จํา น วน โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอนของธาตุ

อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมประกอบด้วยอนุมูลภาคขนาดเล็ก 3 ชนิดด้วยกัน คือ โปรตอน ( Proton)ที่มีมวลประมาณ 1.6726×10−27 kg นิวตรอน ( Neotron )ที่มีมวลประมาณ 1.6929×10−27 kg    และ อิเล็กตรอน  ( Electron)ที่มีมวลประมาณ 9.11×10−31 kg  โดยที่โปรตอนและนิวตรอนจะรวมกันอยู่บริเวณกึ่งกลางของอะตอมเป็นนิวเคลียส เรียกว่า นิวคลีออน  และจะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่โดยรอบโปรตอนและนิวตรอน โดยอนุภาคเหล่านี้จะยึดกันด้วยแรงแม่เหล็กไฟฟ้าและแรงนิวเคลียร์ สำหรับอะตอมที่เป็นอิสระหรืออะตอมจะมีประจุไฟฟ้าเป็นกลางแล้ว  จำนวนโปรตอนที่มีค่าประจุไฟฟ้าเป็นบวกจะต้องมีจำนวนเท่ากับจำนวนเท่ากับอิเล็กตรอนที่มีค่าประจุไฟฟ้าเป็นลบ แต่ถ้าอะตอมมีจำนวนโปรตอนมากว่าจำนวนอิเล็กตรอนอะตอมแล้ว  อะตอมจะคุณสมบัติทางไฟฟ้าเป็นบวก   ในทางกลับกันถ้าจำนวนโปรตอนในอะตอมมีจำนวนน้อยกว่าจำนวนอิเล็กตรอนแล้ว อะตอมจะมีคุณสมบัติทางไฟฟ้าเป็นลบ  ส่วนนิวตรอนนั้นมีคุณสมบัติทางไฟฟ้าเป็นกลาง ดังนั้นจำนวนของนิวตรอนจึงไม่ส่งผลทางไฟฟ้าให้แก่อะตอม

นอกจากนั้นจำนวนโปรตอนและนิวตรอนของอะตอม ยังสามารถเป็นตัวระบุชนิดของธาตุได้อีกด้วย (อะตอมอิสระ)  เนื่องจากโปรตอนและนิวตรอนมีน้ำหนักสูงมากเมื่อเทียบกับน้ำหนักของอิเล็กตรอน ดังนั้นน้ำหนักของโปรตอนและนิวตรอนจึงเป็นบ่งบอกน้ำหนักของอะตอม หมายถึง มวลอะตอมมีค่าเท่ากับจำนวนโปรตอนรวมกับจำนวนนิวตรอนนั่นเอง  แต่เราไม่นำมวลของอิเล็กตรอนมาคิดด้วยเพราะมวลของอิเล็กตรอนนั้นมีค่ะน้อยมากเมื่อเทียบกับโปรตอนและนิวตรอน  และเลขของอะตอมก็คือจำนวนของโปรตอนในอะตอมนั่นเอง  ดังนั้นถ้าเราทราบหรือรู้ถึงเลขอะตอมและมวลของอะตอม เราก็สามารถที่จะระบุถึงชนิดของอะตอมนั้นได้  เช่น  มีธาตุตัวหนึ่งมีค่าเลขอะตอมมีค่าเท่ากับ 12 และมีมวลอะตอมเท่ากับ 24  แสดงว่าธาตุตัวนี้มีจำนวนโปรตอนเท่ากับเลขอะตอม นั่นคือ 12 และมีจำนวนโปรตอนรวมกับจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 24 แสดงว่ามีจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 24-12  คือ 11 จากข้อมูล ที่ได้คือ มีจำนวนโปรตอนเท่ากับ  12 และจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 11 แสดงว่านี่เป็นอะตอมของธาตุ Mg ( แมกนีเซียม) นั่นเอง

นี่คือองค์ประกอบของอะตอมทั้งหมด ลักษณะของอะตอมทางกายภาพจะมีนิวเคลียสอยู่ตรงกลางและหมอกปกคลุมโดยรอบ หมอกนี้เกิดจากการที่อิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียสด้วยความเร็วและแรงดึงดูดที่มีความแรงที่แตกต่างกันออกไป อะตอมรวมตัวกันเป็นโมเลกุล โมเลกุลรวมตัวกันเป็นสารต่อไป

จํา น วน โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอนของธาตุ

"�е����͹��Ҥ����������ö���¡�������ա" �����繴��¡Ѻ�ӡ���ǹ��������� �����˵��

͹��Ҥ��е��

          �е����Сͺ����͹��Ҥ��Űҹ����Ӥѭ 3 ͹��Ҥ ����
          1.����硵�͹(electron)
          2.�õ͹(proton)
          3.��ǵ�͹(neutron)

