คอมเพรสเซอร์จะอัดสารความความเย็นไปยังอุปกรณ์ใด และสถานะใด

คอมเพรสเซอร์ทำหน้าที่อะไร

คอมเพรสเซอร์แอร์คืออะไร
                คอมเพรสเซอร์(Compressor) คือ หัวใจของระบบปรับอากาศ เป็นชิ้นส่วนเครื่องจักกรที่ใช้ไฟฟ้า ทำหน้าที่อัดสารทำความเย็นหรือที่เราเรียกกันว่าน้ำยาแอร์ ในสถานะที่เป็นไอ ส่งไปตามท่อน้ำยาแอร์ที่เป็นท่อทองแดง ไปยังเครื่องควบแน่นหรือคอมเด็นซิ่งยูนิค (Condensing Unit) ที่ทำหน้าที่ควบแน่นสารทำความเย็นที่ มีแรงดันสูง และอยู่สถานะเป็นไอ หรือเป็นก๊าซ โดยการระบายความร้อนออกจากน้ำยาแอร์ด้วยพัดลมระบายอากาศ ที่เรามองเห็นจากภายนอกตัวคอยล์ร้อนนั่นแหละครับ คือพัดลมที่ไว้คอยระบบความร้อน

  หลังจากถูกควบแน่นแล้วสารทำความเย็นแรงดันสูงจะถูส่งต่อไปยังชุดเครื่องระเหย หรือคอยล์เย็น หรือแฟนคอยล์ ผ่านชุดลดแรงดัน(แคปทิ้ว หรือเอ็กแพนชั่นวาล์ว) ลดแรงดันสูงลงและเปลี่ยนสถานะเป็นก๊าซ แถมยังมีอุณหภูมิลดลง เราจึงใช้พัดลมในคอยล์เย็นนี่แหละระบายความเย็นออกจากท่อเพื่อปรับอากาศใน ห้องนั้นให้เย็นลง และสารทำความเย็นที่เหลือก็ถูกดูดกลับมายังคอมเพรสเซอร์อีกครั้ง เพื่อกลับเข้าสู่ระบบทำความเย็นต่อไปเป็น วัฏจักรความเย็น ไม่สิ้นสุดจนกว่าคอมเพรสเซอร์จะหยุดทำงานนั่นเอง

  คอมเพรสเซอร์เครื่องปรับอากาศมี 5ประเภทหลักคือ
Ø คอมเพรสเซอร์ลูกสูบ หรือ (Reciprocating)
Ø คอมเพรสเซอร์โรตารี่ หรือ (Rotary compressor)
Ø คอมเพรสเซอร์แรงเหวี่ยง หรือ(Centrifugal compressor)
Ø สกรูคอมเพรสเซอร์ หรือ(screw compressors)
Ø สโกล์คอมเพรสเซอร์ หรือ(Scroll compressors)

  ทั้ง5ชนิดของคอมเพรสเซอร์แอร์ทำงานด้วยเหมือนกันคือ อัดน้ำยาแอร์ให้มีแรงดันสูงและส่งไปสู่ระบบการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ แต่มีข้อแตกต่างที่กระบวนการทำงาน และส่วนประกอบที่แตกต่างกันไปดังที่ได้แยกประเภทไว้ข้างต้น และแยกปตามประเภทของสารทำความเย็นด้วย เช่น น้ำยาแอร์เบอร์ 22 หรือ R-22 ก็ต้องใช้คอมเพรสเซอร์สำหรับน้ำยาแอร์ R-22 เท่านั้น ไม่สามารถใช้รวมกันหรือทดแทนกับน้ำยาแอร์เบอร์อื่นได้

  Thanks to watcharaaircon.com

คอมเพรสเซอร์ มีอีกชื่อหนึ่งก็คือ Condensing Unit ที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าคือตู้เก็บอุปกรณ์ทำความเย็นของระบบทำความเย็นไว้ข้างในนั่นเอง โดยบทความนี้จะพาคุณรู้จักกับคอมเพรสเซอร์ว่า คืออะไร มีหลักการทำงานอย่างไรบ้าง ?

