ซาลาเปา มา จาก ประเทศ อะไร

   

ซาลาเปา มา จาก ประเทศ อะไร

ขอขอบคุณข้อมูลภาพจาก news1live.com

         ประวัติของขนมจีบนั้นแรกเริ่มที่ปรากฏเห็นในวัฒนธรรมของเมืองฮูฮฮอต ในมองโกเลีย จากการนำมาขายในร้านน้ำชาบนเส้นทางสายไหมจนได้ชื่อว่า捎卖 (shao mai) ที่แปลว่า สินค้าที่ขายเป็นงานอดิเรกเครื่องเคียง หรือ อาหารเรียกน้ำย่อยคู่กับชา ถูกนำมายังกรุงปักกิ่งและเทียนจินโดยพ่อค้าจากชานซีในช่วงระหว่างราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง และต่อมาได้เปลี่ยนตัวอักษรแทนเสียงเป็น  “烧麦”, ”稍美” และ ”烧卖” ตามลำดับ

         ประวัติของขนมจีบเริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยราชวงศ์หยวนโดยบันทึกไว้ว่า ขนมจีบนั้นใช้ข้าวสารนวดเป็นแป้ง ใช้หมูเป็นไส้ ที่ยอดขนมจีบให้ทำเป็นรูปดอกไม้  ขนมจีบเป็นอาหารว่างประเภทคาวแบบแห้งของประเทศจีน โดยการปรุงอาหารว่างชนิดนี้จะใช้แป้งเป็นแผ่นห่อไส้ โดยห่อเป็นทรงกระบอกลักษณะคล้ายกับผลทับทิม หรือคล้ายกับดอกไม้บาน หลังจากนั้นจึงนำไปนึ่งจนสุก จากบันทึกที่บันทึกไว้ทำให้เราทราบกันว่าขนมจีบของจีนมีประวัติยาวนานกว่า 700 ปีแล้ว 

        คำว่า ขนมจีบ มาจากภาษากวางตุ้ง แปลว่า Touch The Heart หมายถึง การทำอาหารคำเล็กคำน้อย ที่นอกจากจะใช้ความคิดสร้างสรรค์แล้ว ยังต้องใช้ฝีมือประดิษฐ์ประดอยให้สวยงาม น่าลิ้มลอง และอร่อย ดังนั้นหัวใจสำคัญในการทำขนมจีบให้อร่อยนั้นคือ จะต้องใส่ใจลงไปกับขนมจีบด้วย ขนมจีบเป็นอาหารที่ทานง่าย และรสชาติแปลกใหม่ จึงไม่แปลกใจเลยที่ขนมจีบจะกลายเป็นอาหารยอดนิยมของคนทั่วโลก ขนมจีบไม่เพียงแต่จะมีชื่อเรียกแบบนี้เท่านั้น แต่ยังมีชื่อที่เปลี่ยนไปตามท้องถิ่นบางท้องที่เรียกขนมจีบเป็นชื่ออื่น เช่น ภาษาจีนกลาง จะเรียกว่า ซาวม่าย (烧麦:shao mai) (ซึ่งในแต่ละท้องที่จะมีการเรียกที่แตกต่างกันไปบ้าง แต่จะต่างที่เพียงเสียง หรือการใช้อักษรแทนเสียงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น) แต่ที่พบส่วนใหญ่นั่นคือ ติ่มซำ นั้นเอง 

ขอขอบคุณข้อมูลภาพจาก news1live.com

       โดยทางเหนือ เช่นในบริเวณปักกิ่ง จะเรียกว่า “ซาวม่าย” โดยใช้อักษรคำว่า “烧麦” แทนเสียงคำว่าซาวม่าย แต่ในบริเวณมณฑลเจียงซู เจ้อเจียง กวางตุ้ง  และกวางซีจะเรียกว่า “ซาวม่าย” โดยใช้อักษรว่า “烧卖” (shao mai)แทนเสียง บางพื้นที่อาจแตกต่างมากกว่าที่อื่น เช่น บริเวณแถบแต้จิ๋วจะเรียกว่า “เซียวหมี่” (肖米:xiao mi) เป็นขนมที่นิยมรับประทานกันทั้งชาวใต้และชาวเหนือของจีน

        ขนมจีบเป็นที่นิยมสำหรับชาวเมืองกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง  (广东省) ซึ่งต่อมาได้แพร่หลายทั่วโลกตามลำดับ ในสมัยก่อนขนมจีบมักนิยมรับประทานคู่กับน้ำชา และถือเป็นหนึ่งในเมนูยอดนิยมของอาหารติ่มซำ(點心:dim sum; ภาษาจีนกลาง อ่านว่า เตี่ยนซิน; ภาษากวางตุ้ง อ่านว่า ติ่มซำ) เช่นเดียวกับซาลาเปา ซึ่งเรียกง่ายๆก็คือ ติ่มซำคืออาหารว่างที่นิยมรับประทานกับน้ำชาของชาวจีนกวางตุ้ง และขนมจีบก็เป็นหนึ่งในจำพวกแผ่นแป้งห่อ (餃, 餃子)ของเมนูติ่มซำที่รับมาจากวัฒนธรรมฮูฮฮอตของชาวมองโกลนั่นเอง

