ใบ งาน เรื่อง แสง ป 4

หมวดหมู่ของบทความนี้จะพูดถึงข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสง หากคุณกำลังมองหาเกี่ยวกับข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสงมาสำรวจกันกับmukilteomontessori.comในหัวข้อข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสงในโพสต์วิทยาศาสตร์ ป.4 เรื่องตัวกลางของแสง + เฉลยใบงาน ครูออมวิทย์นี้.

  • ข้อมูลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสงในวิทยาศาสตร์ ป.4 เรื่องตัวกลางของแสง + เฉลยใบงาน ครูออมวิทย์ที่สมบูรณ์ที่สุด
  • แชร์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสง
  • ภาพที่เกี่ยวข้องกับเอกสารเกี่ยวกับข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสง
  • คีย์เวิร์ดที่เกี่ยวข้องกับข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสง

ข้อมูลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสงในวิทยาศาสตร์ ป.4 เรื่องตัวกลางของแสง + เฉลยใบงาน ครูออมวิทย์ที่สมบูรณ์ที่สุด

ชมวิดีโอด้านล่างเลย

ที่เว็บไซต์Mukilteo Montessoriคุณสามารถอัปเดตข้อมูลอื่นที่ไม่ใช่ข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสงเพื่อข้อมูลเชิงลึกที่มีคุณค่ามากขึ้นสำหรับคุณ ในหน้าmukilteomontessori.com เราอัปเดตเนื้อหาใหม่และถูกต้องสำหรับผู้ใช้เสมอ, ด้วยความปรารถนาที่จะให้บริการคุณข่าวสารที่สมบูรณ์ที่สุด ช่วยให้คุณอัพเดทข่าวสารออนไลน์ได้อย่างแม่นยำที่สุด.

แชร์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสง

ตัวกลางของแสง

ภาพที่เกี่ยวข้องกับเอกสารเกี่ยวกับข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสง

ใบ งาน เรื่อง แสง ป 4
วิทยาศาสตร์ ป.4 เรื่องตัวกลางของแสง + เฉลยใบงาน ครูออมวิทย์

นอกจากการอ่านเนื้อหาของบทความนี้แล้ว วิทยาศาสตร์ ป.4 เรื่องตัวกลางของแสง + เฉลยใบงาน ครูออมวิทย์ คุณสามารถดูและอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมด้านล่าง

คลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลใหม่

คีย์เวิร์ดที่เกี่ยวข้องกับข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสง

#วทยาศาสตร #ป4 #เรองตวกลางของแสง #เฉลยใบงาน #ครออมวทย.

iMovie.

วิทยาศาสตร์ ป.4 เรื่องตัวกลางของแสง + เฉลยใบงาน ครูออมวิทย์.

ข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสง.

หวังว่าคุณค่าที่เรามอบให้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการอ่านข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง แสงข้อมูลของเรา

Laurie Hurlock

Laurie Hurlock เป็นบล็อกเกอร์ที่แบ่งปันความรู้และบล็อกที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยซึ่งปัจจุบันจัดการเว็บไซต์ Mukilteo Montessori นี้ หัวข้อในเว็บไซต์ของเรารวมถึงการศึกษาหลักสูตรความรู้การเรียนรู้และข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่ mukilteomontessori.com ของเราคุณจะพบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษาหลักสูตรการเรียนรู้และอื่น ๆ

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง แสงเคลื่อนที่อย่างไร

จุดประสงค์การเรียนรู้     อธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสง

วัสดุอุปกรณ์     

1. ชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง             1                  ชุด

2. ไม้ขีดไฟ                                    1                  กลัก

3. ธูป                                          1                  ก้าน

4. ไม้บรรทัด                                  1                  อัน

วิธีการทดลอง

1. เปิดหลอดไฟชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง สังเกตและบันทึกผล

2. สอดก้านธูปลงในรูชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง สังเกตและบันทึกผลว่าแนวลำแสงมีลักษะเป็นอย่างไร            โดยใช้ไม้บรรทัดทาบ

บันทึกการปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสง

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

1.แหล่งกำเนิดแสง คือ อะไร

ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………..

2. จากการทดลองชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง แสงมีการเคลื่อนที่อย่างไร

ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………..

3. ลำแสงที่เห็นอยู่ในทิศทางใดบ้าง

ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………..

4. ตัวกลางของแสงคืออะไร

ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………..

5. นักเรียนวาดภาพการเคลื่อนที่ของแสง

 

เมื่อจุดธูปแล้วสอดเข้าไปในกล่อง

 

เฉลยบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสง

1. แหล่งกำเนิดแสง คือ อะไร

ตอบ หลอดไฟฟ้า

2. จากการทดลองชุดสาธิตการเคลื่อนที่ของแสง แสงมีการเคลื่อนที่อย่างไร

ตอบ แสงมีการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง

3. ลำแสงที่เห็นอยู่ในทิศทางใดบ้าง

ตอบ ทุกทิศทาง

4. ตัวกลางของแสงคืออะไร

ตอบ หลอดไฟ

5. นักเรียนวาดภาพการเคลื่อนที่ของแสง

 

เมื่อจุดธูปแล้วสอดเข้าไปในกล่อง

 

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การมองเห็น

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

กิจกรรมที่ 1

ถ้าการมองเห็นไม่ชัดเจนจะทำให้เกิดผลอย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

กิจกรรมที่ 2

1. ให้นักเรียนบอกส่วนประกอบของดวงตาตามภาพต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

2. นักเรียนมีวิธีการรักษาดวงตาของเราให้ปลอดภัย และไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อดวงตาของเรา

    อย่างไรบ้าง

.................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การมองเห็น

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

กิจกรรมที่ 1

ถ้าการมองเห็นไม่ชัดเจนจะทำให้เกิดผลอย่างไร

แนวคำตอบ ถ้าการมองเห็นไม่ชัดเจนจะทำให้การใช้ชีวิตประจำวันลำบากขึ้น หรืออาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้เนื่องจากมองไม่เห็น

กิจกรรมที่ 2

1. ให้นักเรียนบอกส่วนประกอบของดวงตาตามภาพต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

2. นักเรียนมีวิธีการรักษาดวงตาของเราให้ปลอดภัย และไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อดวงตาของเรา

    อย่างไรบ้าง

แนวคำตอบ      1. รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อสายตา

                   2. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ

                   3. ไม่เพ่งมองแสงจ้านานๆ เช่นแสงอาทิตย์

                   4. ไม่อ่านหนังสือในที่มีแสงสว่างไม่เพียงพอ

                   5. ไม่ขยี้ตาแรงๆ

                   6. เมื่อตามีปัญหาให้ไปพบจักษุแพทย์

ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องการมองเห็นวัตถุไม่มีแสงในตัวเอง

คำชี้แจงให้นักเรียนสังเกตและบันทึกผลในตาราง

ตารางบันทึกผล

รายการ

ลักษณะที่สังเกตได้

เมื่อมองผ่านช่องเข้าไปในกล่องที่ปิดสนิท

เปิดไฟฉายแล้วมองวัตถุในกล่องผ่านช่อง

คำถามหลังการทดลอง

1. เมื่อมองผ่านช่องเข้าไปในกล่องที่ปิดสนิท นักเรียนมองเห็นหรือไม่ เพราะเหตุใด

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

2. เมื่อเปิดไฟฉายในกล่องแล้ว นักเรียนสามารถมองเห็นหรือไม่ เพราะเหตุใด

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

3. สิ่งที่ช่วยให้เราสามารถมองเห็นสิ่งของในกล่องคืออะไร

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองได้อย่างไร

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

5.  ให้นักเรียนเขียนรังสีของแสงในการมองเห็นวัตถุที่ไม่มีแสงในตัวเอง และเขียนอธิบายประกอบ

เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องการมองเห็นวัตถุไม่มีแสงในตัวเอง

คำชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตและบันทึกผลในตาราง

ตารางบันทึกผล

รายการ

ลักษณะที่สังเกตได้

เมื่อมองผ่านช่องเข้าไปในกล่องที่ปิดสนิท

มืด มองไม่เห็นวัตถุในกล่อง

เปิดไฟฉายแล้วมองวัตถุในกล่องผ่านช่อง

มองเห็นตุ๊กตาอยู่ในกล่อง

คำถามหลังการทดลอง

1. เมื่อมองผ่านช่องเข้าไปในกล่องที่ปิดสนิท นักเรียนมองเห็นหรือไม่ เพราะเหตุใด

          มองไม่เห็น เพราะไม่มีแสงจากวัตถุในกล่องเข้าตา

2. เมื่อเปิดไฟฉายในกล่องแล้ว นักเรียนสามารถมองเห็นหรือไม่ เพราะเหตุใด

          มองเห็น เพราะแสงจากไฟฉายกระทบตุ๊กตาแล้วสะท้อนเข้าตา

3. สิ่งที่ช่วยให้เราสามารถมองเห็นสิ่งของในกล่องคืออะไร

          แสงจากไฟฉาย

4. จะสรุปผลการทดลองได้อย่างไร

เราสามารถเห็นวัตถุที่ไม่มีแสงในตัวเองได้ เมื่อมีแสงจากแหล่งกำเนิดอื่นไปกระทบวัตถุนั้นแล้วสะท้อนเข้าตาเรา

