อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

สมบัติเชิงกลของสาร (ของแข็ง)

ความยืดหยุ่น  เป็นสมบัีติของวัตถุที่สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมหลักถูกแรงกระทำ เช่น ยางยืด

สภาพยืดหยุ่น (elasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อมีแรงกระทำและสามารถคืนตัวกลับสู่สภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทำ

สภาพพลาสติก (plasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรูปร่างไปอย่างถาวร โดยผิววัตถุไม่ฉีกขาดหรือแตกหัก!

ขอบเขตของการยืดหยุ่น

โดยทั่วไปวัตถุที่มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ (กลับสู่สภาพเดิมได้จริง) จะเป็นวัตถุที่มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ภายในขอบเขตจำกัดเท่านั้น เรียกว่า ขอบเขตของการยืดหยุ่น

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า
รูปที่ 1

สมมติออกแรงดึงสปริงให้ยืดออก ขนาดของแรงดึงสปริงกับระยะที่ยืดออกเป็นไปตามกฏของฮุก และได้กราฟดังรูป


อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

– จุด a  คือ ขีดจำกัดการแปรผันตรง (Proportional limit) ซึ่งเป็นตำแหน่งสุดท้ายที่ความยาวสปริงยืดออก แปรผันตรงกับขนาดของแรงดึง
 – จุด b  คือ ขีดจำกัดสภาพยืดหยุ่น (Elastic limit) ซึ่งเป็นตำแหน่งสุดท้ายที่สปริงยืดออกแล้วกลับสู่สภาพเดิม แต่แรงดึงไม่แปรผันตรงกับระยะยืด
 – จุด C  คือ จุดแตกหัก (Breaking point) หมายถึงตั้งแต่จุด b เป็นต้นไป ถ้าดึงต่อไปก็ถึงจุด c ซึ่งเป็นจุดที่เส้นวัสดุขาด

ความเค้น (Stress)

แรงเค้น คือ แรงภายในของวัตถุที่ต้านแรงกระทำถ้าแรงเค้นน้อยกว่าแรงที่กระทำจะทำให้รูปร่างเปลี่ยนไป วัตถุส่วนมากจะมีรูปร่างผิดไปเล็กน้อยเมื่อมีแรงกระทำ โดยแรงที่มากระทำนั้นอาจกระทำในทิศต่าง ๆ และวัตถุเหล่านั้นส่วนใหญ่จะประพฤติตามกฎของฮุกเมื่อแรงยังน้อยกว่าขีดจำกัดสภาพยืดหยุ่น

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า
รูปที่ 2

ความเค้น (Stress) คือ อัตราส่วนของแรงเค้นต่อพื้นที่หน้าตัด  หน่วย (N/m2) ในที่นี้กล่าวเฉพาะความเค้นดึงหรือความเค้นอัด

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า
อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

หมายเหตุ : แรงเค้นที่ขีดจำกัดความยืดหยุ่น เป็นแรงที่มีค่าสูงสุด

ความเครียด (Strain) คือ อัตราส่วนของความยาวที่เปลี่ยนไปต่อความยาวเดิม (ไม่มีหน่วย) ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะความเครียดตามยาว

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า
รูปที่ 3  
อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

มอดูลัสความยืดหยุ่น (Elastic modulus ; E)

เมื่อออกแรงดึงและทำการวัดระยะยืด สามารถเขียนเป็นกราฟระหว่างความเค้นกับความเครียดได้ ดังรูป พิจารณาช่วงขีดจำกัดการแปรผันตรง จะได้ว่าความเค้นแปรผันตรงกับความเครียด หรือ อัตราส่วนระหว่างความเค้นต่อความเครียดมีค่าคงที่ ซึ่งค่าคงที่นี้เรียกว่า ค่ามอดูลัสความยืดหยุ่น (E)