คอมเพรสเซอร์จะอัดสารความความเย็นไปยังอุปกรณ์ใด และสถานะใด

คอมเพรสเซอร์ (Compressor) คืออะไร ?

คอมเพรสเซอร์ (Compressor) เป็นอุปกรณ์หนึ่งที่สำคัญอย่างมากต่อระบบปรับอากาศ และทำความเย็น โดยภายในเครื่องทำความเย็นก็จะมีคอมเพรสเซอร์แอร์และคอมเพรสเซอร์ตู้เย็นอยู่ ซึ่งคอมเพรสเซอร์ทำหน้าที่ดูดและอัดสารทำความเย็นเพื่อทำให้มีการหมุนเวียนในระบบ

เมื่อดูดสารทำความเย็นซึ่งอยู่ในรูปของก๊าซที่มาจากการระเหยของคอย์ลเย็น (Evaporator)แล้ว ต่อไปก็จะทำการอัดทำให้ความดันของสารทำความเย็นให้สูงขึ้น หากความดันสูงขึ้นจุดเดือดของสารทำความเย็นก็จะสูงตามไปด้วยซึ่งทำให้สามารถกลั่นตัวในสภาพของเหลวเพื่อทำให้หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ในคอนเดนเซอร์

นอกจากนี้ยังมีข้อควรระวังก็คือคอมเพรสเซอร์ถูกออกแบบมาเพื่ออัดสารทำความเย็นที่อยู่ในรูปของก๊าซเท่านั้น หากไปอัดของเหลวจะทำให้ชิ้นส่วนภายในเกิดการพัง ชำรุดเสียหายได้

หลักการทํางานของคอมเพรสเซอร์ เป็นอย่างไร

คอมเพรสเซอร์ หรือ Compressor ถือเป็นอุปกรณ์ที่ในระบบทำความเย็นจะต้องมี โดยการทํางานของคอมเพรสเซอร์ของอุปกรณ์นี้มีหน้าที่ในการเพิ่มความดันให้กับสารทำความเย็นซึ่งมีสถานะเป็นไอน้ำ ซึ่งจะดูดสารทำความเย็นที่อยู่ในสถานะไอจากเครื่องระเหย (Evaporator) เข้ามายังคอมเพรสเซอร์

จากนั้นอัดไอของสารทำความเย็นเพื่อเพิ่มความดันและอุณหภูมิ และส่งไปที่คอนเดนเซอร์ (Condensor) ต่อไป โดยขั้นตอนการอัดไอให้กับสารทำความเย็นด้วยคอมเพรสเซอร์จะทำให้สารทำความเย็นที่เป็นไอกลับมาเป็นของเหลวอีกครั้ง เพราะสารทำความเย็นจะทำการวิ่งผ่านทั้งระบบและจะกลับคืนให้อยู่ในรูปที่สามารถนำมาใช้ได้อีกครั้ง

คอมเพรสเซอร์ (Compressor) มีทั้งหมดกี่ประเภท

1. คอมเพรสเซอร์แบบปิดสนิท (Hermetic Compressor)

  • คอมเพรสเซอร์ลูกสูบ (Reciprocating) โดยคอมเพรสเซอร์นี้จะทำงานโดยใช้เพลาข้อเหวี่ยง (Crank Shaft) เพื่อทำให้ลูกสูบดูดอัดและเคลื่อนที่เป็นทางตรงภายในกระบอกสูงซึ่งมีการขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ การดูดไอสารทำความเย็นจะเกิดขึ้นตอนที่ลูกสูบเคลื่อนที่เป็นจังหวะและน้ำยาแอร์จะถูกเก็บไว้ที่กระบอกสูบ หากมีการเลื่อนขึ้นจะทำให้เกิดปฏิกิริยาส่งผลให้ความดันของระบบทำความเย็นสูงขึ้นและลิ้นเปิดเพื่อนำสารทำความเย็นไปสู่วัฏจักรการทำความเย็นต่อไป