    ͹��Ҥ��Ҵ��硤���õ͹, ��ǵ�͹ �������硵�͹ �դس���ѵԵ�ҧ�ѹ�ѧ���ҧ

     �ҡ���ҧ
         �е������繡�ҧ�ҧ俿�Ҩ��ջ�Шغǡ��ҡѺ��Ш�ź �ʴ������е���ըӹǹ�õ͹��ҡѺ�ӹǹ����硵�͹�����е�������õ͹�ӹǹ��ҡѺ "�Ţ�е��"

                                                      �ӹǹ�õ͹ = �ӹǹ����硵�͹

         �õ͹�Ѻ��ǵ�͹��͹��Ҥ����չ��˹ѡ�ҡ�������º�Ѻ����硵�͹ �ѧ�����Ţͧ�е�����ͨӹǹ�õ͹����Ѻ�ӹǹ��ǵ�͹ ��蹤�� "�Ţ���"
                                                       �Ţ��� = �ӹǹ�õ͹ + �ӹǹ��ǵ�͹

                �������ö��¹���ѭ�ѡɳ������к��Ţ�е������Ţ�����ѧ���

จํา น วน โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอนของธาตุ

          �����         A ᷹ �Ţ���
                         Z ᷹ �Ţ�е��
                         X ᷹ �ѭ�ѡɳ�ͧ�ҵ�
          ��                                                                       
                         �Ţ�е�� = �ӹǹ�õ͹ = �ӹǹ����硵�͹
                                11      = �ӹǹ�õ͹ = �ӹǹ����硵�͹

                              �Ţ��� = �ӹǹ�õ͹ + �ӹǹ��ǵ�͹
                                   23   =           11         + �ӹǹ��ǵ�͹
                             �ӹǹ��ǵ�͹ = 23 - 11 = 12
          ��蹤�� �ҵ�������ըӹǹ�õ͹, ����硵�͹��й�ǵ�͹��ҡѺ 11, 11, 12 ����ӴѺ

     �����ҡ��Һ��Ҹҵ���ըӹǹ�õ͹, ��ǵ�͹�������硵�͹���� ����ԡ���ҵع�������

     ���������� �ҵ����иҵ��ըӹǹ�õ͹, ��ǵ�͹�������硵�͹��ҧ�ѹ� ��������иҵ������ѵԷҧ��յ�ҧ�ѹ
     ͹��Ҥ��ҧ� ����õ͹ ��ǵ�͹ �������硵�͹ �բ�Ҵ����ҡ� �����硡�����鹼�ҹ�ٹ���ҧ�ͧ��鹼� �ѡ�Է����ʵ������ö�鹾�͹��Ҥ����ҹ�������ҧ�� �֧������ͧ�����ʹ��ҡ

จํานวนโปรตอน อิเล็กตรอน นิวตรอนเป็นเท่าใด

จํานวนโปรตอน(p+) = เลขอะตอม จํานวนอิเล็กตรอน(e-) = จํานวนโปรตอน(p+) เนื่องจากในสภาพปกติ ธาตุเป็นกลางทางไฟฟ้านั่นคือจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน จำนวนนิวตรอน(n) = เลขมวล - เลขอะตอม

ธาตุมีจํานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะไร

จากตาราง อะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีประจุบวกเท่ากับประจุลบ แสดงว่าในอะตอมมีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนซึ่งในอะตอมจะมีโปรตอนจำนวนเท่ากับ "เลขอะตอม" จำนวนโปรตอน = จำนวนอิเล็กตรอน โปรตอนกับนิวตรอนเป็นอนุภาคที่มีน้ำหนักมากเมื่อเทียบกับอิเล็กตรอน ดังนั้นมวลของอะตอมก็คือจำนวนโปรตอนรวมกับจำนวนนิวตรอน นั่นคือ "เลขมวล"

จํานวนนิวตรอนหายังไง

เลขนิวตรอน (อังกฤษ: neutron number) ใช้สัญลักษณ์ N คือจำนวนของนิวตรอนที่อยู่ในนิวไคลด์หนึ่งๆ เลขอะตอม (หรือเลขโปรตอน) บวกกับเลขนิวตรอน แล้ว จะได้เท่ากับเลขมวล: Z+N=A. ปกติในการเขียนสัญลักษณ์นิวไคลด์จะไม่ค่อยเขียนเลขนิวตรอน เลขนิวตรอนมักจะปรากฏเป็นตัวห้อยอยู่ทางด้านขวาของสัญลักษณ์ธาตุเคมี ดูตัวอย่างในตาราง ธาตุ

โปรตอนนิวตรอนอิเล็กตรอนอยู่ตรงไหน

อะตอม (Atom) หมายถึง อนุภาคที่เล็กที่สุดของสสารที่ยังคงมีคุณสมบัติทางเคมีของธาตุนั้นๆอยู่ โครงสร้างของอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสซึ่งอยู่ตรงกลางและมีอิเล็กตรอนโคจรอยู่รอบๆนิวเคลียส ภายในนิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนซึ่งในสภาวะปกติโครงสร้างของอะตอมจะมีจำนวน อิเล็กตรอนเท่ากับจำนวนโปรตอน