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

จะได้ สำหรับค่ามอดูลัสความยืดหยุ่นของวัตถุหนึ่ง ๆ มีค่าคงที่เสมอ และ ค่ามอดูลัสความยืดหยุ่นเป็นลักษณะเฉพาะตัวของวัตถุแต่ละชนิด เมื่อออกแรงดึงเส้นวัสดุโดยไม่ให้ขนาดของแรงดึงเกินขีดจำกัดการแปรผันตรงของวัสดุ ความเค้นตามยาวจะแปรผันตรงกับความเครียดตามยาว นั่นคืออัตราส่วนระหว่างความเค้นตามยาวและความเครียดตามยาวของวัสดุชนิดหนึ่งๆ จะมีค่าคงตัว เรียกค่าคงที่นี้ว่ามอดูลัสของยัง (Young’s modulus) แทนด้วยสัญลักษณ์ Y

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า
                                                 

       F ในสมการ สำหรับสปริงหรือเส้นลวด คือ กฎของฮุก (Hook ’s Law)

หมายเหตุ : วัตถุใดที่มีค่าแรงเค้นที่ขีดจำกัดความยืดหยุ่นมากแสดงว่าทนแรงภายนอกได้มาก วัตถุใดมีค่ามอดูลัสของความยืดหยุ่นมากแสดงว่าเมื่อมีแรงภายนอกมากระทำทำให้เปลี่ยนรูปร่างได้ยาก

สมบัติเชิงกลของสาร (ของเหลว)

แรงดันและความดัน

ความหนาแน่น (density, สัญลักษณ์: ρ  อักษรกรีก อ่านว่า โร )   เป็นอัตราส่วนของมวลต่อปริมาตรของสาร  ในระบบ S.I.  มีหน่วยเป็น  กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามสมการ

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

โดยที่

      ρ คือความหนาแน่นของวัตถุ (หน่วย กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)      m คือมวลรวมของวัตถุ (หน่วย กิโลกรัม)      V คือปริมาตรรวมของวัตถุ (หน่วย ลูกบาศก์เมตร)

ความรู้เพิ่มเติม

– น้ำที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส มีความหนาแน่น  1,000 kg/m3   หรือ  103  kg/m3  ใช้เป็นค่ามาตรฐานของความหนาแน่นน้ำ

ความหนาแน่นสัมพัทธ์ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของสารนั้นกับความหนาแน่นของสารอ้างอิง ในอดีตเคยเรียกว่า ความถ่วงจำเพาะ

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

ตัวอย่าง ถ้าต้องการหาความหนาแน่นสัมพัทธ์ของสารใด ให้นำ   103  ไปหาร  เช่น ปรอทมีความหนาแน่น 13.6 x 103  kg/m3

ดังนั้น ปรอทมีความหนาแน่นสัมพัทธ์ =  13.6 x 103 / 103   =  13.6

ข้อสังเกต   – ความหนาแน่นสัมพัทธ์ไม่มีหน่วย
– ความหนาแน่นสัมพัทธ์ เดิมเรียกว่า ค่าความถ่วงจำเพาะของสาร

ความดัน 

แรงดัน หรือ ความดัน คือ ขนาดของแรงดันที่กระทำตั้งฉากต่อพื้นที่หนึ่งหน่วย

ถ้าให้  F คือ แรงดัน (N)   ,   A คือ พื้นที่ (m2)   ,  P คือ ความดัน (N/m2)

จะได้

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

รูปที่ 4

ความดันเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยนิวตันต่อตารางเมตร (N/m2) หรือพาสคัล (Pa)

แรงดันที่กดก้นภาชนะ = น้ำหนักของของเหลวส่วนที่อยู่ในแนวตั้งฉากกับพื้นที่นั้น
นั่นคือ F = W = mg

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

รูปที่ 5

แรงดันน้ำที่กระทำต่อก้นภาชนะซึ่งบรรจุน้ำลึก h มีพื้นที่ก้นภาชนะ A หาแรงดันได้จากผลคูณระหว่างความดันที่ก้นภาชนะกับพื้นที่ก้นภาชนะ

หน่วยอื่น ๆ ของความดัน
1 พาสคัล (Pa)                    =          1   นิวตัน/ ตารางเมตร (N/m2 )
1 บาร์ (Bar)                        =          1.0×105 N/m2   (นิยมใช้ในทางอุตุนิยมวิทยา)
1 บรรยากาศ                       =             1.013×105    N/m2      = 760 มม. ของปรอท

