ความ หมาย ของ พุทธ ศาสน สุภาษิต

ความ หมาย ของ พุทธ ศาสน สุภาษิต

�����Ե �����繷������ͧ���誹������� �֧���е�ҧ���ͪҵԵ�ҧ��ʹҵ�ҧ���������Ե�����ͧ�� �������Ե��� �繤����� ���� ����ҡ��� �ա�������� ����դ������� �֡ �Թ� �ѧ��� Dhammathai.org ������ "�ط���ʹ�����Ե"   �դس��� ��л���ª�� �� ����ԡ��ʧ�� ����� ����������������¹ ��·ӧҹ ��¤�ͧ���͹ ����٧���� �ҡ������ ���������ʹҺ�ҧ ��§��ҹ ��з�ͧ���ѹ�к� �֡���������

     ��駹������͹�����任�оĵԻ�Ժѵ�㹪��Ե��Ш��ѹ �кѧ�Դ����ª���赹�ͧ ���  �������·����  "�ط���ʹ�����Ե" ��� ���Ѻ�����������͢����Ũҡ �ӹѡ����������� ��������Ǵ���� ������ 20 ��Ǵ���¡ѹ ������дǡ ��͡�ä��� ��� ��������� "����ͧ��͹ʵ�" ���ͤ���������� �Һ�����ʾ�и���

 � � �� � �� � �� � :
 ˹ѧ��;ط���ʹ�����Ե ��Ѻ����ó� ������ҨѴ�����
 ˹ѧ��;���ûԮ� ��Ѻ����Ѻ��ЪҪ�

 � � � � � �� � :
 �����د�Ҫ�Է����� 㹾�к���Ҫٻ�����
 �ӹѡ�����������


                                                     

ความ หมาย ของ พุทธ ศาสน สุภาษิต

สุภาษิต แปลว่า  ถ้อยคำที่กล่าวไว้ดี (สุ=ดี,  ภาษิต=กล่าว) สามารถนำมาเป็นคติ   ยึดถือเป็นหลักใจได้

               พุทธศาสนสุภาษิต  หมายถึง ถ้อยคำดีๆ ในพระพุทธศาสนา  แต่มิได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม  เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต (หรือ พระพุทธพจน์) ถ้าพระโพธิสัตว์ กล่าวเรียกว่า โพธิสัตว์ภาษิต  ถ้าพระสาวกกล่าว ก็เรียกว่า เถรภาษิต บ้าง สาวกภาษิต บ้าง แม้แต่คำที่เทวดากล่าว และพระพุทธองค์ได้ตรัสรับรองว่าดีด้วยการตรัสคำนั้นซ้ำ  เรียกว่า เทวดาภาษิต เป็นต้น

               ฉะนั้น จึงเป็นเรื่องที่ควรระมัดระวัง  มิใช่ว่า เห็นว่าเป็นพุทธศาสนสุภาษิต หรือเห็นเป็นคำบาลี  แล้วก็เดาเอาว่าเป็นพระพุทธพจน์ โดยมิได้ดูที่มาของสุภาษิตนั้นให้แน่นอน อาจจะเป็นการตู่พระพุทธวจนะได้      คำสอนในพระพุทธศาสนามีองค์ 9 ประการ ที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์ ได้แก่ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม และ เวทัลละ

พุทธศาสนสุภาษิต ได้มาจากเนื้อหาที่ปรากฎอยู่ในคำสอนดังกล่าว ที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก เป็นเนื้อความสั้น ๆ ที่ทรงคุณค่า ให้ข้อคิด ข้อเตือนใจ ให้ผู้ที่ได้ศึกษาแล้ว มีความรู้ความเข้าใจ และยึดถือเป็นหลักธรรมประจำใจ เพื่อนำไปประพฤติปฏิบัติ ในแนวทางที่ถูกที่ควร ตรงทาง  อันจะนำไปสู่ความสุข ความเจริญงอกงามในชีวิตของตน แล้วยังเป็นการเสริมสร้างสันติสุข ในสังคมโลกอีกด้วย

พุทธศาสนสุภาษิต คือ สุภาษิต ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงดำรัสไว้ ซึ่งมีคุณค่าสูงส่ง สามารถใช้ได้ทั้งเป็นแนวทางดำเนินชีวิต เตือนใจ หาคำตอบที่ดีสำหรับปัญหาที่สงสัย หรือ แม้แต่เตือน สติ ให้เรา หู ตา สว่าง เกิดปัญญาเข้าใจ ได้อุบายที่ดีในการดำเนินชีวิต การแก้ปัญหา และพ้นจากเครื่องเศร้าหมองได้   พุทธศาสนสุภาษิต เป็นที่นิยมของหมู่ชนทั้งหลาย ถึงแม้จะต่างเชื้อชาติ ต่างศาสนาต่างก็มีสุภาษิตในหมู่ของตน คำสุภาษิตนั้น เป็นคำสั้นๆ จำได้ ไม่ยากเย็น อีกทั้งไพเราะ และมีความหมาย ลึก กินใจ มีคุณค่า และประโยชน์ แก่ พระภิกษุสงฆ์ สามเณร ผู้ที่อยู่ในวัยเรียน วัยทำงาน วัยครองเรือน วัยสูงอายุ หากมีเวลา ให้แก่พระศาสนาบ้าง เพียงอ่าน และท่องจำวันละบท ศึกษาให้เข้าใจ ทั้งนี้ก็เพื่อน้อมนำไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน จะบังเกิดประโยชน์แก่ตนเอง และ ผู้อื่นโดยทั่วไป

ตัวอย่างพุทธศาสนสุภาษิต   โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ : ฆ่าความโกรธได้ ย่อมอยู่เป็นสุข

