จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

การพูดอภิปราย เป็นแบบการพูดซึ่งมีลักษณะคล้ายการสนทนาทั่วไป แต่ก็มีจุดที่แตกต่างกันอยู่ น้อง ๆ ทราบไหมคะว่าคืออะไร แล้วสรุปว่าการพูดอภิปรายคืออะไร มีหลักในการพูดอย่างไรได้บ้าง บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักและฝึกพูดให้คล่อง เพื่อที่เมื่อถึงเวลาอภิปราย จะได้ผ่านกันแบบฉลุยไร้กังวล ถ้าอยากเรียนรู้แล้วล่ะก็ ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

ความหมายของการพูดอภิปราย

 

การพูดอภิปราย หมายถึง การพูดเพื่อแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
การอภิปรายจึงเป็นการจัดเพื่อให้ส่วนรวมได้แสดงออกอย่างมีเหตุผลและหาข้อสรุปเพื่อตัดสินใจร่วมกัน

 

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

 

ความสำคัญของการอภิปราย

 

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

 

องค์ประกอบของการอภิปราย

 

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

 

ประเภทของการอภิปราย

 

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

 

  1. การอภิปรายกลุ่ม

การอภิปรายกลุ่มจะมีผู้ร่วมอภิปรายประมาณ 4-20 คน ผู้เข้าร่วมอภิปรายมีส่วนร่วมในการพูดแสดงความคิดเห็น ปรึกษาหารือและหาข้อสรุปร่วมกัน การอภิปรายกลุ่มจะไม่มีบุคคลภายนอกมาร่วมด้วย เพราะโดยส่วนมากการอภิปรายกลุ่มมักจะเป็นการประชุมอภิปรายกันเฉพาะแค่ในกลุ่มของหน่วยงานเท่านั้น

  1. การอภิปรายในที่ประชุมชน

ประชุมชน หมายถึง สาธารณชน ดังนั้นการอภิปรายในที่ประชุมชน หมายถึง การพูดอภิปรายต่อหน้าสาธารณชนโดยมีกลุ่มผู้อภิปรายและกลุ่มผู้ฟังอยู่ในที่ประชุมชนนั้นด้วย โดยทุกคนมีสิทธิในการแสดงออกความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน และกลุ่มผู้ฟังสามารถซักถามผู้อิปรายในช่วงท้ายของการอภิปรายได้ ซึ่งการอภิปรายในที่ประชุมชน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

2.1 การอภิปรายเป็นคณะ (Panel Discussion)

เป็นการอภิปรายที่มีคณะผู้อภิปรายประมาณ 3-5 คน แยกจากกลุ่มผู้ฟัง อาจจะนั่งบนเวทีและหันหน้าไปทางผู้ฟัง และมีผู้ดำเนินการอภิปรายทำหน้าที่ดำเนินตลอดการอภิปราย โดยในการอภิปรายเป็นคณะนี้ จะต้องกำหนดหัวข้อให้ชัดเจน ผู้อภิปรายจะต้องแสดงความคิดเห็นในหัวข้อของตนทีละคนภายในช่วงเวลาที่กำหนด ดังนั้น ผู้อภิปรายจะต้องศึกษาหาความรู้ ค้นคว้า เรื่องราวและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหัวข้อที่ตนจะพูดอภิปรายเพื่อนำมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในที่ประชุมชน

2.2 การอภิปรายแบบซิมโพเซียม (Symposium)

เป็นการอภิปรายของกลุ่มผู้อภิปรายที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะต้องอภิปรายกันเป็นคณะประมาณ 3-5 คน โดยมีผู้ดำเนินการอภิปรายเป็นผู้ประสานการอภิปรายเช่นเดียวกับการอภิปรายเป็นคณะ การอภิปรายแบบซิมโพเซียม มีความแตกต่างจากการอภิปรายเป็นคณะในส่วนที่เกี่ยวกับหัวข้อเรื่องที่จะอภิปราย ซึ่งผู้อภิปรายแต่ละคนจ้องมีความรู้และเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องที่จะอภิปรายอย่างลึกซึ้ง

2.3 การอภิปรายซักถาม (Colloquy)