คุณสมบัติของแรงดันและความดันในของเหลว

1.  ของเหลวที่บรรจุอยู่ในภาชนะ  จะออกแรงดันต่อผนังภาชนะที่สัมผัสกับของเหลวในทุกทิศทาง  โดยจะตั้งฉากกับผนังภาชนะเสมอ
2.  ทุก ๆ จุดในของเหลว  จะมีแรงดันกระทำต่อจุดนั้นทุกทิศทุกทาง

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

รูปที่ 6

3.  สำหรับของเหลวชนิดเดียวกันความดันของของเหลวจะเพิ่มขึ้นตามความลึก  และที่ระดับความลึกเท่ากันความดันของเหลวจะเท่ากัน

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า
รูปที่ 7

4.  ในของเหลวต่างชนิดกัน  ณ  ความลึกเท่ากัน  ความดันของของเหลวจะขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของของเหลวนั้น

สรุปได้ว่า
1. ของเหลวชนิดเดียวกัน ที่ความลึกเท่ากันจะมีความดันของของเหลวเท่ากัน
2. ความดันของของเหลวขึ้นอยู่กับความลึกและความหนาแน่นของของเหลว โดยมีความสัมพันธ์แบบแปรผันตรง

ปัจจัยที่มีผลต่อความดันของของเหลว

1.  ความลึกของของเหลว

–  ของเหลวไม่ว่าจะอยู่ในภาชนะรูปร่างใดก็ตาม ถ้าที่ระดับความลึกเดียวกัน ความดันของของเหลวจะเท่ากัน

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

รูปที่ 8   ที่ระดับความลึกเดียวกัน น้ำจะมีความดันเท่ากัน

–  แต่ถ้าระดับความลึกต่างกัน ของเหลวที่อยู่ระดับลึกกว่า จะมีความดันมากกว่า

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

รูปที่ 9 ที่ระดับความลึกต่างกัน น้ำที่ระดับความลึกมากกว่าจะมีความดันมากกว่า

2.  ความหนาแน่นของของเหลว

ของเหลวต่างชนิดกันจะมีความดันต่างกัน โดยของเหลวที่มีความหนาแน่นมาก จะมีความดันสูงกว่าของเหลวที่มีความหนาแน่นน้อย

แรงที่ของเหลวกระทำต่อผนังภาชนะ

ในภาชนะที่บรรจุของเหลวจะมีแรงจากของเหลว มากระทำให้ทิศตั้งฉากกับพื้นที่ผิวภาชนะที่ของเหลวสัมผัส ขนาดของแรงที่ของเหลวกระทำ หาได้จาก ผลคูณระหว่้างความดันในของเหลวกับพื้นที่ที่ของเหลวสาัมผัส แต่เนื่องจากบางกรณีความดันไม่คงที่ อาจเนื่องมาจากความลึกไม่สม่ำเสมอ ซึ่งอาจแยกพิจารณาได้ดังต่อไปนี้

พิจารณาแรงดันของของเหลวที่กระทำต่อผนังภาชนะดังรูป

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

รูปที่ 10  กล่องสี่เหลี่ยมบรรจุของเหลวเต็ม

การหาแรงดันที่ของเหลวกระทำต่อก้นกล่อง

จาก  

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

หรือ

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

เมื่ิอไม่คิดความดันบรรยากาศ      

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

เมื่อคิดความดันบรรยากาศ  

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

การหาแรงดันที่ของเหลวกระทำต่อผนังด้านข้าง ดังรูปที่ 10 หาได้จาก

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า

เนื่องจากความลึกที่ผนังด้านข้างไม่คงที่ ดังนั้นความดันด้านข้างจะไม่คงที่ แต่เนื่องจากความดันแปรโดยตรงกับความลึก จึงอาจหา P ข้างได้จาก

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า
เมื่อ P1 คือ ความดันที่ปลายบนสุดของฝาด้านข้างที่สัมผัสของเหลว

P2 คือ ความดันที่ปลายล่างสุดของฝาด้านข้างที่สัมผัสของเหลว

หมายเหตุ  การวัดความลึกให้วัดจากผิวบนสุดของของเหลว

อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม เรียกว่า
เมื่อ  P CM คือ ความดัน ณ จุดศูนย์กลางของมวลของฝาด้านข้าง