การ สำรวจ ภาวะการ เจริญ เติบโต ทางร่างกายของตนเอง กับ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อ ใด สัมพันธ์ กัน มาก ที่สุด

ค่า BMI คือค่าดัชนีที่ใช้ชี้วัดความสมดุลของน้ำหนักตัว (กิโลกรัม) และส่วนสูง (เซนติเมตร) ซึ่งสามารถระบุได้ว่า ตอนนี้รูปร่างของคนคนนั้นอยู่ในระดับใด ตั้งแต่อ้วนมากไปจนถึงผอมเกินไป

Body Mass Index (BMI) มีสูตรการคำนวณ = น้ำหนักตัว[Kg] / (ส่วนสูง[m] ยกกำลังสอง) สูตรคำนวณเหมาะสำหรับใช้ประเมินผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ประโยชน์ของการวัดค่า BMI เพื่อดูอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ตรวจสอบภาวะไขมันและความอ้วน ดังนั้นการทำให้ร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งกับผู้ที่ต้องการรักษาสุขภาพในระยะยาว

อ้วนมาก = 30.0 ขึ้นไป

ค่อนข้างอันตราย เสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายแรงที่แฝงมากับความอ้วน หากค่า BMI อยู่ในระดับนี้ จะต้องปรับพฤติกรรมการทานอาหาร และควรเริ่มออกกำลังกาย และหากเลขยิ่งสูงกว่า 40.0 ยิ่งแสดงถึงความอ้วนที่มากขึ้น ควรไปตรวจสุขภาพ และปรึกษาแพทย์

อ้วน = 25.0 - 29.9

อ้วนในระดับหนึ่ง ถึงแม้จะไม่ถึงเกณฑ์ที่ถือว่าอ้วนมาก ๆ แต่ก็ยังมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่มากับความอ้วนได้เช่นกัน ทั้งโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ควรปรับพฤติกรรมการทานอาหาร ออกกำลังกาย และตรวจสุขภาพ

น้ำหนักปกติ เหมาะสม = 18.6 - 24

น้ำหนักที่เหมาะสมสำหรับคนไทยคือค่า BMI ระหว่าง 18.5-24 จัดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ห่างไกลโรคที่เกิดจากความอ้วน และมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ น้อยที่สุด ควรพยายามรักษาระดับค่า BMI ให้อยู่ในระดับนี้ให้นานที่สุด และควรตรวจสุขภาพทุกปี

ผอมเกินไป = น้อยกว่า 18.5

น้ำหนักน้อยกว่าปกติก็ไม่ค่อยดี หากคุณสูงมากแต่น้ำหนักน้อยเกินไป อาจเสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือได้รับพลังงานไม่เพียงพอ ส่งผลให้ร่างกายอ่อนเพลียง่าย การรับประทานอาหารให้เพียงพอ และการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อสามารถช่วยเพิ่มค่า BMI ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

ค่า BMI จากโปรแกรมคำนวณนี้ เป็นค่าสำหรับชาวเอเชียและคนไทย ซึ่งอาจแตกต่างกันไปในแต่ละเชื้อชาติ ค่า BMI เฉลี่ยของหญิงไทยคือ 24.4 และของชายไทยคือ 23.1 (อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป)


ค่าดัชนีมวลกาย - BMI

การ สำรวจ ภาวะการ เจริญ เติบโต ทางร่างกายของตนเอง กับ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อ ใด สัมพันธ์ กัน มาก ที่สุด

ดัชนีมวลกาย หรือ BMI ย่อมาจาก Body Mass Index เป็นค่าสากลที่ใช้เพื่อคำนวณเพื่อหาน้ำหนักตัวที่ควรจะเป็น และประมาณระดับไขมันในร่างกายโดยใช้น้ำหนักตัว และส่วนสูง

การคำนวณดัชนีมวลกายไม่ใช่การวัดโดยตรงแต่ก็เป็นตัวชี้วัดไขมันในร่างกายที่ค่อนข้างเชื่อถือได้สำหรับคนส่วนใหญ่

ค่า BMI สามารถใช้บ่งบอกความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆได้อีกด้วย เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือด ระบบหัวใจ รวมไปถึงมะเร็งบางชนิด

แต่อย่างไรก็ตามค่า BMI เป็นแค่การคำนวณเบื้องต้นเท่านั้น เนื่องจากคุณจำเป็นต้องนำปัจจัยอื่นๆ มาประกอบด้วย ทั้งเรื่องของพันธุกรรม ปริมาณกล้ามเนื้อ พฤติกรรมการกิน การใช้ชีวิต การออกกำลังกาย และอื่นๆ