   ความทุกข์มันเกิดที่ใจ ถ้าใจเรายังมีความโกรธอยู่ แม้จะแสวงหาอะไรได้ตามความพอใจแล้ว โอกาสจะเกิดทุกข์ก็มีมากถมไป เช่น เรามีเงินทองซื้อของมา แต่ของนั้นไม่ดี ใจก็เป็นทุกข์   มีเงินถูกเพื่อนยืมเงินไปแล้ว เพื่อนไม่คืนไห้ก็เป็นทุกข์ มีบ้าน บ้านถูกปลวกขึ้นก็เป็นทุกข์   มีรถยนต์เกิดรถเสียบ่อย หรือรถถูกคนขูดขีดเล่นให้เป็นรอยก็เป็นทุกข์  จากที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่าสุขหรือทุกข์มันเกิดที่ใจ ถ้าใจว่างจากความโกรธ ความสุขก็จะเกิดขึ้น แต่ถ้าความโกรธยังมีอยู่ในใจ ความสุขก็จะเกิดไม่ได้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสรับรองไว้ว่า ฆ่าความโกรธได้แล้วอยู่สุขสบาย

 สนฺตุฏฺฐี ปรมํ ธน    ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง

“ทรัพย์คือปัจจัยสี่ เป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิต ถ้ามีแล้วไม่รู้จักพอก็เป็นทุกข์” คำว่า สันโดษ แปลว่าความยินดีเฉพาะในสิ่งที่มีอยู่หรือความพอใจเท่าที่มีตามฐานะของตน หมายความว่าตนเองแสวงหาปัจจัยสี่ หรือมีปัจจัยสี่ คือเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม เครื่องประดับเช่นใดก็พอใจ  ตนเองมีอาหารการกินสุขสมบูรณ์หรือพอยังอัตภาพให้อยู่ได้ก็พอใจ   ตนเองมีบ้านที่อยู่อาศัยขนาดไหนก็พอใจ   ตนเองมีความสามารถดูแลรักษาพยาบาลในระดับใด ก็พอใจ   เป็นต้น ความพึงพอใจในสิ่งที่ตนเองมีอยู่นี้จึงถือว่า “เป็นทรัพย์อย่างยิ่ง” ไม่มีทรัพย์สินที่เป็นปัจจัยสี่ใด ๆ จะเทียบเท่าได้ นั่นคือผลสุดท้ายก็จะประสบกับความสุขที่แท้จริง โดยไม่หลงงมงายกับวัตถุสิ่งของมากเกินไป

            ราชา มุขํ มนุสฺสานํ     พระราชา เป็นประมุขของประชาชน

ทะเลเป็นที่รวมแห่งสายน้ำน้อยใหญ่ เช่นเดียวกับประชาชนถวายชีวิตไว้ใต้เบื้องพระยุคลบาทของพระราชาในแต่ละแว่นแคว้น ย่อมมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประชาชนในแว่นแคว้นทั้งหมด พระองค์ได้ทรงไว้ซึ่งพระราชอิสริยยศเหนือทุกชีวิตในแว่นแคว้นของพระองค์ ทรงวางพระบรมราโชบาย และทรงมีพระบรมราโชวาท แนะนำสั่งสอนให้ข้าราชบริพารทุกระดับชั้น รวมกันใช้ความคิดในกิจการงานของประเทศให้ดำเนินไปในทิศทางเดียวกัน และพสกนิกรต่างเคารพเทิดทูนพระราชาในฐานะเป็นเจ้าชีวิต เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมแว่นแคว้นที่มีผู้นำดี ย่อมเจริญรุ่งเรือง ต่างชาติต่างภาษาก็ปรารถนาเจริญสัมพันธไมตรี พสกนิกรก็อยู่กันอย่างมีความสุข (ถนอมชัย แสงจันทร์, 2560)  

พุทธศาสนาสุภาษิตหมายถึงอะไร

พุทธศาสนสุภาษิต คือ คำสอน ถ้อยคำ หรือประโยคที่ให้ความคิดทางพุทธศาสนา ตัวอย่างเช่น นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา อ่านว่า นัตถิ ปัญญาสะมา อาภา แปลว่า แสงสว่างเสมอด้วยปัญญา ไม่มี ความหมาย ผู้มีปัญญาเปรียบเหมือนมีแสงสว่างคอยนำทางชีวิต

พุทธศาสนสุภาษิตคืออะไร มีความสำคัญอย่างไร

พุทธศาสนสุภาษิต คือ หลักคาสอนทางพระพุทธศาสนา ที่มีเนื้อหาสาระมี ประโยชน์ที่ควรน ามาปฏิบัติ ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว และเหล่าพระสาวกก็ได้กล่าวไว้ เช่นกัน เป็นถ้อยค าที่กล่าวไว้ดี มีคติเตือนใจ เป็นคาถาหรือข้อความสั้นๆ ยังไม่ได้อธิบาย ขยายความ ซึ่งส่วนมากจะเขียนและอ่านเป็นแบบภาษาบาลี

พุทธสุภาษิตที่ว่า “กมฺมุนา วตฺตตีโลโก” หมายถึงอะไร

อ่านว่า กัม - มุ- นา - วัด - ตะ - ตี- โล - โก แปลว่า สัตว์โลก ย่อมเป็นไปตามกรรม กลฺยาณการีกลฺยาณ ปาปการีจ ปาปก ๒

พุทธศาสนสุภาษิต จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ มีความหมายว่าอย่างไร

จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ. (อ่านว่า จิตตัง ทันตัง สุขาวะหัง) แปลว่า จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้ (พุทธศาสน สุภาษิต)