5.  ให้นักเรียนเขียนรังสีของแสงในการมองเห็นวัตถุที่ไม่มีแสงในตัวเอง และเขียนอธิบายประกอบ

ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

 

          แนวคำตอบ เราสามารถเห็นตุ๊กตาได้ เพราะมีแสงจากไฟฉายไปกระทบตุ๊กตาแล้วสะท้อนเข้าตาเรา

หรือ มองเห็นวัตถุที่ไม่มีแสงในตัวเองได้เพราะแสงจากภายนอกห้องกระทบวัตถุแล้วสะท้อนเข้าตา

ใบกิจกรรมที่ 4.1 เรื่อง การมองเห็นแสงผ่านวัตถุต่างๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้

     ทดลองและสรุปการมองเห็นแหล่งกำเนิดแสงผ่านวัตถุชนิดต่างๆ ได้   

วัสดุอุปกรณ์

     1. เทียนไข ไม้ขีดไฟ

     2. กระจกฝ้า

     3. กระจกใส

     4. กระจกเงา

     5. กระดาษไข

     6. กระดาษ

     7. ผ้า

     8. ไม้

     9. พลาสติกใสพลาสติกสีขุ่น

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม

     1. จุดเทียนไขตั้งไว้บนโต๊ะ

     2. นำกระจกฝ้า มากั้นเปลวเทียนไข โดยให้กระจกฝ้าห่างจากเปลวเทียนไข 10 เซนติเมตร

     3. ให้มองเปลวเทียนไขผ่านกระจกฝ้า สังเกตลักษณะการมองเห็นเปลวเทียนไข บันทึกผลในแบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

     4. ปฏิบัติกิจกรรมเช่นเดียวกันกับข้อ 2 และข้อ 3 แต่เปลี่ยนกระจกฝ้าเป็น กระจกใส กระจกเงา

กระดาษไขกระดาษ ผ้า ไม้ พลาสติกใส พลาสติกสีขุ่น เรียงตามลำดับที่ละรายการ บันทึกผล

บันทึกการปฏิบัติกิจกรรมที่ 4.1 เรื่องการมองเห็นแสงผ่านวัตถุต่าง ๆ

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

วัตถุที่เห็นเปลวเทียนไข                   ได้ชัดเจน

วัตถุที่เห็นเปลวเทียนไข

ได้ไม่ชัดเจน

ไม่สามารถมองเห็น

เปลวเทียนไข

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1. การมองเห็นเปลวเทียนไขผ่านวัตถุต่างๆได้เหมือนกันหรือไม่  อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านสามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ชัดเจน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

3. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านสามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ไม่ชัดเจน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.  วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านไม่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองได้อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(การมองผ่านวัตถุต่าง ๆ ไปยังเปลวเทียนไข พบว่า เมื่อมองผ่านกระจกใส พลาสติกใส สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ชัดเจน เมื่อมองผ่านกระดาษไข  กระจกฝ้า พลาสติกสีขุ่น สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ไม่ชัดเจน เมื่อมองผ่าน ไม้ ผ้า ไม่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้)

เฉลยบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมที่ 4.1 เรื่องการมองเห็นแสงผ่านวัตถุต่าง ๆ

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

วัตถุที่เห็นเปลวเทียนไขได้ชัดเจน

วัตถุที่เห็นเปลวเทียนไขได้ไม่ชัดเจน

ไม่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไข

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

          1. การมองเห็นเปลวเทียนไขผ่านวัตถุต่างๆได้เหมือนกันหรือไม่  อย่างไร

แนวคำตอบ ไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับชนิดของตัวกลางมากั้นแสง

          2. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านสามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ชัดเจน

แนวคำตอบ กระจกใส และพลาสติกใส

          3. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านสามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ไม่ชัดเจน

แนวคำตอบ กระจกฝ้า กระดาษไข และพลาสติกขุ่น

           4. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านไม่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้

แนวคำตอบ กระดาษ ผ้า กระจกเงา และไม้

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองได้อย่างไร

แนวคำตอบ การมองผ่านวัตถุต่างๆ ไปยังเปลวเทียนไข พบว่า เมื่อมองผ่านกระจกใส พลาสติกใส สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ชัดเจน เมื่อมองผ่านกระดาษไข  กระจกฝ้า พลาสติกสีขุ่น สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ไม่ชัดเจน เมื่อมองผ่าน ไม้ ผ้า ไม่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้

ใบกิจกรรมเรื่องที่ 4.2 เรื่อง ตัวกลางของแสง

จุดประสงค์การเรียนรู้

          ทดลองและจำแนกวัตถุออกตามการมองเห็นแสงจากแหล่งกำเนิดแสงได้

วัสดุอุปกรณ์

วัสดุอุปกรณ์ที่ครูเตรียมให้

     1. เทียนไข, ไม้ขีดไฟ

     2. แก้วน้ำเปล่า, แก้วบรรจุน้ำ

     3. กระจกสีชา

     4. กระจกใส, กระจกเงา

     5. กระดาษไข

     6. กระดาษแข็ง

     7. จานกระเบื้อง

     8. เศษกระเบื้องมุงหลังคา

     9. แก้วเซรามิก

     10. ฯลฯ ที่นักเรียนสนใจนำมาศึกษาทดลองอย่างน้อยคนละ 5 ตัวอย่าง

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม

     1. สังเกตลักษณะวัตถุต่างๆที่ละรายการแล้วคาดคะเนว่าถ้านำไปกั้นเปลวเทียนไขแล้ว จะสามารถมองเห็น
         เปลวเทียนไขได้ในลักษณะใด บันผลการคาดคะเนในแบบบันทึกกิจกรรม

     2. จุดเทียนไขตั้งไว้บนโต๊ะ

     3. นำแก้วน้ำเปล่า (แก้วใส) มากั้นเปลวเทียนไข โดยให้แก้วน้ำเปล่าห่างจากเปลวเทียนไข 10 เซนติเมตร

     4. ให้มองเปลวเทียนไขผ่านแก้วน้ำเปล่า สังเกตลักษณะการมองเห็นเปลวเทียนไข บันทึกผลในแบบบันทึก
         ผลการมองเห็นเปลวเทียนไขในช่องผลการทดลองปฏิบัติกิจกรรม

     5. ปฏิบัติกิจกรรมเช่นเดียวกันกับข้อ 3 และข้อ 4 แต่เปลี่ยนวัตถุที่ละรายการ เรียงตามลำดับ   
         บันทึกผล

แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมที่ 4.2 เรื่อง ตัวกลางของแสง

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

ชื่อวัตถุ

ผลการคาดคะเน

ผลการทดลอง

มองเห็นชัดเจน

มองเห็น

ไม่ชัดเจน

มองไม่เห็น

มองเห็นชัดเจน

มองเห็น

ไม่ชัดเจน

มองไม่เห็น

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

     1. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านสามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ชัดเจน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………

     2. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านสามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ไม่ชัดเจน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

     3. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านไม่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

     4. การมองเห็นเปลวเทียนไขผ่านวัตถุต่างๆได้เหมือนกันหรือไม่  อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

     5. ถ้าให้นักเรียนจำแนกวัตถุที่นำมาศึกษาออกเป็นกลุ่ม จะจำแนกได้กี่กลุ่มอะไรบ้าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองได้อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เฉลยบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมที่ 4.2 เรื่อง ตัวกลางของแสง

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

ชื่อวัตถุ

ผลการคาดคะเน

ผลการทดลอง

มองเห็นชัดเจน

มองเห็น

ไม่ชัดเจน

มองไม่เห็น

มองเห็นชัดเจน

มองเห็น

ไม่ชัดเจน

มองไม่เห็น

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านสามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ชัดเจน

แนวคำตอบ แก้วน้ำเปล่า แก้วบรรจุน้ำ กระจกสีชา

2. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านสามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ไม่ชัดเจน

แนวคำตอบ กระดาษไข

3. วัตถุใดบ้างเมื่อมองผ่านไม่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้

แนวคำตอบ กระจกเงา กระดาษแข็ง จานกระเบื้อง เศษกระเบื้องมุงหลังคา แผ่นเซรามิก

4. การมองเห็นเปลวเทียนไขผ่านวัตถุต่างๆได้เหมือนกันหรือไม่  อย่างไร

แนวคำตอบ ไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับตัวกลางที่นำมากั้นแสง