เป็นการอภิปรายที่มีคณะบุคคลสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งจะเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่จะอภิปราย ทำหน้าที่เป็นผู้อภิปราย มีกลุ่มหนึ่งจะเป็นผู้ซักถาม โดยตลอดการดำเนินการอภิปรายจะมีผู้ประสานให้การถามและการตอบเป็นไปอย่างราบรื่น

 

หน้าที่ของผู้อภิปราย

 

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

 

 

เป็นอย่างไรบ้างคะน้อง ๆ สำหรับบทเรียนเรื่องนี้ การพูดอภิปรายเป็นพูดเพื่อแสดงความรู้ ถึงแม้จะต้องเตรียมตัวเพื่อหาข้อมูลมาพูด แต่ก็ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิดเลยนะคะ ถ้าน้อง ๆ ได้ลองฝึกพูดบ่อย ๆ รับรองว่าจะต้องพูดได้คล่อง และได้แลกเปลี่ยนความเห็น เพิ่มพูนความรู้ให้ตัวเองมากขึ้นอีกแน่นอนค่ะ สุดท้ายนี้อย่าลืมติดตามคลิปการสอนย้อนหลังของครูอุ้มเพื่อฟังคำอธิบายเพิ่มเติมนะคะ จะได้เข้าใจถึงความหมายและประเภทของการพูดอภิปรายมากขึ้นอีกด้วยค่ะ ไปชมกันเลย

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

ศึกษาประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อของเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา

ราชาธิราช เป็นวรรณคดีประเภท พงศาวดาร ที่มีการแปลมาจากพงศาวดารมอญ น้อง ๆ หลายคนคงจะทราบกันดีอยู่แล้วว่าพงศาวดารก็คือเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ แต่ทราบกันหรือไม่คะว่าทำไมในแบบเรียนภาษาไทยของเรานั้นถึงต้องเรียนเรื่องราชาธิราช ที่เป็นพงศาวดารมอญด้วย วันนี้เราจะพาน้อง ๆ ทุกคนไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเรื่องราชาธิราชรวมไปถึงเรื่องย่อ ซึ่งในบทที่เราจะเรียนนี้คือตอน สมิงพระรามอาสา เรื่องราวจะเป็นอย่างไรบ้าง ไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ราชาธิราช   ประวัติความเป็นมา     ราชาธิราชเป็นวรรณคดีร้อยแก้วที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

ศึกษาตัวบทที่น่าสนใจในวรรณคดีเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ที่น่ารักทุกคนกลับมาพบกับบทเรียนภาษาไทยที่น่าสนใจกันอีกเช่นเคย ต่อจากครั้งก่อนที่เราได้เรียนประวัติความเป็นมา เรื่องย่อ และลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีพระพุทธศาสนาเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์ไปแล้ว วันนี้เราจะมาเรียนกันต่อในส่วนที่เป็นตัวบทสำคัญ โดยจะยกตัวบทที่มีความน่าสนใจพร้อมกับถอดความมงคลทั้ง 38 ประการว่ามีอะไรบ้าง  ดังนั้น ถ้าน้อง ๆ คนไหนพร้อมแล้วก็มาเข้าสู่เนื้อหาไปพร้อม ๆ กันเลย     ประวัติความเป็นมา สำหรับประวัติความเป็นมาของเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์มาจากการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือรัชกาลที่ 6 ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงได้ถอดความอุดมมงคล 38

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

Life is Simple: ทำความรู้จัก Present Simple Tense

เรื่อง Tense (กาล) ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องที่สำคัญมากๆ อีกเรื่องหนึ่ง และ Tense ที่เป็นพื้นฐานสุดๆ และน้องๆ จะพบเจอบ่อยที่สุดก็คือ Present Simple นั่นเอง วันนี้เราจะมาปูพื้นฐานและทบทวนความรู้เรื่องนี้กันครับ

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

เซตคืออะไร? เซต คือ คำที่ใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่างๆ ทำไมต้องเรียนเซต เซตมีประโยชน์ในเรื่องของการจำแนกสิ่งต่างๆออกเป็นกลุ่มๆ อีกทั้งยังแทรกอยู่ในเนื้อหาบทอื่นๆของคณิตศาสตร์ เราจึงจำเป็นต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับเซต เพื่อที่จะเรียนเนื้อหาบทอื่นๆได้ง่ายขึ้น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต เซต คือคำที่ใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่างๆ เช่น เซตของสระในภาษาอังกฤษ คือ กลุ่มของสระในภาษาอังกฤษ a,e,i,o,u เป็นต้น สมาชิกของเซต คือ สิ่งที่อยู่ในเซต เช่น เซตของสระในภาษาอังกฤษ สมาชิกของเซต คือ

