บุกรุกที่สาธารณะ ยอมความได้ หรือ ไม่

���Թ�Ҹ�óл���ª�� ���Ҹ�ó���ѵԢͧ�蹴Թ��� ���. ���դ���� �� ��� 12/2543 ŧ 18 ��.�.2543 ����ͧ �ͺ������鷺ǧ����ͧ������ӹҨ˹�ҷ������ѡ����д��Թ��ä�����ͧ��ͧ�ѹ���Թ�ѹ���Ҹ�ó����ѵԢͧ�蹴Թ���ͷ�Ѿ��ͧ�蹴Թ

�������觹�� ���Թ�Ҹ�ó���ѵԢͧ�蹴Թ�ࢵ ͺ�. ������˹�ҷ��ͧ ��¡ ͺ�.���е�ͧ�Ѵ�����ͧ�ء����Թ����ҡ�ա�úء�ء��ԧ �ʹ�Ѻ�Ѻ �ú.ͺ�.������ͺ�.���ӹҨ˹�ҷ�������ͧ��ô����ѡ�Ҵ��� ��¡ͺ�.�лѴ�����Ѻ�Դ�ͺ����� �����ҧ�á������Ѵ�ӹҨ�ͧ�������͵�� �����»���ͧ��ͧ������������ҹҹ����

�͡�ҡ���㹷ҧ����ҡ�ջѭ������繡�úء�ء��ԧ������� �ѧ��˹��§ҹ ���. ���� ��С��������䢻ѭ�ҡ�úء�ء���Թ�ͧ�Ѱ �������º �ӹѡ��¡�2545 ������Шѧ��Ѵ ���� ���.�ѧ��Ѵ�ռ������繻�иҹ �դ�С����дѺ�ѧ��Ѵ�� ���. ���Թ�ѧ��Ѵ ��� ��˹�ҷ�� ���Թ�����䢻ѭ����л�ͧ�ѹ��úء�ء���Թ�ͧ�Ѱ ���٨���Է�ԡ�ä�ͺ��ͧ���Թ�ͧ�ؤ�ŵ����ѡࡳ���þ��٨���Է�� �� ������к���ҹ�Ҿ���·ҧ�ҡ���¤��͹ء�á����ҹ�Ҿ���·ҧ�ҡ�ȷ�� ���.�觵��

�ҡ�ѭ�ҷ���� ����ö������ͧ������ ���.�ѧ��Ѵ�� �ҡ�ա����ͧ�ء���;��ϡ�������ͧ��ҹ价ҧ ���.���������ͧ��ҾԨ�ó���ѭ����дѺ ���.�ѧ��Ѵ ��ҿѧ����Һء�ء��ԧ���ͺ�ǹ���Թ��յ��� ���鹵͹����ҡ�� ���� ����˭��ҹ㹰ҹ���Ҿ�ѡ�ҹ����ͧ��ͧ��� ��¡����ͧ��ҹ价ҧ������������͹�����ͧ������ ���.���;Ԩ�ó���䢻ѭ�ҡ���� ��������������Է��͹������÷����� ��˹�ҷ���Ѻ����ͧ������������ ���.����

㹷ҧ��Ժѵ� �й���������价����¹Եԡ� ��ǹ������ͧ���Թ�ͧ�Ѱ �ӹѡ�Ѵ��÷��Թ�ͧ�Ѱ ( ������� ʨ�) ������Թ ��з�ǧ��Ҵ�� �������ࢵ ʹ.����Ҫ�ѧ ����������ͧ�ôٹ� 02 222-1840 ����� 02 222-2851 ����ͧ �� 50801 -12 ��� 254, 370 ���ͨ���Ң����������������ǡѺ�������Ѿ��ҡ ���Թ�ѧ��Ѵ���ͷ��Թ����ͧ͢��ҹ��͹ �����������͡Ѻ�ҡ���

บุรีรัมย์-ศาลนางรองจำคุกนายทุน นักการเมืองท้องถิ่นและชาวบ้าน11คน6เดือนไม่รอลงอาญาบุกรุกที่ดินสาธารณะเจรจาขอคืนพื้นที่หลายครั้งแล้วไม่ยอมออก

บุรีรัมย์-ศาลนางรองจำคุกนายทุน นักการเมืองท้องถิ่นและชาวบ้าน11คน6เดือนไม่รอลงอาญาบุกรุกที่ดินสาธารณะเจรจาขอคืนพื้นที่หลายครั้งแล้วไม่ยอมออก