5. ถ้าให้นักเรียนจำแนกวัตถุที่นำมาศึกษาออกเป็นกลุ่ม จะจำแนกได้กี่กลุ่มอะไรบ้าง

แนวคำตอบ3 กลุ่ม สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขชัดเจน มองเห็นไม่ชัดเจน และมองไม่เห็น

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองได้อย่างไร

แนวคำตอบ การมองผ่านวัตถุต่างๆไปยังเปลวเทียนไข พบว่า สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ชัดเจนไม่เท่ากัน แต่บางชนิดมองไม่เห็น ดังนั้นจึงสามารถจำแนกวัตถุต่าง ๆ ที่นำมาศึกษาได้เป็น 3 กลุ่ม ตามลักษณะการมองเห็น โดยวัตถุที่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ขัดเจน เรียกว่าตัวกลางโปร่งใส วัตถุที่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ไม่ขัดเจน เรียกว่าตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุที่ไม่สามารถมองเห็นเปลวเทียนไขได้ เรียก                วัตถุทึบแสง

ใบกิจกรรมที่ 4.3 เรื่อง ตัวกลางของแสงแสงและการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

จุดประสงค์การเรียนรู้

     สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้

คำชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม

     1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการนำวัตถุที่เป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่นสืบค้นทางอินเตอร์เน็ตใบความรู้ หรือจากประสบการณ์ ในชีวิตประจำวันแล้วบันทึกผลในแบบบันทึกกิจกรรม

     2. ตอบคำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

ชื่อวัตถุ

ประเภทตัวกลาง

วัตถุ

ทึบแสง

การนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

โปร่งแสง

โปร่งใส

กระจกใส

P

ใช้ทำกระจกตู้เพื่อโชว์ของที่อยู่ภายใน

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1.    การนำวัตถุที่เป็นตัวกลางโปร่งใส นำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร เพราะเหตุใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.    การนำวัตถุที่เป็นตัวกลางโปร่งแสงนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร เพราะเหตุใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.    การนำวัตถุทึบแสงนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร เพราะเหตุใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.    ตัวกลางโปร่งแสงและวัตถุทึบแสง มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเหมือนกันหรือไม่เพราะเหตุใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองได้อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เฉลยใบกิจกรรมที่ 4.3 เรื่อง ตัวกลางของแสงแสงและการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

จุดประสงค์การเรียนรู้

     สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้

คำชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม

     1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการนำวัตถุที่เป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสงไปใช้
        ประโยชน์ในชีวิตประจำวันจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่นสืบค้นทางอินเตอร์เน็ตใบความรู้ หรือจาก
        ประสบการณ์ในชีวิตประจำวันแล้วบันทึกผลในแบบบันทึกกิจกรรม

     2. ตอบคำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

ชื่อวัตถุ

ประเภทตัวกลาง

วัตถุ

ทึบแสง

การนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

โปร่งแสง

โปร่งใส

กระจกใส

P

ใช้ทำกระจกตู้เพื่อโชว์ของที่อยู่ภายใน

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1.       การนำวัตถุที่เป็นตัวกลางโปร่งใส นำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร เพราะเหตุใด

ใช้สำหรับกรณีที่ต้องการลำแสงผ่านวัตถุนั้นเป็นลำแสงลักษณะเดิม  เพราะจะทำให้มองเห็นวัตถุข้างหน้าได้อย่างชัดเจน  เช่น  กระจกใส

2.    การนำวัตถุที่เป็นตัวกลางโปร่งแสงนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร เพราะเหตุใด

ใช้สำหรับกรณีที่ต้องการลำแสงผ่านวัตถุนั้นฟุ้งกระจายไม่เป็นลำแสงเช่นเดิม  เพราะจะทำให้มองเห็นไม่ชัดเจนนัก  เช่น  กระจกฝ้า แผ่นฟิล์มกรองแสง

3.    การนำวัตถุทึบแสงนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร เพราะเหตุใด

ใช้สำหรับกรณีที่ไม่ต้องการลำแสงผ่านวัตถุนั้นได้เลย  เพราะจะทำให้มองไม่เห็นวัตถุข้างหน้าได้เลย เช่น  ไม้  ผนังห้องคอนกรีต

4.    ตัวกลางโปร่งแสงและวัตถุทึบแสงมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเหมือนกันหรือไม่ เพราะเหตุใด

ไม่เหมือนกัน เพราะตัวกลางโปร่งแสงใช้สำหรับวัตถุที่เราต้องการให้แสงผ่านเข้ามาได้บางส่วนเช่น  กระจกฝ้า ส่วนวัตถุทึบแสงใช้สำหรับวัตถุที่เราไม่ต้องการแสงผ่านวัตถุนั้นมาได้เลย เช่น ผนังห้องคอนกรีต

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองได้อย่างไร

แนวคำตอบ ในชีวิตประจำวันสามารถนำวัตถุที่เป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่ง และวัตถุทึบแสงมาใช้ประโยชน์ได้ต่างกัน ตามจุดประสงค์ของการใช้งาน

ใบกิจกรรมที่ 5.1 เรื่องการเกิดเงา (ตอน 1)

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลองการเกิดเงา

อุปกรณ์ 

     1. ดินน้ำมัน, ก้อนหิน, ยางลบ, ดินสอ    

     2. ไฟฉาย  

     3. ฉากกระดาษแข็ง

วิธีทดลอง 

     1. วางไฟฉายและฉากห่างกัน 20 เซนติเมตร

 

ที่มา:บทเรียนออนไลน์ กระทรวงศึกษาธิการ https://www.youtube.com/watch?v=fcIBApz02fI

 

     2. วางดินน้ำมันปั้นเป็นทรงกลมขนาด 2 เซนติเมตร ระหว่างฉากกับไฟฉาย

     3. เปิดไฟฉายแล้วสังเกตลักษณะเงาที่ปรากฏ บันทึกผลการทดลอง

     4. เปลี่ยนวัตถุอื่น (ก้อนหิน ยางลบ ดินสอ) แทนดินน้ำมัน บันทึกผลการทดลอง

บันทึกผลการทดลอง

รายการ

ภาพที่ปรากฏบนฉาก

1. ดินน้ำมัน

2. ก้อนหิน

3. ยางลบ

4. ดินสอ

สรุปผลการทดลอง

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

ใบกิจกรรมที่ 5.2 เรื่องการเกิดเงา (ตอน 2)

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลอง เงาเปลี่ยนไป

อุปกรณ์ 

     1. ดินน้ำมัน, ก้อนหิน, ยางลบ, ดินสอ    

     2. ไฟฉาย

     3. ฉากกระดาษแข็ง

วิธีทดลอง 

     1. ให้นักเรียนวางไฟฉายและฉากห่างกัน 20 เซนติเมตร

     2. วางดินน้ำมันปั้นเป็นทรงกลมขนาด 2 เซนติเมตร ระหว่างฉากกับไฟฉาย

     3. เปิดไฟฉายแล้วสังเกตลักษณะเงาที่ปรากฏ บันทึกผลการทดลอง

     4. ให้นักเรียนเลื่อนดินน้ำมันเข้าและออกจากฉาก บันทึกผลการทดลอง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของเงา            ที่เกิดขึ้น

     5. ให้นักเรียนเลื่อนฉากเข้าและออกโดยให้ดินน้ำมันอยู่กับที่ บันทึกผลการทดลอง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของเงาที่เกิดขึ้น

บันทึกผลการทดลอง

รายการ

ภาพที่ปรากฏบนฉาก

 1.

 2.

3.

4.

5.

