวา รอบๆ กรงุ เทพมหานคร ผลงานศิลปะ
อารามตา่ งๆ แสดงให้ถงึ การใชช้ ีวติ ประจำ� ภาพการจงึ มคี วามสวยงามและโดดเดน่
วันของคนภาคอสี านในเทศกาลตา่ งๆ ซึง่ โดยมีเอกลักษณเ์ ฉพาะตวั ซึง่ เป็นไปตาม
ถอื เป็นศนู ยร์ วมในการทำ�กิจกรรมตา่ งๆ สภาพความเป็นอยวู่ ิถีชีวติ และวฒั นธรรม
ของผคู้ นในชมุ ชนมาตั้งแต่คร้ังโบราณ ประเพณีของคนในภาคกลาง
วดั วาอารามนัน้ ล้วนไดร้ ับการดแู ลรักษา
จากพระสงฆแ์ ละคนในชมุ ชนเปน็ อยา่ งดี
ทำ�ใหเ้ ป็นแหลง่ สบื สานศลิ ปะอสี านทม่ี ีมา
ต้ังแตโ่ บราณ จนถงึ ปจั จบุ ัน

34

ศิลปะท้องถน่ิ ในภมู ิปัญญาต่างๆ มกั มลี กั ษณะทีแ่ ตกตา่ งกันไปตาม ภูมิประเทศ
วิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมของผคู้ นในทอ้ งถิ่น และ มีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะ
ตวั ถกู สร้างข้นึ โดยศลิ ปนิ หรอื ผคู้ นในทอ้ งถ่ินของตนเอง ศิลปะทีถ่ กู สรา้ งข้ึน เช่น
จิตรกรรม ประตมิ ากรรม และ สถาปตั ยกรรม ลว้ นมีความแตกตา่ งกัน ตามลกั ษณะ
ของท้องถิ่นน้ันๆ อยา่ งท่ที กุ คนทราบ แต่ผลงานศิลปะนัน้ ลว้ นเกิดจาก ฝีมอื ความรู้
ของบรรพบรุ ุษในภาคตา่ งๆ ทีเ่ ขารกั และห่วงแหนศิลปะนั้น จึงสร้างผลงานข้นึ มาเพื่อ
ให้ เดก็ รุน่ หลังได้รูถ้ งึ ความเป็นมาของ ประเพณวี ฒั นธรรมในสมยั ก่อนนัน้ เอง