ศาลจังหวัดนางรอง จ.บุรีรัมย์ พิพากษาจำคุก นายทุน อดีตนักการเมืองท้องถิ่น และชาวบ้าน จำนวน11คน เป็นเวลา 6เดือนโดยไม่รอลงอาญา กรณีบุกรุกพื้นที่สาธารณะในเขตเทศบาลตำบลปะคำ เหตุเกิดตั้งแต่เมื่อปี2553 ซึ่งหน่วยงานภาครัฐพยายามเจรจาไกล่เกลี่ยขอคืนพื้นที่สาธารณะหนองบัว ซึ่งจำเลยทั้ง11คนได้ยื่นขอประกันตัวในชั้นศาลเพื่อต่อสู้คดีนี้แล้วโดยสามารถยื่นอุทธรณ์ได้ใน 30 วัน

นายบุญยัง พงษ์เรื่อง ปลัดเทศบาลตำบลปะคำเมื่อปี 2553 มีผู้เข้าไปบุกรุกครอบครองปลูกสร้างที่อยู่อาศัย ห้องแถว อาคาร ร้านค้ารวมกว่า 30 ห้อง เนื้อที่กว่า 9 ไร่ จำนวน26 ราย หน่วยงานภาครัฐได้พยายามเจรจาพูดคุยและขอคืนพื้นที่หลายครั้ง แต่กลุ่มผู้บุกรุกก็ไม่ยอมออกจากพื้นที่เทศบาลจึงได้แจ้งความดำเนินคดีตามขั้นตอนในฐานะผู้ดูแลพื้นที่ดังกล่าวคดีนี้ยังมีผู้ต้องหาเหลืออีก 2 รายอยู่ระหว่างสรุปสำนวนส่งอัยการ

ก่อนหน้านี้เมื่อปี 2559 ศาลก็ได้มีการพิพากษาจำคุกกลุ่มผู้บุกรุกที่สาธารณะดังกล่าวไปแล้ว13ราย เป็นเวลา2 เดือน และปรับตั้งแต่  2,000 – 4,000 บาท โทษจำคุกให้รอการลงอาญาไว้ 1 ปีและให้จำเลยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง อาคาร  กำแพง ออกไปจากที่ดิน และให้จำเลย คนงาน  ผู้รับจ้าง ผู้แทน และบริวารออกไปจากที่ดินที่ยึดถือครอบครองด้วย ซึ่งทั้ง 13 รายไม่ได้ยื่นอุทธรณ์หรือต่อสู้คดีแต่อย่างใด  ทั้งได้ทยอยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกจากพื้นที่แล้ว

บุกรุกที่สาธารณะ ยอมความได้ หรือ ไม่


กระทรวงยุติธรรม เสนอกฎหมายน่ารู้ ตอน : “บุกรุก” ตามกฎหมาย มีโทษอย่างไร ?
- ความผิดตามมาตรา 362 ผู้ใดเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเพื่อครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือเข้าไปกระทำการใด ๆ อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของเจ้าของ โทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- ความผิดตามมาตรา 363 การยักย้ายหรือทำลายเครื่องหมาย เขตอสังหาริมทรัพย์ มีความผิด โทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- ความผิดตามมาตรา 364 ผู้ใดโดยไม่มีเหตุอันสมควร เข้าไปหรือซ่อนตัว ในเคหสถานในความครอบครองของผู้อื่น โทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- ความผิดตามมาตรา 365 ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา 362 มาตรา 363 หรือมาตรา 364 ข่มขู่ หรือใช้กำลังประทุษร้าย ใช้อาวุธหรือร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หรือก่อเหตุในเวลากลางคืนโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- ความผิดในหมวดนี้ นอกจากความผิดตามมาตรา ๓๖๕ เป็นความผิดอันยอมความได้

ข้อมูลจาก : ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 362 - 366

เอกสารแนบ

  • กฎหมายน่ารู้ ตอนที่ 297 : “บุกรุก” ตามกฎหมาย มีโทษอย่างไร ? ดูแล้ว 506 ครั้ง

ขอเชิญร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาการนำเสนอข้อมูลข่าวสารของกระทรวงยุติธรรม

ท่านคิดว่าข้อมูลข่าวสารนี้มีประโยชน์มากน้อยเพียงใด
มาก ปานกลาง น้อย
ท่านมีความเข้าใจในข้อมูลข่าวนี้มากน้อยเพียงใด
มาก ปานกลาง น้อย
ท่านพึงพอใจในรูปแบบการนำเสนอข้อมูลข่าวสารมากน้อยเพียงใด
มาก ปานกลาง น้อย