สรุปผลการทดลอง

...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

เฉลยใบกิจกรรมที่ 5.1 เรื่องการเกิดเงา (ตอน 1)

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลองการเกิดเงา

อุปกรณ์ 

     1. ดินน้ำมัน, ก้อนหิน, ยางลบ, ดินสอ    

     2. ไฟฉาย  

     3. ฉากกระดาษแข็ง

วิธีทดลอง 

     1. วางไฟฉายและฉากห่างกัน 20 เซนติเมตร

 

ที่มา:บทเรียนออนไลน์ กระทรวงศึกษาธิการ https://www.youtube.com/watch?v=fcIBApz02fI

 

     2. วางดินน้ำมันปั้นเป็นทรงกลมขนาด 2 เซนติเมตร ระหว่างฉากกับไฟฉาย

     3. เปิดไฟฉายแล้วสังเกตลักษณะเงาที่ปรากฏ บันทึกผลการทดลอง

     4. เปลี่ยนวัตถุอื่น (ก้อนหิน ยางลบ ดินสอ) แทนดินน้ำมัน บันทึกผลการทดลอง

บันทึกผลการทดลอง

รายการ

ภาพที่ปรากฏบนฉาก

 1.ดินน้ำมัน

ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

รูปที่ปรากฏ มีรูปร่างของวัตถุที่นำมาเงาสีดำทึบ

 

 2.ก้อนหิน

3. ยางลบ

4. ดินสอ

สรุปผลการทดลอง เมื่อนำวัตถุทึบแสงไปกั้นแสงที่ตกกระทบฉาก จะเกิดเงาบนฉากรับแสง ตามรูปร่างของวัตถุนั้นเงาจะมี 2 ลักษณะคือ เงามืด เป็นพื้นที่บนฉากที่ไม่มีแสงตกกระทบ และเงามัวเป็นพื้นที่รอบเงามืดที่มีแสงสว่างบางส่วนตกกระทบ

ใบกิจกรรมที่ 5.2 เรื่องการเกิดเงา แ(ตอน 2)

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลอง เงาเปลี่ยนไป

อุปกรณ์ 

     1. ดินน้ำมัน, ก้อนหิน, ยางลบ, ดินสอ    

     2. ไฟฉาย

     3. ฉากกระดาษแข็ง

วิธีทดลอง 

     1. ให้นักเรียนวางไฟฉายและฉากห่างกัน 20 เซนติเมตร

     2. วางดินน้ำมันปั้นเป็นทรงกลมขนาด 2 เซนติเมตร ระหว่างฉากกับไฟฉาย

    3. เปิดไฟฉายแล้วสังเกตลักษณะเงาที่ปรากฏ บันทึกผลการทดลอง

    4. ให้นักเรียนเลื่อนดินน้ำมันเข้าและออกจากฉาก บันทึกผลการทดลอง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของเงาที่เกิดขึ้น

     5. ให้นักเรียนเลื่อนฉากเข้าและออกโดยให้ดินน้ำมันอยู่กับที่ บันทึกผลการทดลอง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของเงาที่เกิดขึ้น

บันทึกผลการทดลอง

รายการ

ภาพที่ปรากฏบนฉาก

 1.

คำอธิบาย: คำอธิบาย: เฉลยเงาปกติ 2.jpg

 2.

คำอธิบาย: คำอธิบาย: เฉลยเงามืดใหญ่.jpg

3.

คำอธิบาย: คำอธิบาย: เฉลยเงามืดเล็ก.jpg

4.

คำอธิบาย: คำอธิบาย: เฉลยเงามืดใหญ่.jpg

5.

คำอธิบาย: คำอธิบาย: เฉลยเงามืดเล็ก.jpg

สรุปผลการทดลอง

          เมื่อนำวัตถุมากั้นแสงจะเกิดเงาบนฉาก ลักษณะของเงาขึ้นอยู่กับระยะทางระหว่างวัตถุกับแหล่งกำเนิดแสง และระยะทางระหว่างวัตถุกับฉาก เมื่อวัตถุใกล้ฉากเงามืดมีลักษณะใหญ่ขึ้นเงามัวจะเล็กลง เมื่อวัตถุห่างจากฉาก เงามืดจะใหญ่ขึ้นเงามัวจะเล็ก


เฉลยใบกิจกรรมที่ 6.1 เรื่อง การสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ 

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลองการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ

อุปกรณ์ 

     1. กระจกเงา         1  บาน

     2. กระดาษเปล่า      1  แผ่น

     3. คลิปหนีบ          1  อัน

     4. ครึ่งวงกลมวัดมุม  1  อัน

     5. ดินสอ             1  แท่ง

     6. ไม้บรรทัด         1  อัน

     7. ไฟฉายเลเซอร์    1  อัน

วิธีทดลอง  ผผ

     1. ขีดเส้นตั้งฉากบนกระดาษดังรูปภาพ

     2. ให้นักเรียนนำกระจกเงาวางตั้งฉากบนกระดาษพื้นราบโดยใช้คลิปดำหนีบ

     3. ให้นักเรียนฉายไฟฉายเลเซอร์ฉายไปยังกระจกเงา  วาดแนวแสงที่ตกกระทบกระจกเงาและแสงที่สะท้อนออกมาบนกระดาษ

     4. ให้นักเรียนวัดมุมระหว่างเส้นตั้งฉากกับแนวกระจกเงา(เส้นปกติ)กับแนวแสงที่พุ่งจากไฟฉากไปยังกระจกเงา (มุมตกกระทบ) และมุมระหว่างเส้นตั้งฉากกับแนวกระจกเงา(เส้นปกติ)กับแนวแสงที่พุ่งจากกระจกเงา(มุมสะท้อน)

     5. ให้นักเรียนบันทึกกิจกรรมการทดลอง

คำอธิบาย: C:\Users\pc-lampang\Desktop\แผน DLIT  ป.4  เทอม 1\รูป\IMG_20150828_112038.jpgคำอธิบาย: C:\Users\pc-lampang\Desktop\แผน DLIT  ป.4  เทอม 1\รูป\IMG_20150828_112332.jpgคำอธิบาย: C:\Users\pc-lampang\Desktop\แผน DLIT  ป.4  เทอม 1\รูป\IMG_20150828_112646.jpg


บันทึกผลการทดลอง

การทดลอง

มุมตกกระทบ

มุมสะท้อน

ครั้งที่  1

ครั้งที่  2

ครั้งที่  3

สรุปผลการทดลอง

 แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะท้อนของแสง  โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน


ใบกิจกรรมการทดลองที่ 6.2 เรื่อง การสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ 

คำอธิบาย: C:\Users\pc-lampang\Desktop\แผน DLIT  ป.4  เทอม 1\รูป\IMG_20150828_112646.jpg

คำชี้แจง  จากภาพ  จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. การสะท้อนของแสง หมายถึงอะไร

...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

2. กฎการสะท้อนของแสงมีว่าอย่างไร 

...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

3. จงให้ความหมายคำศัพท์เกี่ยวกับการสะท้อนของแสง ดังนี้

   1.1 รังสีตกกระทบ  หมายถึง..............................................................................................................................................................................

   1.2  รังสีสะท้อน  หมายถึง..............................................................................................................................................................................

    1.3 เส้นปกติ คือ หมายถึง..............................................................................................................................................................................

    1.4 มุมตกกระทบ  หมายถึง..............................................................................................................................................................................

    1.5 มุมสะท้อน  หมายถึง..............................................................................................................................................................................

ผเฉลยใบกิจกรรมการทดลองที่ 6.2 เรื่อง การสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ 

คำอธิบาย: C:\Users\pc-lampang\Desktop\แผน DLIT  ป.4  เทอม 1\รูป\IMG_20150828_112646.jpg

คำชี้แจง  จากภาพ  จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. การสะท้อนของแสง หมายถึงอะไร

 แสงเมื่อตกกระทบวัตถุจะเกิดมุมตกกระทบและมุมสะท้อน

2. กฎการสะท้อนของแสงมีว่าอย่างไร 

 แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะท้อนของแสง โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

3. จงให้ความหมายคำศัพท์เกี่ยวกับการสะท้อนของแสง ดังนี้

          1.1 รังสีตกกระทบ  หมายถึง  แนวรังสีจากแหล่งกำเนิดแสงที่ตกกระทบวัตถุ

          1.2  รังสีสะท้อน  หมายถึง  แนวรังสีที่สะท้อนจากวัตถุ

          1.3 เส้นปกติ คือ หมายถึง  เส้นตั้งฉากกับผิววัตถุ ที่ตำแหน่งแนวรังสีตกกระทบ

          1.4 มุมตกกระทบ  หมายถึง  เป็นมุมระหว่างแนวรังสีตกกระทบกับเส้นปกติ

          1.5 มุมสะท้อน  หมายถึง  เป็นมุมระหว่างแนวรังสีสะท้อนกับเส้นปกติ

ใบกิจกรรมการทดลองที่ 7.1 เรื่อง ภาพการสะท้อนของแสงจากกระจกเงา

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลองภาพการสะท้อนของแสงจากกระจกเงา

อุปกรณ์ 

     1. กระจกเงา                   1  บานหรือมากกว่าขึ้นอยู่กับจำนวนนักเรียน

     2. กระดาษเปล่าคนละ         1  แผ่น

วิธีทดลอง 

     1. วางกระจกเงา 1 บาน หน้าชั้นเรียน 

     2. ให้นักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียน 1 คน  จากนั้นให้นักเรียนยืนหน้ากระจก 

     3. ให้นักเรียนที่ยืนหน้ากระจก  ยกแขนขวาและแขนซ้ายขึ้นชูทีละข้าง  และให้นักเรียนในชั้นเรียนสังเกตภาพที่เกิดขึ้น

     4. นำแผ่นกระดาษเปล่าคนละ 1 แผ่นแล้วเขียนข้อความคนละ 1 ประโยคสั้นๆ

     5. นำข้อความดังกล่าวถือไว้หน้ากระจก สังเกตการเปลี่ยนแปลง เขียนข้อความที่เห็นในกระจกลงในกระดาษให้เหมือนกันภาพในกระจกโดยเขียนลงในใบบันทึกกิจกรรมการทดลอง

บันทึกผลการทดลอง

รายการ

ภาพที่ปรากฏบนกระจกเงา

 1. นักเรียนที่ยืนหน้ากระจก  ยกแขนขวา

............................................................................................................................................................................................................................