แต่เนื่องจากดัชนีมวลกายมีวิธีคำนวณที่ง่าย จึงทำให้ทุกคนสามารถประเมินความเสี่ยงของตนเอง จากการมีปริมาณไขมันในร่างกายเกินได้

ข้อจำกัดของการใช้ดัชนีมวลกายในการวัดปริมาณไขมันในร่างกาย

แม้ว่าดัชนีมวลกายจะสัมพันธ์กับการวัดไขมันในร่างกายค่อนข้างมาก แต่ก็มีข้อจำกัดอยู่บ้าง โดยขึ้นอยู่กับเพศ อายุ และความสามารถทางกีฬา ข้อจำกัดเหล่านี้ได้แก่

  1. ผู้หญิงมีแนวโน้มที่จะมีปริมาณไขมันในร่างกายมากกว่าผู้ชาย
  2. คนที่อายุมากกว่ามีแนวโน้มที่จะมีปริมาณไขมันในร่างกายมากกว่าคนที่อายุน้อยกว่า
  3. นักกีฬาที่ฝึกฝนมาอย่างดีจะมีดัชนีมวลกายสูงเนื่องจากมีมวลกล้ามเนื้อมากกว่า ทำให้น้ำหนักตัวที่มากนั้นมาจากมวลกล้ามเนื้อ ไม่ใช่ไขมันองค์ประกอบของร่างกาย ไขมันในร่างกาย และดัชนีมวลกาย
ความเสี่ยงของสุขภาพจากการมีดัชนีมวลกายสูง

เหตุผลที่ใช้ดัชนีมวลกายในการคัดกรองสุขภาพของประชากรทั่วไปเนื่องจากการมีน้ำหนักเกินหรืออ้วนนั้นมีความสัมพันธ์อย่างมากกับปัญหาสุขภาพ การเกิดโรคเรื้อรัง และการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร

ผู้ที่มีน้ำหนักเกิน หรืออ้วนจะเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพต่อไปนี้เพิ่มขึ้น

  • ข้อเสื่อม
  • เบาหวาน
  • มะเร็งบางชนิด
  • ความดันโลหิตสูง
  • โรคหลอดเลือดสมอง
  • โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ หรือตัน
  • หยุดหายใจขณะหลับหรือมีปัญหาทางเดินหายใจ

วิธีการเพิ่มหรือลดค่า BMI

  1. ค่า BMI จะแปรผันตามน้ำหนักตัว หากน้ำหนักตัวเพิ่มก็จะทำให้ค่า BMI เพิ่มขึ้น ถ้าน้ำหนักตัวลดก็จะทำให้ค่า BMI ลดลงเช่นเดียวกัน
  2. ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มปริมาณการเผาผลาญพลังงานในแต่ละวัน
  3. เลือกกินอาหารที่ไขมันไม่สูง หรือทานให้ครบ 5 หมู่
  4. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ 7 ชั่วโมงต่อวัน
  5. หมั่นตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี
  6. ปรึกษาแพทย์เพื่อหาแนวทาง

© 2022 โรงพยาบาลขอนแก่นราม

1.ถ้าระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อระบบใดระบบหนึ่งทำงานผิดปกติจะส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย *

1 point

ข. น้ำหนักเพิ่มมากขึ้น มีผิวพรรณเปล่งปลั่ง

ง. สุขภาพเกิดปัญหา ร่างกายเจ็บป่วยง่าย

2.ต่อมไร้ท่อใดที่มีขนาดเล็ก  และมีความสำคัญมากที่สุด

1 point

3.ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อเป็นปัจจัยภายในร่างกายที่มีผลต่อวัยรุ่นอย่างไร

1 point

ก. ขับถ่ายปัสสาวะและของเสีย

ข. ควบคุมความรู้สึกของร่างกาย

ค. ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ

ง. กระตุ้นความต้องการทางเพศ

4.วิธีการดูแลรักษาใดช่วยให้การทำงานของระบบประสาทสามารถทำงานได้อย่างเป็นปกติ

1 point

ก. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์

ค. ฝึกบริหารจิตสร้างสมาธิ

ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ค.