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ส่งข้อมูล

โจทก์ทั้งสองสำนวนฟ้องและแก้ไขคำฟ้องว่า จำเลยได้บุกรุกเข้า ไปยึดถือครอบครองไถและปลูกพืชในที่ดินสาธารณะประโยชน์ป่า ไผ่หัวนาดง ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ร่วมกัน ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 ตรี, 9, 108, 108 ทวิ บวกโทษจำคุกที่รอการลงโทษไว้ในคดีก่อนและมีคำสั่งให้ จำเลยและบริวารออกไปจากที่ดินดังกล่าว

จำเลยให้การปฏิเสธ แต่รับว่าเป็นบุคคลคนเดียวกับจำเลยใน คดีที่โจทก์ขอให้บวกโทษ

ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตาม ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 9, 108 ทวิ วรรคสอง การกระทำ ของจำเลยเป็นความผิด 2 กระทงจำคุกกระทงละ 1 ปี รวมจำคุก 2 ปี จำเลยให้การรับสารภาพในชั้นสอบสวนเป็นประโยชน์แก่การ พิจารณาคดีอยู่บ้างลดโทษให้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 หนึ่งในสี่ คงจำคุก 1 ปี 6 เดือน บวกโทษจำคุก 1 ปี ที่รอการ ลงโทษไว้ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 1150/2533 ของศาลชั้น ต้นเป็นจำคุก 2 ปี 6 เดือน ให้จำเลยและบริวารออกจากที่ดินที่ยึด ถือครอบครอง

จำเลยอุทธรณ์

ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิพากษายืน

จำเลยฎีกาโดยผู้พิพากษาซึ่งพิจารณาและลงชื่อในคำพิพากษา ศาลชั้นต้นอนุญาตให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง

ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า "ที่จำเลยฎีกาว่าการประการกำหนดให้ที่ดิน ทุ่งป่าไผ่หัวนาดงเป็นที่สาธารณประโยชน์มิได้ดำเนินการตามพระ ราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ.2478 มาตรา 5 กล่าวคือ ไม่ได้ ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและประกาศในราชกิจจานุเบกษา ที่ดิน ดังกล่าวจึงไม่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น เห็นว่า ตามทะเบียน ที่ดินสาธารณประโยชน์มีข้อความระบุว่าที่ดินทุ่งป่าไผ่หัวนาดง เป็น ที่ดินที่ราษฎรในตำบลบ้านเก่าใช้เก็บผักหักฟืนและเป็นทำเลเลี้ยง สัตว์ร่วมกันมาเป็นเวลาช้านานนับร้อยปี ดังนี้ ที่ดินดังกล่าวย่อมเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304(2) ส่วนที่ดินที่จะต้องออกราชกฤษฎีกาและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาก่อนขึ้นทะเบียนเป็นที่สาธารณประโยชน์ตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2478 มาตรา 5 นั้น จำกัดแต่เฉพาะ ที่ดินรกร้างว่างเปล่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 (1) ท่านั้น ส่วนที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 (2) ไม่มีกฎหมายบังคับให้ ต้องขึ้นทะเบียนและออกเป็นพระราชกฤษฎีกาแต่อย่างใด ที่ศาล อุทธรณ์ภาค 1 วินิจฉัยว่า ที่ดินทุ่งป่าไผ่หัวนาดงเป็นสาธารณสมบัติ ของแผ่นดิน ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วยฎีกาข้อนี้ของจำเลยฟังไม่ขึ้น ส่วนที่จำเลยฎีกาเป็นประการสุดท้ายว่า การที่นายละมูล แก้ว วิมล นายอำเภอด่านขุนทดมีหนังสือลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2535 และลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2536 ถึงสารวัตรใหญ่สถานีตำรวจภูธร อำเภอด่านขุนทดให้ดำเนินคดีแก่จำเลย โดยมอบอำนาจให้นายชนะ กมขุนทด กำนันบ้านเก่าเป็นผู้ไปร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน แต่ เอกสารดังกล่าวไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ การมอบอำนาจจึงไม่ชอบด้วย กฎหมาย นายชนะไม่มีอำนาจร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนนั้น เห็นว่า แม้หนังสือที่นายอำเภอด่านขุนทดมีไปถึงสารวัตรใหญ่สถานี ตำรวจภูธรอำเภอด่านขุนทดมิได้ปิดอากรแสตมป์ตามประมวล รัษฎากร ไม่อาจใช้เป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งก็ตาม แต่ไม่มีบท กฎหมายใดบัญญัติห้ามมิให้รับฟังเอกสารเช่นว่านั้นเป็นพยานหลัก ฐานในคดีอาญาด้วย ศาลฎีกาย่อมรับฟังเอกสารดังกล่าวได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226 อนึ่ง คดีนี้ ไม่ใช่ความผิดอันยอมความได้ที่ห้ามมิให้ทำการสอบสวนเว้นแต่จะมี การร้องทุกข์ตามระเบียบมาตรา 121 วรรคสอง ประกอบกับหนังสือ ที่นายอำเภอด่านขุนทดมีไปถึงสารวัตรใหญ่ สถานีตำรวจภูธรอำเภอ ด่านขุนทด ให้ดำเนินดีแก่จำเลยในความผิดฐานบุกรุกที่ดินสาธารณ ประโยชน์ซึ่งมีใจความว่านายอำเภอด่านขุนทดมอบอำนาจให้กำนัน ตำบลบ้านเก่าเป็นผู้แจ้งความต่อพนักงานสอบสวนนั้น มีลักษณะเป็น การการกล่าวโทษจำเลยเป็นหนังสือแล้ว พนักงานสอบสวนย่อมมี อำนาจสอบสวนคดี ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 123 ฎีกาข้อนี้ของจำเลยฟังไม่ขึ้นเช่นเดียวกัน ที่ศาลล่างทั้ง สองพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานบุกรุกที่ดินของรัฐอันเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วยแต่ที่ศาลล่าง ทั้งสองลงโทษจำคุกจำเลยในแต่ละสำนวนเท่ากันและไม่รอการ ลงโทษจำคุกให้นั้น เห็นว่า ในสำนวนแรกจำเลยบุกรุกที่ดินของรัฐ เป็นเนื้อที่ประมาณ 22 ไร่ ส่วนสำนวนหลังจำเลยบุกรุกที่ดินเพิ่ม จากที่เคยบุกรุกในสำนวนแรกอีกเพียง 4 ไร่เท่านั้น สมควรกำหนด โทษให้แก่ต่างกัน โดยคำนึงพฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งการ กระทำตลอดจนผลเสียหายอันเกิดจากการกระทำของจำเลยประกอบ ด้วย แม้จะได้ความว่าก่อนคดีนี้จำเลยเคยบุกรุกที่ดินแปลงนี้มาครั้ง หนึ่งแล้ว และถูกศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกมีกำหนด 1 ปี และ ปรับ 5,500 บาท โทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้ มีกำหนด 2 ปี หลัง จากนั้นจำเลยกลับมากระทำความผิดซ้ำเป็นคดีนี้ก็ตามแต่ทาง พิจารณาได้ความว่า เหตุที่จำเลยบุกรุกเข้าไปปลูกพืชผลในที่ดิน พิพาทเนื่องจากไม่มีที่ทำกิน ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าเห็นใจแม้จะไม่มีเหตุ ผลที่ลบล้างความผิดหรือบรรเทาผลร้ายแห่งความผิดที่จำเลยได้ กระทำแต่นับว่าเป็นเหตุอื่นอันควรปราณีและสมควรรอการลงโทษ จำคุกให้แก่จำเลย แต่เพื่อให้จำเลยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลับตน เป็นพลเมืองดีและเพื่อป้องกันมิให้จำเลยกระทำความผิดในลักษณะ เช่นนี้อีก ศาลฎีกาเห็นสมควร คุมความประพฤติจำเลยไว้ด้วย"

พิพากษาแก้เป็นว่าสำนวนแรกลงโทษจำคุก 1 ปี และปรับ 10,000 บาท สำนวนหลังจำคุก 4 เดือน และปรับ 6,000 บาท คำให้การรับสารภาพในชั้นสอบสวนของจำเลยเป็นประโยชน์แก่การ พิจารณาพิจารณาคดีอยู่บ้างเป็นเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 หนึ่งในสี่ สำนวนแรกจำคุก 9 เดือน และปรับ 7,500 บาท สำนวนหลังจำคุก 3 เดือน และ ปรับ 4,500 บาท รวมจำคุก 12 เดือน และปรับ 12,000 บาท โทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้มีกำหนด 3 ปี ให้คุมความประพฤติ จำเลยโดยให้จำเลยไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติทุก 3 เดือนต่อครั้งมีกำหนด 2 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 หากจำเลยไม่ชำระค่าปรับให้บังคับตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29, 30 คำขอของโจทก์ที่ให้บวกโทษจำคุกในคดีอาญา หมายเลขแดงที่ 1150/2533 ของศาลชั้นต้นเข้ากับโทษในสำนวน แรกให้ยก นอกจากที่แก้คงให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ภาค 1