 2. นักเรียนที่ยืนหน้ากระจก  ยกแขนซ้าย

............................................................................................................................................................................................................................

3. ข้อความที่นักเรียนเขียน.......................................

............................................................................................................................................................................................................................

สรุปผลการทดลอง........................................................................................................................................


เฉลยใบกิจกรรมการทดลองที่ 7.1 เรื่อง ภาพการสะท้อนของแสงจากกระจกเงา

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลองภาพการสะท้อนของแสงจากกระจกเงา

อุปกรณ์ 

     1. กระจกเงา            1  บานหรือมากกว่าขึ้นอยู่กับจำนวนนักเรียน

     2. กระดาษเปล่าคนละ  1  แผ่น

วิธีทดลอง 

     1. วางกระจกเงา 1 บาน หน้าชั้นเรียน 

     2. ให้นักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียน 1 คน  จากนั้นให้นักเรียนยืนหน้ากระจก 

     3. ให้นักเรียนที่ยืนหน้ากระจก  ยกแขนขวาและแขนซ้ายขึ้นชูทีละข้าง  และให้นักเรียนในชั้นเรียนสังเกตภาพที่เกิดขึ้น

     4. นำแผ่นกระดาษเปล่าคนละ 1 แผ่นแล้วเขียนข้อความคนละ 1 ประโยคสั้นๆ

     5. นำข้อความดังกล่าวถือไว้หน้ากระจก สังเกตการเปลี่ยนแปลง เขียนข้อความที่เห็นในกระจกลงในกระดาษให้เหมือนกันภาพในกระจกโดยเขียนลงในใบบันทึกกิจกรรมการทดลอง

บันทึกผลการทดลอง

รายการ

ภาพที่ปรากฏบนกระจกเงา

 1. นักเรียนที่ยืนหน้ากระจก  ยกแขนขวา

นักเรียนยกแขนซ้าย

 2. นักเรียนที่ยืนหน้ากระจก  ยกแขนซ้าย

นักเรียนยกแขนขวา

3. ข้อความที่นักเรียนเขียน

(ตัวอักษรหัวตั้งกลับด้านจากซ้ายเป็นขวา)

สรุปผลการทดลอง

ภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงา จะมีลักษณะหัวตั้งเหมือนวัตถุแต่กลับซ้ายเป็นขวากับวัตถุ


ใบกิจกรรมการทดลองที่ 7.2 เรื่อง มองหาเพื่อนในกระจกเงา

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลองมองหาเพื่อนในกระจกเงา

อุปกรณ์ 

     1. กระจกเงา         1  บานหรือมากกว่าขึ้นอยู่กับจำนวนนักเรียน

วิธีทดลอง 

     1. ตั้งกระจกเงาบนโต๊ะ  แล้วนั่งห่างออกไปประมาณ  1 เมตรหันหน้าเข้าหากระจกเงา

     2. ให้นักเรียนออกมาปรับกระจกจนมองเห็นหน้าเพื่อนที่นั่งมุมอื่นๆ ของห้อง

     3. ถามเพื่อนว่าเห็นหน้าเราหรือไม่ในขณะที่เรามองเห็นเขา

     4. ให้นักเรียนทำการทดลองบันทึกกิจกรรมการทดลอง

จากการทดลอง  จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. เมื่อเรามองเห็นหน้าเพื่อนในกระจกเงา  เพื่อนมองเห็นหน้าเราด้วยหรือไม่  เพราะเหตุใด

............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

2. จงเขียนเส้นแสดงการเดินทางของแสงที่ทำให้นักเรียนทั้งสองคนในภาพมองเห็นกันและกัน  พร้อมอธิบายการเดินทางของแสง

............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คำอธิบาย: C:\Users\pc-lampang\Desktop\แผน DLIT  ป.4
เทอม 1\รูป\IMG_20150828_074735.jpg

3. สรุปผลได้ว่าอย่างไร............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................


เฉลยใบกิจกรรมการทดลองที่ 7.2 เรื่อง มองหาเพื่อนในกระจกเงา

คำชี้แจง  ให้นักเรียนทดลองมองหาเพื่อนในกระจกเงา

อุปกรณ์ 

     1. กระจกเงา         1  บานหรือมากกว่าขึ้นอยู่กับจำนวนนักเรียน

วิธีทดลอง 

     1. ตั้งกระจกเงาบนโต๊ะ  แล้วนั่งห่างออกไปประมาณ  1 เมตรหันหน้าเข้าหากระจกเงา

     2. ให้นักเรียนออกมาปรับกระจกจนมองเห็นหน้าเพื่อนที่นั่งมุมอื่นๆของห้อง

     3. ถามเพื่อนว่าเห็นหน้าเราหรือไม่ในขณะที่เรามองเห็นเขา

     4. ให้นักเรียนทำการทดลองบันทึกกิจกรรมการทดลอง

จากการทดลอง  จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. เมื่อเรามองเห็นหน้าเพื่อนในกระจกเงา  เพื่อนมองเห็นหน้าเราด้วยหรือไม่  เพราะเหตุใด

เพื่อนก็มองเห็นหน้าเราเช่นกัน เพราะภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาเข้าตาเราเป็นไปตามกฎการสะท้อนมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

 2. จงเขียนเส้นแสดงการเดินทางของแสงที่ทำให้นักเรียนทั้งสองคนในภาพมองเห็นกันและกัน  พร้อมอธิบายการเดินทางของแสง

(แล้วแต่ดุลพินิจของครูผู้สอน)

คำอธิบาย: C:\Users\pc-lampang\Desktop\แผน DLIT  ป.4  เทอม 1\รูป\IMG_20150828_074735.jpg

3. สรุปผลได้ว่าอย่างไร

ภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาเข้าตาเราเป็นไปตามกฎการสะท้อนมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 8.1

เรื่อง การเดินทางของแสงผ่านตัวกลาง 2 ชนิดที่มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

วิธีการทดลอง

ลักษณะเส้น

แนวการเดินทางของแสง

วาดภาพแสดง

ลักษณะการเดินทางของแสง

ฉายรังสีของแสง 1 เส้น เข้าไปกระทบผิวของแท่งพลาสติกใส

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1. เมื่อฉายรังสีแสงผ่านตัวกลางที่เป็นอากาศไปยังตัวกลางที่เป็นแท่งพลาสติกใส ความหนาแน่นของตัวกลางทั้งสองเป็นอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………2. เมื่อแสงเดินทางจากอากาศกระทบแท่งพลาสติกแล้วผ่านเข้าไปในแท่งพลาสติกเส้นแนวการเดินทางของแสงเป็นอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………3. จากการทดลองนี้แนวการหักเหของแสงเกิดขึ้นกี่แห่ง บริเวณใดบ้าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. การหักเหของแสงเกิดขึ้นได้อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………5. สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองได้อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมที่
ที่ 8.1

เรื่อง การเดินทางของแสงผ่านตัวกลาง 2 ชนิดที่มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

วิธีการทดลอง

ลักษณะเส้น

แนวการเดินทางของแสง

วาดภาพแสดง

ลักษณะการเดินทางของแสง

ฉายรังสีของแสง 1 เส้น เข้าไปกระทบผิวของแท่งพลาสติกใส

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1. เมื่อฉายรังสีแสงผ่านตัวกลางที่เป็นอากาศไปยังตัวกลางที่เป็นแท่งพลาสติกใส ความหนาแน่นของตัวกลางทั้งสองเป็นอย่างไร

แนวคำตอบ อากาศเป็นตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าแท่งพลาสติกใส

2. เมื่อแสงเดินทางจากอากาศกระทบแท่งพลาสติกแล้วผ่านเข้าไปในแท่งพลาสติกเส้นแนวการเดินทางของแสงเป็นอย่างไร

แนวคำตอบ เส้นแนวการเดินทางของแสงเกิดการหักเหไม่เป็นแนวเส้นตรงเดียวกัน

3. จากการทดลองนี้แนวการหักเหของแสงเกิดขึ้นกี่แห่ง บริเวณใดบ้าง

แนวคำตอบ เกิดขึ้น 2 แห่ง คือบริเวณรอยต่อตัวกลางที่เป็นอากาศกับตัวกลางที่เป็นแท่งพลาสติกใส และบริเวณรอยต่อตัวกลางที่เป็นแท่งพลาสติกใสกับตัวกลางที่เป็นอากาศ

4. การหักเหของแสงเกิดขึ้นได้อย่างไร

แนวคำตอบ แสงเดินทางผ่านตัวกลาง 2 ชนิด ที่มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน

5. สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองได้อย่างไร

แนวคำตอบ แสงเมื่อเดินทางผ่านตัวกลาง 2 ชนิด ที่มีความหนาแน่นไม่เท่า เส้นแนวการเดินทางของแสงจะเปลี่ยนไปจากแนวเดิม เรียกว่าการหักเหของแสง


ใบกิจกรรมที่ 8.2 เรื่อง การหักเหของแสง

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

จุดประสงค์การเรียนรู้

          อธิบายผลการหักเหของแสงผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นต่างกันได้

วัสดุอุปกรณ์

     1. แก้วน้ำ

     2. น้ำ

     3. ไม้บรรทัด

     4. ดินสอ

     5. ถ้วยแก้ว

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม

     1. นำดินสอใส่ในถ้วยแก้ว สังเกตดินสอที่อยู่ในถ้วยแก้ว บันทึกผล

     2. เติมน้ำลงในถ้วยแก้วให้ท่วมดินสอ สังเกตดินสอที่อยู่ในถ้วยแก้วอีกครั้ง บันทึกผล

     3. นำไม้บรรทัดใส่ในแก้วน้ำ สังเกตไม้บรรทัด บันทึกผล

     4. เติมน้ำลงในแก้วให้ระดับน้ำอยู่ครึ่งแก้ว สังเกตไม้บรรทัดอีกครั้ง บันทึกผล


ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

วิธีการทดลอง

ผลการสังเกตดินสอ

ลักษณะที่สังเกตเห็น

ภาพวาด

ดินสอในถ้วยแก้วที่ไม่น้ำ

ดินสอในถ้วยแก้วที่มีน้ำ

ไม้บรรทัดในแก้วน้ำที่ไม่น้ำ

ไม้บรรทัดในแก้วน้ำที่มีน้ำ

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1. ลักษณะดินสอในถ้วยแก้วที่มีน้ำกับไม่มีน้ำ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. ลักษณะไม้บรรทัดในแก้วน้ำที่มีน้ำ กับไม่มีน้ำแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองนี้ได้อย่างไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………


เฉลยใบกิจกรรมที่ 8.2 เรื่อง การหักเหของแสง

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

จุดประสงค์การเรียนรู้

     อธิบายผลการหักเหของแสงผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นต่างกันได้

วัสดุอุปกรณ์

     1. แก้วน้ำ

     2. น้ำ

     3. ไม้บรรทัด

     4. ดินสอ

     5. ถ้วยแก้ว

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม

     1. นำดินสอใส่ในถ้วยแก้ว สังเกตดินสอที่อยู่ในถ้วยแก้ว บันทึกผล

     2. เติมน้ำลงในถ้วยแก้วให้ท่วมดินสอ สังเกตดินสอที่อยู่ในถ้วยแก้วอีกครั้ง บันทึกผล

     3. นำไม้บรรทัดใส่ในแก้วน้ำ สังเกตไม้บรรทัด บันทึกผล

     4. เติมน้ำลงในแก้วให้ระดับน้ำอยู่ครึ่งแก้ว สังเกตไม้บรรทัดอีกครั้ง บันทึกผล


ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

วิธีการทดลอง

ผลการสังเกตดินสอ

ลักษณะที่สังเกตเห็น

ภาพวาด

ดินสอในถ้วยแก้วที่ไม่น้ำ

ดินสอในถ้วยแก้วที่มีน้ำ

ไม้บรรทัดในแก้วน้ำที่ไม่น้ำ

ไม้บรรทัดในแก้วน้ำที่มีน้ำ

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

     1. ลักษณะดินสอในถ้วยแก้วที่มีน้ำกับไม่มีน้ำ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

แนวคำตอบ  แตกต่างกันคือถ้าไม่มีน้ำจะเห็นดินสอเป็นแท่งตรง ถ้ามีน้ำจะมองเห็นเหมือนดินสอหัก                     (ไม่เป็นเส้นตรง)

2. ลักษณะไม้บรรทัดในแก้วน้ำที่มีน้ำ กับไม่มีน้ำแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

แนวคำตอบ แตกต่างกันคือถ้าไม่มีน้ำจะเห็นไม้บรรทัดเป็นเส้นตรง ถ้ามีน้ำจะมองเห็นเหมือนไม้บรรทัดหัก                 (ไม่เป็นเส้นตรง)

     3. สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองนี้ได้อย่างไร

แนวคำตอบ การหักเหของแสงทำให้มองเห็นวัตถุแตกต่างจากความเป็นจริง


ใบกิจกรรมที่ 8.3 สรุปองค์ความรู้ เรื่อง การหักเห

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

จุดประสงค์การเรียนรู้

     สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้

คำชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม

     1. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันศึกษาจากใบความรู้ เรื่องการหักเหของแสง หรือสืบค้นจากอินเตอร์เน็ตแล้วร่วมกันสรุปสาระการเรียนรู้ที่สำคัญบันทึกองค์ความรู้ในแบบบันทึกกิจกรรม

     2. ตอบคำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

เขียนแผนผังสรุปองค์ความรู้เรื่อง การหักเหของแสง

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1. การหักเหของแสงเกิดขึ้นได้อย่างไรจงอธิบาย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

2. แนวเส้นตั้งฉาก คือ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………3. แนวการหักเหของแสง เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยไปหาตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากมีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

4. แนวการหักเหของแสง เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากไปหาตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยมีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

5. ถ้าแสงผ่านตัวกลาง 2 ชนิดที่ไม่ใช่ตัวกลางโปร่งใส นักเรียนคิดว่าแนวการเดินทางของแสงจะเกิดการหักเหหรือไม่ จงอธิบาย

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

6. ผลจากการหักเหของแสง มีผลต่อการมองเห็นของวัตถุหรือไม่ อย่างไรจงอธิบาย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………


เฉลยใบกิจกรรมที่ 8.3 สรุปองค์ความรู้ เรื่อง การหักเห

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

จุดประสงค์การเรียนรู้

     สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้

คำชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม

     1. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันศึกษาจากใบความรู้ เรื่องการหักเหของแสง หรือสืบค้นจากอินเตอร์เน็ตแล้วร่วมกันสรุปสาระการเรียนรู้ที่สำคัญบันทึกองค์ความรู้ในแบบบันทึกกิจกรรม

     2. ตอบคำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

เขียนแผนผังสรุปองค์ความรู้เรื่อง การหักเหของแสง

 

คำถามหลังการปฏิบัติกิจกรรม

1. การหักเหของแสงเกิดขึ้นได้อย่างไรจงอธิบาย

แนวคำตอบ เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางชนิดหนึ่งไปยังอีกตัวกลางชนิดหนึ่งที่มีความหนาแน่นแตกต่างกันสาเหตุที่ทำให้แสงหักเหเนื่องจากอัตราเร็วของแสงในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน การหักเหของแสงเกิดขึ้นตรงผิวรอยต่อของตัวกลาง

2. แนวเส้นตั้งฉาก คือแนวคำตอบเส้นสมมติที่ลากมาตั้งฉากกับตัวกลางทั้งสองชนิด

3. แนวการหักเหของแสง เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยไปหาตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากมีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย

แนวคำตอบ เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยเข้าสู่ตัวกลางที่มี

ความหนาแน่นมากกว่าแสงจะหักเหเข้าหาเส้นแนวฉากเช่นแสงเดินทางจากอากาศ (ความหนาแน่นน้อย) ไปสู่แท่งพลาสติกใส (ความหนาแน่นมาก)

4. แนวการหักเหของแสง เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากไปหาตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยมีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย

แนวคำตอบ เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากเข้าสู่ตัวกลางที่

มีความหนาแน่นน้อยกว่า แสงจะหักเหออกจากเส้นแนวฉากเช่นแสงเดินทางจากแท่งพลาสติกใส (ความหนาแน่นมาก) ไปสู่อากาศ (ความหนาแน่นน้อย)

5. ถ้าแสงผ่านตัวกลาง 2 ชนิดที่ไม่ใช่ตัวกลางโปร่งใส นักเรียนคิดว่าแนวการเดินทางของแสงจะเกิดการหักเหหรือไม่ จงอธิบาย

แนวคำตอบ แนวการเดินทางของแสงจะเกิดการหักเหเพราะแสงเดินทางผ่านตัวกลางสองชนิดขึ้นไป

6. ผลจากการหักเหของแสง มีผลต่อการมองเห็นของวัตถุหรือไม่ อย่างไรจงอธิบาย

แนวคำตอบ การหักเหของแสงมีผลต่อการมองเห็นของวัตถุเช่น

1.       การมองเห็นสิ่งต่างๆ  ที่อยู่ในน้ำอยู่ตื้นกว่าความเป็นจริง เช่น การมองดูปลาที่อยู่ในน้ำตื้นกว่าความเป็นจริง  การมองเห็นสระว่ายน้ำตื้นกว่าที่เป็นจริง  การมองเห็นพระอาทิตย์ในเวลาเช้าและเย็นมีขนาดใหญ่กว่าเวลากลางวัน

