การ ศึกษา ข้อมูล จาก รูป ถ่ายทางอากาศ จำเป็น ต้อง ใช้ เครื่องมือ ชนิด ใด เข้า มา ช่วย ในการ ศึกษา

การใช้ภาพถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม

ภาพถ่ายทางอากาศ คือ

รูปที่ได้จากการถ่ายทางอากาศ โดยผ่านเลนส์กล้องและฟิล์ม หรือข้อมูลเชิงเลข ซึ่งถ่ายด้วยกล้องที่นำไปติดใต้อากาศยาน อันได้แก่ บอลลูน เครื่องบิน เป็นต้น

        ภาพถ่ายทางอากาศแบ่งได้เป็น 2 ชนิด

        1. ภาพถ่ายแนวดิ่ง หมายถึง ภาพถ่ายที่แกนของกล้องถ่ายภาพถ่ายทางอากาศตั้งฉากพื้นผิวโลก มักมีสัดส่วนคงที่ ใช้ในการรังวัดทำแผนที่ภูมิประเทศ และแปลความหมายข้อมูลภูมิศาสตร์ที่ปรากฏอยู่ในภาพ

การ ศึกษา ข้อมูล จาก รูป ถ่ายทางอากาศ จำเป็น ต้อง ใช้ เครื่องมือ ชนิด ใด เข้า มา ช่วย ในการ ศึกษา

        2. ภาพถ่ายเฉียง หมายถึง ภาพถ่ายทางอากาศที่แกนกล้องเฉียงไปจากพื้นผิวโลก มีจุดประสงค์เพื่อเก็บรายละเอียดภูมิประเทศทั่วไป ครอบคลุมพื้นที่ได้กว้างกว่าภาพถ่ายแนวดิ่ง และไม่ได้นำไปใช้ทำแผนที่ภูมิประเทศ

การ ศึกษา ข้อมูล จาก รูป ถ่ายทางอากาศ จำเป็น ต้อง ใช้ เครื่องมือ ชนิด ใด เข้า มา ช่วย ในการ ศึกษา

        ภาพถ่ายทางอากาศจะได้ข้อมูลที่มีความละเอียดสูงนำไปใช้แสดงข้อมูลที่มีมาตราส่วนใหญ่ได้ดี และสามารถแสดงข้อมูลลักษณะภูมิประเทศเป็น 3 มิติได้ ถ้ามีการถ่ายภาพที่ซ้อนทับกัน 60 % ในแนวบินเดียวกัน โดยดูผ่านกล้องมองภาพสามมิติ (Stereoscope)

ภาพถ่ายดาวเทียม

        ดาวเทียมดวงแรกของโลกที่สามารถส่งขึ้นไปเพื่อทดลองระบบ คือ ดาวเทียมสปุตนิก (Sputnik) เป็นดาวเทียมภายใต้การดำเนินงานของรัสเซียที่ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศครั้งแรกในปี ค.ศ. 1957 โดยเริ่มจากดาวเทียมสปุตนิก 1 ที่สามารถโคจรรอบโลกได้นานถึง 92 วัน


ภาพ ดาวเทียมสปุตนิก


         แบ่งตามชนิดได้เป็น

        1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลด้านสภาพอากาศ เช่น ดาวเทียม GMS และ NOAA

        2. ดาวเทียมสมุทรศาสตร์ เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลด้านลักษณะคลื่นผิวน้ำและใต้ผิวน้ำ ความสูงของคลื่น ศึกษาน้ำแข็งในทะเล อุณหภูมิผิวหน้าทะเล เป็นต้น

        3. ดาวเทียมสำรวจแผ่นดิน เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลด้านทรัพยากรบนแผ่นดิน เช่น ดาวเทียม THEOS เป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรกของไทย ส่วนดาวเทียม LANDSAT เป็นของสหรัฐอเมริกา และดาวเทียม SPOT เป็นของประเทศฝรั่งเศส

        4. ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อการรับส่งสัญญาณโทรศัพท์ โทรสาร โทรทัศน์ วิทยุ เช่น ดาวเทียมไทยคม