5.เมื่อนักเรียนพบว่ามีความผิดปกติต่ออวัยวะต่างๆ ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อเกิดขึ้น  นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร

1 point

ง. รับประทานอาหารเพิ่มขึ้น

6. การสำรวจภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน  ข้อใดสัมพันธ์กันมากที่สุด

1 point

ก. อายุ น้ำหนัก การเรียนรู้

ข. น้ำหนัก ส่วนสูง ความคิด

ง. อายุ สติปัญญา การเรียนรู้

7. เกณฑ์มาตรฐานใดที่ใช้ในการวัดการเจริญเติบโต

1 point

ข. การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

ค. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

ง. การตรวจร่างกายโดยแพทย์

8.  ถ้าพิจารณาจากการประเมินน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง  โดยใช้ค่าดัชนีมวลกาย  (BMI)    นักเรียน       คิดว่าบุคคลใดที่มีรูปร่างสมส่วนที่สุด  

1 point

ก. แก้วมีน้ำหนัก 45 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร

ข. ก้านมีน้ำหนัก 80 กิโลกรัม ส่วนสูง 165 เซนติเมตร

ค. ก้อยมีน้ำหนัก 65 กิโลกรัม ส่วนสูง 167 เซนติเมตร

ง. กุ้งมีน้ำหนัก 75 กิโลกรัม ส่วนสูง 170 เซนติเมตร

9.  ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย  

1 point

ข. การประเมินน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ

ค. การรู้จักพฤติกรรมมนุษย์

ง. ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข้อ ค.

     10.  นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตที่สมวัย

1 point

ก. ออกกำลังกายลดความอ้วนอย่างหักโหมเป็นประจำทุกวัน

ข. รับประทานเฉพาะผักและผลไม้

ค. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่อย่างพอเพียง

ง. นอนหลับพักผ่อนวันละ 4-5 ชั่วโมง

11. เมื่อเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น  ข้อใดกล่าวถูกต้องถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์และพัฒนาการทางเพศ

1 point

ก. ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา

ค. สนใจในตนเองมากกว่าสนใจเพศตรงข้าม

ง. วัยรุ่นชายจะมีรูปร่างที่โตกว่าวัยรุ่นหญิง

12.วัยรุ่นควรยอมรับและปรับตัวอย่างไร  เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย

1 point

ก. ดูแลรักษาอนามัยของตนเอง

ข. งดอาหารเพื่อให้มีรูปร่างที่สมส่วน

13. นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับคำกล่าวที่ว่า  “วัยรุ่นเป็นวัยพายุบุแคม”

1 point

ก. เห็นด้วย เพราะวัยรุ่นมีพลังมาก

ข. เห็นด้วย เพราะวัยรุ่นมีอารมณ์ที่แปรปรวนง่าย

ค. ไม่เห็นด้วย เพราะวัยรุ่นยังรู้เท่าไม่ถึงการณ์

ง. ไม่เห็นด้วย เพราะเป็นเอกลักษณ์ของวัยรุ่น

14.ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ

1 point

ก. การอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว

ข. ความรู้สึกเก็บกดทางเพศ

ค. การมีเอกลักษณ์ทางเพศของตนเอง

ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ข้อ ค.

15.ลักษณะใดที่แสดงออกถึงพฤติกรรมการเบี่ยงเบนทางเพศที่พบเห็นได้บ่อยในปัจจุบัน

1 point

ค. ชอบดูหนังในเชิงลามก อนาจาร

ง. เป็นเกย์ เลสเบี้ยน ทอม ดี้

16. ข้อใดเป็นการล่วงละเมิดทางเพศที่เป็นการกระทำอย่างชัดเจน

1 point

ง. การส่งข้อความหรือภาพที่ส่อทางเพศ

17.สถานการณ์ใดที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการถูกล่วงละเมิดทางเพศมากที่สุด

1 point

ค. นั่งรอรถเมล์กับเพื่อนอีก 2 คน

ง. อยู่กับเพศตรงข้ามในที่ลับตา

18.ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบทางด้านจิตใจของการถูกล่วงละเมิดทางเพศ

1 point

ค. เกิดความรู้สึกผิด และสับสนต่อเรื่องเพศ

ง. ถูกกล่าวโทษ จนเป็นปมด้อย

19.ทักษะการปฏิเสธใดที่เป็นทักษะการปฏิเสธที่ดีเพื่อหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์

1 point

ก. การพูดคุยเพื่อโน้มน้าวใจ

ข. การปฏิเสธอย่างตรงไปตรงมา

ง. การแสดงออกถึงความรู้สึกของตนเอง

20.ถ้าเพื่อนชายชวนไปงานเลี้ยงที่บ้านในวันหยุด  นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร

1 point

ก. ลองไปก่อน แล้วค่อยหาโอกาสกลับบ้าน

ข. ปฏิเสธโดยอาจใช้ข้ออ้างว่านัดทานข้าวนอกบ้านกับคุณพ่อ คุณแม่ไว้แล้ว

ค. ไปเพราะเป็นเพื่อนกัน และไม่น่าจะมีอะไรเกิดขึ้น

ง. ไม่ไปถ้าเพื่อนชายไม่มาส่งกลับบ้าน

Never submit passwords through Google Forms.