2.       การทำให้มองเห็นวัตถุหักงอ เช่น เห็นช้อนหรือหลอดที่อยู่ในแก้วที่มีน้ำหักงอ

3.       เมื่อมองวัตถุผ่านน้ำไปยังอากาศจะทำให้มองเห็นวัตถุอยู่ไกลและใหญ่กว่าความเป็นจริง

4.       ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำ ซึ่งเกิดจากการหักเหของแสงอาทิตย์ผ่านละอองน้ำในอากาศ

5.       การใช้แว่นขยายทำให้เห็นวัตถุโตขึ้น เพราะแสงจะหักเหเมื่อผ่านเลนส์นูน


ใบกิจกรรมที่ 9 เรื่อง แสงที่กระทบปริซึม

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

คำชี้แจง  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติดังนี้

     1. อ่านวิธีทำกิจกรรมการทดลองให้เข้าใจ

     2. ตอบคำถามก่อนทำกิจกรรม

     3. ทำกิจกรรมและบันทึกผล

     4. ตอบคำถามหลังทำกิจกรรม

วัสดุอุปกรณ์

     1. กระดาษโปสเตอร์ขาว       1        แผ่น

     2. เทปกาว                      1        ม้วน

     3. ไฟฉาย                       1        กระบอก

     4. ปริซึม                        1        อัน

วิธีทำ

     1. ปิดกระดาษโปสเตอร์ขาวบนผนังห้องทำเป็นฉาก ทำให้ห้องมืดโดยปิดไฟ ปิดหน้าต่าง เปิดไฟฉาย
         ส่องไปที่กระดาษโปสเตอร์ขาว สังเกตผล

     2. ให้เพื่อนถือปริซึมให้ด้านฐานอยู่ข้างล่าง ดังภาพที่ 1

ส่องไฟฉายไปที่ปริซึม สังเกตสิ่งที่ปรากฏบนฉาก บันทึกผล

     3. ให้เพื่อนหมุนปริซึมให้ด้านฐานอยู่ข้างบน ดังภาพที่ 2 สังเกตและบันทึกผล

คำถามก่อนทำกิจกรรม

1. ถ้าแสงตกกระทบวัตถุใส จะเกิดอะไรขึ้น.......................................................................................................

2. นักเรียนคิดว่า เมื่อส่องไฟฉายไปยังปริซึม จะสังเกตเห็นอะไรบนฉาก...........................................................

...........................................................................................................................................................................

3. จุดประสงค์ของการทดลองนี้ คืออะไร............................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

บันทึกผลการทำกิจกรรม

การทดลอง

ผลการสังเกต

1. เมื่อส่องไฟฉายไปที่กระดาษโปสเตอร์ขาว

2. เมื่อลำแสงผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างล่าง

3. เมื่อลำแสงผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างบน

คำถามหลังทำกิจกรรม

1. แสงจากไฟฉายที่ปรากฏบนกระดาษโปสเตอร์ขาวต่างจากแสงที่ผ่านปริซึมอย่างไร......................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

2. แสงที่ผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างล่างต่างจากแสงที่ผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างบนอย่างไร

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

3. นักเรียนจะอธิบายปรากฏการณ์ที่สังเกตเห็นได้อย่างไร.................................................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

4. นักเรียนเคยเห็นรุ้งกินน้ำหรือไม่ รุ้งกินน้ำที่เกิดในธรรมชาติมีลักษณะอย่างไร................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

5. สิ่งที่นักเรียนสังเกตเห็นจากการทดลองนี้กับรุ้งกินน้ำต่างกันอย่างไร.............................................................

...........................................................................................................................................................................

6. เมื่อเกิดรุ้งกินน้ำ สิ่งใดในธรรมชาติที่ทำหน้าที่เหมือนปริซึม..........................................................................

...........................................................................................................................................................................

บันทึกผลการทำกิจกรรม

การทดลอง

ผลการสังเกต

1. เมื่อส่องไฟฉายไปที่กระดาษโปสเตอร์ขาว

2. เมื่อลำแสงผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างล่าง

3. เมื่อลำแสงผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างบน

คำถามหลังทำกิจกรรม

1. แสงจากไฟฉายที่ปรากฏบนกระดาษโปสเตอร์ขาวต่างจากแสงที่ผ่านปริซึมอย่างไร......................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

2. แสงที่ผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างล่างต่างจากแสงที่ผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างบนอย่างไร

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

3. นักเรียนจะอธิบายปรากฏการณ์ที่สังเกตเห็นได้อย่างไร.................................................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

4. นักเรียนเคยเห็นรุ้งกินน้ำหรือไม่ รุ้งกินน้ำที่เกิดในธรรมชาติมีลักษณะอย่างไร................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

5. สิ่งที่นักเรียนสังเกตเห็นจากการทดลองนี้กับรุ้งกินน้ำต่างกันอย่างไร.............................................................

...........................................................................................................................................................................

6. เมื่อเกิดรุ้งกินน้ำ สิ่งใดในธรรมชาติที่ทำหน้าที่เหมือนปริซึม..........................................................................

...........................................................................................................................................................................


เฉลยใบกิจกรรมที่ 9 เรื่องแสงที่กระทบปริซึม

คำถามก่อนทำกิจกรรม

1. ถ้าแสงตกกระทบวัตถุใส จะเกิดอะไรขึ้น (แนวคำตอบ เกิดการสะท้อนและแสงทะลุผ่านวัตถุใสนั้น)

2. นักเรียนคิดว่า เมื่อส่องไฟฉายไปยังปริซึม จะสังเกตเห็นอะไรบนฉาก (แนวคำตอบ เกิดแถมสีต่างๆ บนฉาก)3. จุดประสงค์ของการทดลองนี้ คืออะไร (แนวคำตอบ เพื่อให้ทราบถึงองค์ประกอบของแสงขาว)

บันทึกผลการทำกิจกรรม

การทดลอง

ผลการสังเกต

1. เมื่อส่องไฟฉายไปที่กระดาษโปสเตอร์ขาว

(แนวคำตอบ เกิดการสะท้อนและแสงทะลุผ่านวัตถุใสนั้น)

2. เมื่อลำแสงผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างล่าง

(แนวคำตอบ เมื่อให้ แสงขาว (แสงอาทิตย์) ส่องผ่าน แท่งปริซึม  ซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ จะเกิดการหักเหของแสง แต่เนื่องจากแท่งปริซึมมีความหนาไม่เท่ากัน และแสงสีต่างๆ ในแสงขาวก็มี ค่าพลังงานไม่เท่ากัน ทำให้เคลื่อนที่ของแสงผ่านแท่งปริซึมเร็วไม่เท่ากัน จึงแยกให้เห็นเป็น 7 สี คือ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด และ แดง)

3. เมื่อลำแสงผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างบน

(แนวคำตอบ เมื่อให้ แสงขาว (แสงอาทิตย์)            ส่องผ่าน แท่งปริซึม  ซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ จะเกิดการหักเหของแสง แต่เนื่องจากแท่งปริซึมมีความหนาไม่เท่ากัน และแสงสีต่างๆ ในแสงขาวก็มี ค่าพลังงานไม่เท่ากัน ทำให้เคลื่อนที่ของแสงผ่านแท่งปริซึมเร็วไม่เท่ากัน 

จึงแยกให้เห็นเป็น 7 สี คือ แดง แสด เหลือง เขียว น้ำเงิน คราม ม่วง)

คำถามหลังทำกิจกรรม

1. แสงจากไฟฉายที่ปรากฏบนกระดาษโปสเตอร์ขาวต่างจากแสงที่ผ่านปริซึมอย่างไร

(แนวคำตอบแสงจากไฟฉายเป็นแสงทีขาว ต่างจากแสงที่ผ่านปริซึมซึ่งเป็นแสงสีต่าง ๆแยกให้เห็นเป็น 7 สี คือ แดง แสด เหลือง เขียว น้ำเงิน คราม ม่วง)

2. แสงที่ผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างล่างต่างจากแสงที่ผ่านปริซึมที่ด้านฐานอยู่ข้างบนอย่างไร

(แนวคำตอบแถบแสงสีต่างๆ จะแยกออกมากลับกัน)

3. นักเรียนจะอธิบายปรากฏการณ์ที่สังเกตเห็นได้อย่างไร

 (แนวคำตอบ เมื่อให้ แสงขาว (แสงอาทิตย์) ส่องผ่าน แท่งปริซึม  ซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ จะเกิดการหักเหของแสง แต่เนื่องจากแท่งปริซึมมีความหนาไม่เท่ากัน และแสงสีต่างๆ ในแสงขาวก็มี ค่าพลังงานไม่เท่ากัน ทำให้เคลื่อนที่ของแสงผ่านแท่งปริซึมเร็วไม่เท่ากัน จึงแยกให้เห็นเป็น 7 สี คือ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด และ แดง)