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ซึ่งได้กล่าวถึงขั้นตอนและวิธีการหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ และยกตัวอย่างประกอบ อธิบายอย่างละเอียด ซึ่งก่อนจะเรียนเรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์น้องๆสามารถทบทวน การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ได้ที่  ⇒⇒ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ⇐⇐ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (probability) คือ  อัตราส่วนระหว่างจำนวนเหตุการณ์ที่สนใจ (n(E)) กับจำนวนแซมเปิลสเปซ (n(S)) ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้พร้อม ๆ กัน ใช้สัญลักษณ์ “P(E)”  แทนความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ โดยที่ 

จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย
จุดมุ่งหมายของการพูดอภิปราย

เรียนรู้หลักการสร้างคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิ

บทนำ คำสมาส และคำสนธิ ถือว่าเป็นหนึ่งบทเรียนในหลักภาษาไทยของระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่หลายคนมักมองว่าเป็นเรื่องยาก และปราบเซียนในการสอบสุด ๆ เนื่องจากว่าเราจะต้องมีพื้นฐานความเข้าใจเรื่อง คำบาลี สันสกฤตเพื่อให้สามารถแยกแยะคำ หรือสร้างคำใหม่ได้ รวมไปถึงต้องจำหลักการอ่านเชื่อมเสียงแบบต่าง ๆ จึงทำให้ใครหลายคนรู้สึกว่ามันยากมาก แต่จริง ๆ แล้วน้อง ๆ หลายคนอาจเคยได้ยินหลักการจำที่ว่า “คำสมาสนำมาชน สนธินำมาเชื่อม” ซึ่งเป็นวิธีที่น้อง ๆ ควรจะใช้เป็นแนวทางในการจำอย่างเข้าใจ ดังนั้น เพื่อเป็นการเรียนรู้เรื่องคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิให้เข้าใจมากขึ้น

การฟังการอภิปรายฟังเพื่อจุดประสงค์ใด

การฟังอภิปราย เป็นการฟังเพื่อการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นตลอดจนข้อเท็จจริงต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาหรือข้อตัดสินใจอื่นๆ เพื่อนำไปสู่ข้อยุติหรือข้อตกลงร่วมกัน การอภิปรายจึงมีข้อเท็จจริงและความคิดเห็นของผู้อภิปราย ดังนั้นการฟังอภิปรายจึงควรที่จะสามารถแยกข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นออกจากกันได้และควรฟังอย่างมีวิจารณญาณ

การพูดอภิปรายหมายความว่าอย่างไร

การพูดอภิปราย หมายถึง การพูดเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ ทรรศนะเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างกวางขวาง ซึ่งอาจนาไปสู่การหาข้อสรุป ในการแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง การอภิปรายเป็นการจัดขึ้นเพื่อส่วนรวม มีทั้งเป็นแบบกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ บุคคลจานวนมากมีโอกาสพบปะกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย

มารยาทในการพูดอภิปรายมีอะไรบ้าง

รักษามารยาทในขณะที่ฟัง ไม่พูดคุยหรือทำสิ่งใดที่รบกวนการอภิปราย ไม่ก่อความรำคาญให้กับ ผู้อื่น เช่นเดินเข้า-ออกจากห้องประชุมหลายครั้งในขณะที่มีการอภิปราย ฯลฯ  แสดงความสนใจ - ตั้งใจฟังตลอดการอภิปราย ไม่ควรแสดงอาการเบื่อหน่ายหรือ ไม่สนใจฟัง  ตั้งคำถามที่มีประโยชน์ต่อส่วนรวม

เหตุใดจึงต้องมีการพูดอภิปราย

๑. ช่วยผู้อภิปรายที่เชี่ยวชาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ให้มีโอกาสได้เผยแพร่ความรู้แก่สาธารณชน ๒. เป็นการแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในแขนงต่างๆ ให้ผู้ฟังเข้าใจได้เป็นอย่างดี ๓. นำไปใช้ในการประชุมปรึกษาหารือ วางแผน และแก้ปัญหาต่างๆ ร่วมกันของหน่วยงาน