ข้อมูลจากดาวเทียม

        สิ่งที่ส่งกลับมารูปของสัญญาณตัวเลขมาที่สถานีรับสัญญาณดาวเทียมภาคพื้นดิน เมื่อสถานีรับสัญญาณภาคพื้นดินได้รับข้อมูลตัวเลขที่ส่งมาแล้ว จึงแปลงตัวเลขออกเป็นภาพอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเรียกว่าภาพจากดาวเทียม แล้วจึงนำไปแปลความหมายต่อไปได้ในระบบคอมพิวเตอร์ สามารถนำข้อมูลตัวเลขนี้มาวิเคราะห์เชิงสถิติเพื่อจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ ซึ่งเป็นการแปลความหมายอีกรูปแบบหนึ่งได้

        ข้อมูลเชิงเลข คือ

            เวลาที่เก็บข้อมูลมาจากดาวเทียมดาวเทียมก็จะแปลค่าให้เป็นตัวเลข เช่น ดี = 1, แย่ = 2 และ แย่ที่สุด = 3 หรือชนิดของตัวเลขที่ใช้ในระบบราสเตอร์ จะเป็นตัวบอกว่าชั้นข้อมูลนั้น ๆ จะถูกแสดง หรือสามารถนำไปประมวลผลได้อย่างไร ตัวอย่างเช่น ชั้นข้อมูลความสูง ที่มีค่าในช่วง 550 ถึง 560 จะถูกใช้ต่างกับชั้นข้อมูลที่มีค่าแค่ 1, 2 หรือ 3 ซึ่งเป็นตัวแทน น้ำ ดิน พืช จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่ส่งกลับมาทุกอย่างจะถูกแปลผลไปเป็นตัวเลข แล้วเวลาใช้งานก็จะแปลตัวเลขมาเป็นข้อมูลที่ต้องการนำเสนอ ในประเทศไทยมีสถานีรับสัญญาณดาวเทียมสำรวจทรัพยากร ตั้งอยู่ที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และมีสถานีรับสัญญาณของกรมอุตุนิยมวิทยากระจายตามภูมิภาคของประเทศ


การใช้ประโยชน์จากภาพถ่ายดาวเทียม เช่น

  • การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้สำรวจ ตรวจสอบสภาพผืนป่า ความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้
  • ด้านการทำแผนที่ ใช้สำรวจวัตถุบนพื้นโลก เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพชายฝั่ง การจัดทำแผนที่ธรณีวิทยา การจัดทำแผนที่ชุดดิน
  • ด้านอุตุนิยมวิทยา ใช้ติดตามการเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศในช่วงเวลาในแต่ละวัน
  • ด้านคมนาคม เช่น การติดตามสภาพการจราจรขณะปัจจุบัน

เครื่องมือชนิดใดใช้ในการอ่านข้อมูลจากรูปถ่ายทางอากาศ

เครื่องมือชนิดใดใช้ในการอ่านข้อมูลจากภาพถ่ายทางอากาศ กล้องจุลทรรศน์

อุปกรณ์ในข้อใดใช้ศึกษาภาพถ่ายทางอากาศ

2.6 กล้องสามมิติ (Stereoscope)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ดูรูปถ่ายทางอากาศ เพื่อพิจารณาความสูงต่ำของ ลักษณะภูมิประเทศ ในพื้นที่นั้น ๆ 2.7 กล้องสามมิติแบบพกพา

ข้อใดเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ประเภทใช้หาข้อมูล

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ประเภทให้ข้อมูล ได้แก่ ลูกโลก แผนที่ ข้อมูลสถิติ กราฟและแผนภูมิแผนภาพ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม และอินเตอร์เน็ต

ข้อใดต่อไปนี้เป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์

แผนที่ เป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่มีความสาคัญต่อการเรียนวิชาภูมิศาสตร์เป็นอย่างมาก เนื่องจากการเรียนวิชานี้ต้องกล่าวถึงสถานที่ที่มีขนาดต่างกันทั้งที่เป็นธรรมชาติและสิ่งที่มุนษย์สร้างขึ้นตลอดจน ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวโลก และสิ่งที่จะสามารถนามาใช้อธิบายสภาพพื้นที่ สถานที่ได้ดีที่สุด คือ แผนที่