4. นักเรียนเคยเห็นรุ้งกินน้ำหรือไม่ รุ้งกินน้ำที่เกิดในธรรมชาติมีลักษณะอย่างไร

(แนวคำตอบ เคยเห็น รุ้งกินน้ำมีลักษณะเป็นแถบสี จะอยู่ด้านตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์ และอยู่ด้านเดียวกับละอองน้ำ (ละอองฝน) ดังนั้น เวลาจะมองหารุ้งกินน้ำ ให้หันหลังให้ดวงอาทิตย์เสมอ)

5. สิ่งที่นักเรียนสังเกตเห็นจากการทดลองนี้กับรุ้งกินน้ำต่างกันอย่างไร

(แนวคำตอบ รุ้งกินน้ำที่เห็นตามธรรมชาติจะโค้ง ส่มีลักษณะเป็นแถบสี จะอยู่ด้านตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์ และอยู่ด้านเดียวกับละอองน้ำ นการทดลองนี้จะเป็นแถบสีเส้นตรง)

6. เมื่อเกิดรุ้งกินน้ำ สิ่งใดในธรรมชาติที่ทำหน้าที่เหมือนปริซึม

 (แนวคำตอบ ละอองน้ำ)


บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

เขียนแผนผังสรุปองค์ความรู้เรื่อง แสงขาวประกอบด้วยแสงสีใดบ้าง

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอน

(แสงขาวจากแหล่งกำเนิดต่างๆ สามารถใช้ปริซึมแยกออกเป็นแสงสีต่างๆ จัดเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้เป็นแสงสี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง ตามละดับ)


ใบกิจกรรมที่ 10 เรื่อง การเกิดรุ้งกินน้ำ

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

อุปกรณ์

     1. ขวดฉีดละอองน้ำ           

     2. น้ำ                                    

วิธีการทดลอง

     1. เติมน้ำให้เต็มขวดฉีดละอองน้ำแล้วออกไปยืนในบริเวณสนามของโรงเรียนหรือบริเวณที่มีแดดจ้า

     2. ยืนหันหน้าให้ดวงอาทิตย์แล้วฉีดน้ำจากขวดฉีดละอองน้ำให้เป็นฝอยเล็กๆสังเกตสิ่งที่เห็นบันทึกผล

     3. ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่ยืนหันหลังให้ดวงอาทิตย์สังเกตสิ่งที่เห็นบันทึกผลเปรียบเทียบกับเมื่อยืนหันหน้าให้ดวงอาทิตย์    

ตารางบันทึกผล

สิ่งที่ปฏิบัติ

สิ่งที่สังเกตเห็น

ยืนหันหน้าให้ดวงอาทิตย์

ยืนหันหลังให้ดวงอาทิตย์

สรุปผลการทดลอง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……

คำถามประกอบกิจกรรม

1. ตำแหน่งของการเกิดรุ้งมีความสัมพันธ์กับตำแหน่งของดวงอาทิตย์ลักษณะใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………

2. นักเรียนมองเห็นแสงสีอะไรในตัวรุ้งบ้าง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. องค์ประกอบที่จะทำให้เกิดรุ้งมีอะไรบ้าง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ในชีวิตประจำวันของเราจะมองเห็นรุ้งเมื่อใด      

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


เฉลยใบกิจกรรมที่ 10 เรื่อง การเกิดรุ้งกินน้ำ

ชื่อ........................................................................................................เลขที่..............ชั้น ป. 4

อุปกรณ์

     1. ขวดฉีดละอองน้ำ           

     2. น้ำ                                    

วิธีการทดลอง

     1. เติมน้ำให้เต็มขวดฉีดละอองน้ำแล้วออกไปยืนในบริเวณสนามของโรงเรียนหรือบริเวณที่มีแดดจ้า

     2. ยืนหันหน้าให้ดวงอาทิตย์แล้วฉีดน้ำจากขวดฉีดละอองน้ำให้เป็นฝอยเล็กๆสังเกตสิ่งที่เห็นบันทึกผล

     3. ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่ยืนหันหลังให้ดวงอาทิตย์สังเกตสิ่งที่เห็นบันทึกผลเปรียบเทียบกับเมื่อยืนหันหน้าให้ดวงอาทิตย์    

ตารางบันทึกผล

สิ่งที่ปฏิบัติ

สิ่งที่สังเกตเห็น

ยืนหันหน้าให้ดวงอาทิตย์

(แนวคำตอบ ไม่เห็นแถบแสงสีรุ้ง)

ยืนหันหลังให้ดวงอาทิตย์

(แนวคำตอบ เห็นแถบแสงสีรุ้ง)

สรุปผลการทดลอง

 (แนวคำตอบ การเกิดรุ้งรุ้งเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นเมื่อในอากาศมีละอองน้ำอยู่มาก เช่น หลังฝนตกใหม่ๆ โดยเกิดขึ้นในทิศทางตรงข้ามกับตำแหน่งของดวงอาทิตย์ แสงขาวจากดวงอาทิตย์จะหักเหผ่านละอองน้ำแล้วกระจายออกเป็นแสงสีต่างๆ มาเข้าตาทำให้มองเห็นเป็นกลุ่มละอองน้ำเป็นแถบสี

ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายของแสงที่มักเห็นกันบ่อยๆ คือ รุ้ง ซึ่งเราอาจเห็นก่อนหรือหลังฝนตกก็ได้ โดยสังเกตได้จากตำแหน่งที่เหมาะสม การเกิดรุ้งนั้น มีสาเหตุจากการที่แสงแดดส่องผ่านละอองน้ำ หรือหยดน้ำที่มีอยู่มากก่อนหรือหลังฝนตก แล้วเกิดการกระจายของแสงและการสะท้อนกลับหมด ทำให้ได้สเปกตรัมของแสงขาว)

คำถามประกอบกิจกรรม

1. ตำแหน่งของการเกิดรุ้งมีความสัมพันธ์กับตำแหน่งของดวงอาทิตย์ลักษณะใด

(แนวคำตอบ รุ้งกินน้ำจะเกิดขึ้นในทิศทางตรงข้ามกับตำแหน่งของดวงอาทิตย์)

2. นักเรียนมองเห็นแสงสีอะไรในตัวรุ้งบ้าง

(แนวคำตอบ แสงสี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง ตามละดับ)

3. องค์ประกอบที่จะทำให้เกิดรุ้งมีอะไรบ้าง

(แนวคำตอบ องค์ประกอบที่จะทำให้เกิดรุ้งได้แก่ แสงขาวจากดวงอาทิตย์จะหักเหผ่านละอองน้ำ             แล้วกระจายออกเป็นแสงสีต่างๆ มาเข้าตาทำให้มองเห็นเป็นกลุ่มละอองน้ำเป็นแถบสี)

4. ในชีวิตประจำวันของเราจะมองเห็นรุ้งเมื่อใด      

(แนวคำตอบ เราจะมองเห็นรุ้งหลังฝนตกใหม่ๆ โดยเกิดขึ้นในทิศทางตรงข้ามกับตำแหน่งของ              ดวงอาทิตย์)


ใบกิจกรรมที่ 11 เรื่องการเปลี่ยนพลังงานแสง

          วัสดุ-อุปกรณ์

               เครื่องคิดเลขที่ที่ใช้ระบบเซลล์สุริยะ จำนวน  1 เครื่องต่อ 1  กลุ่ม

          วิธีการทดลอง

                1. นำเครื่องคิดเลขมาและสังเกตบริเวณตรงถ่านของเครื่องคิดเลขว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร

                2. พิจารณาสังเกตส่วนประกอบบริเวณตรงด้านหน้าของเครื่องคิดเลข

                3. เมื่อกดบริเวณ ปุ่ม ON  เครื่องคิดเลขจะเป็นอย่างไร

                4. ใช้กระดาษปิดบริเวณตรงแผงสี่เหลี่ยมเล็กๆ ประมาณ  5  นาที ของเครื่องคิดเลขแล้ว
                    สังเกตผล บันทึกผลการทดลอง

                5. นำกระดาษที่ปิดแผงสี่เหลี่ยมเล็กๆของเครื่องคิดเลขออก แล้วสังเกตผล บันทึกผลการทดลอง

ตารางบันทึกผลการทดลอง

การทดลอง

ผลการสังเกต

1. เมื่อวางเครื่องคิดเลขไว้ในที่มีแสงแดดแล้วกดตัวเลข

2. เมื่อใช้มือหรือกระดาษปิดที่แผงรับแสงอาทิตย์ของเครื่องคิดเลข

สรุปผลการทดลอง

..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................