คอมเพรสเซอร์จะอัดสารความความเย็นไปยังอุปกรณ์ใด และสถานะใด

  • คอมเพรสเซอร์โรตารี (Rotary) คอมเพรสเซอร์นี้ทำงานโดยใช้ลูกปืนสำหรับฉีดสารทำความเย็นเข้าสู่ระบบ โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ เครื่องอัดโรตารี่แบบลูกสูบหมุน และเครื่องอัดโรตารี่แบบใบพัดหมุน ซึ่งทั้งสองประเภทนี้มีส่วนประกอบไม่เหมือนกัน โดยเครื่องอัดโรตารี่แบบลูกสูบหมุนจะใช้ลูกสูบหมุนหมุนไปรอบ ๆเพลาลูกเบี้ยว ส่วนแบบเครื่องอัดโรตารี่แบบใบพัดหมุนจะมีใบพัดหมุนอยู่ภายในช่องเพลาลูกเบี้ยวเพื่อทำความเย็นและรักษาความเย็นและมีการใช้วาล์วกั้นเพื่อป้องกันไม่ให้สารทำความเย็นรั่วออก
  • คอมเพรสเซอร์แบบก้นหอย (Scroll) คอมเพรสเซอร์นี้มีลักษณะเป็นก้นหอย โดยมีข้อดีก็คือสามารถควบคุมการไหลเวียนของสารทำความเย็นได้มาก ดังนั้นจึงมักถูกใช้กับเครื่องทำน้ำเย็นขนาดใหญ่

2. คอมเพรสเซอร์ชนิดกึ่งปิดสนิท (Semi-Hermetic Compressor)

  • คอมเพรสเซอร์แบบกึ่งปิด (semi-hermetic compressors) เป็นคอมเพรสเซอร์ที่มีตัวขับถูกประกอบให้อยู่ในโครงสร้างเดียวกันและใช้สลักเกลียวในการยึด หากเกิดการชำรุดสามารถถอดออกมาซ่อมโดยไม่โครงยังมีสภาพคงเดิม อีกทั้งไม่ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันการรั่วเพราะไม่มีการต่อแกนเพลาที่ภายนอก
  • คอมเพรสเซอร์สกรู (Screw) คอมเพรสเซอร์นี้จะใช้สกรูในการเป็นกลไกสำหรับควบคุมการไหลเวียนของสารทำความเย็นซึ่งการทำงานของสกรูจะเก็บและรีดสารทำความเย็นออกมาจากสกรูทั้งสองตัว เมื่อเริ่มทำความเย็นสารทำความเย็นที่มีสถานะเป็นไอจะไหลไปอยู่ในช่องว่างระหว่างเกลียวส่งผลให้สกรูเก็บความเย็นไว้ได้ก่อนจะปล่อยไปสู่วัฏจักรของระบบทำความเย็นต่อไป

คอมเพรสเซอร์ (Compressor) มีความสำคัญในระบบทำความเย็นอย่างไร ?

คอมเพรสเซอร์ถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของเครื่องปรับอากาศ เพราะเป็นอุปกรณ์ที่ทำให้สารทำความเย็นที่เป็นของเหลวถ่ายเทความร้อนและไหลไปยังระบบ

น้ำมันหล่อลื่นคอมเพรสเซอร์ (Compressor)

คุณสมบัติน้ำมันหล่อลื่น สำหรับ คอมเพรสเซอร์ (Compressor)

  1. ควรเป็นน้ำมันที่มีไฮโดรคาร์บอนผสมอยู่น้อย
  2. มีความหนืดตามมาตราฐาน
  3. มีสถานะของเหลวที่สามารถไหลได้ตลอดเวลา
  4. ไม่นำไฟฟ้า
  5. สามารถทนความร้อนได้สูง ไม่กลายเป็นเขม่าได้ง่าย

บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที


  • ตอนที่ 1 : มารู้จักกับคอมเพรสเซอร์ Compressor หรือ ตู้แอร์ คืออะไร ?