        ติ่มซำเป็นอาหารว่างที่โดยปกติแล้วมักจะทานตอนสายๆ ก่อนเที่ยง แต่ปัจจุบันก็สามารถหารับประทานได้ตลอดเวลา แม้กระทั่งตอนดึก ซึ่งจะพบเห็นได้ที่ฮ่องกง 

ซาลาเปา มา จาก ประเทศ อะไร

ขอขอบคุณข้อมูลภาพจาก news1live.com

        ติ่มซำเกิดขึ้นที่เมืองกวางตุ้ง มีตำนานเล่ากันว่าสมัยก่อนนั้นมีนักเดินทางตามเส้นทางสายไหม มักจะหาสถานที่เพื่อแวะพักผ่อนระหว่างการเดินทาง ดังนั้นบนเส้นทางสายไหมจึงเต็มไปด้วย " ร้านน้ำชา"หรือ "Yum Cha" เพื่อต้อนรับอาคันตุกะนักเดินทางแปลกหน้าเป็นประจำ

         ขณะเดียวกันชาวนาตามชนบทเมื่อทำงานเหนื่อยล้าก็จะแวะพักผ่อนและดื่มน้ำชายามบ่ายตามร้านน้ำชาเหล่านี้ ขณะที่ดื่มน้ำชาก็จะต้องมีอาหารกินเล่นเพื่อกินคู่กับน้ำชาบรรดาเจ้าของร้านจึงเริ่มคิดหาอาหารกินเล่นต่างๆ ขึ้นมาจึงเป็นที่มาของติ่มซำในเวลาต่อมา ด้วยความที่เป็นอาหารกินง่ายและรสชาติแปลกใหม่ ติ่มซำจึงกลายเป็นอาหารที่นิยมไปทั่วโลก

 ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก..

 -www.reurnthai.com

- https://snack57.wordpress.com/

- https://th.wikipedia.org/wiki/ติ่มซำ

- http://thai.cri.cn/

http://lub-jib-kanomjeeb.blogspot.com/2015/01/blog-post.html

ประวัติความเป็นมา
ชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดนครพนม บรรพบุรุษอพยพมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว จากเมืองชัวเกา มณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของประเทศจีน อพยพทางเรือผ่านทะเลจีนใต้ เป็นแรมเดือนมาสู่กรุงเทพมหานคร บางส่วนก็ตั้งรกรากที่กรุงเทพมหานคร บางส่วนก็มองว่าการเดินทางออกไปในถิ่นทุรกันดาร น่าจะเป็นโอกาสในการเจริญเติบโต ได้ดีกว่าอยู่ในเมืองหลวง จนมีคนจีนบางส่วนได้อพยพมายังภาคตะวันออกเฉียงเหนือจนมาถึงจังหวัดนครพนม
เมื่อเข้ามาอาศัยก็จะแต่งงานกับผู้หญิงคนไทยกลายเป็นค่านิยมในสมัยนั้นทำให้การสืบเชื้อสายเป็นคนไทยเชื้อสายจีนสืบต่อเนื่องกันมาตั้งแต่นั้น ต่อมามีการรวมกลุ่มพ่อค้าในจังหวัดนครพนมตั้งเป็นสมาคม ฮั้วเคี้ยว เมื้อปี พ.ศ. 2489 มีนายกสมาคมคนแรกคือ นายโต๊ะเค็ง แซ่เตีย ความสัมพันธ์ระหว่างชาวจีนเป็นไปด้วยดีมาโดยตลอด และสมาคมพ่อค้าจังหวัดนครพนมได้เริ่มก่อตั้งสถานศึกษาขึ้น ชื่อ โรงเรียนตงเจี่ย เพื่อให้ลูกหลานชาวจีนได้มีโอกาสเรียนภาษาจีนเพิ่มเติมภาษาทยที่เป็นภาษาบังคับที่ต้องเรียนรู้อยู่แล้ว

แหล่งท่องเที่ยวชุมชน และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ศาลเจ้าพ่อหมื่น

การประกอบอาชีพ
ส่วนมากชาวไทยเชื้อสายจีนจะทำกิจการค้าขาย และเป็นสมาคมพ่อค้าจังหวัดนครพนม

ความเชื่อ ประเพณี ความสำคัญ
ชาวไทยเชื้อสายจีนจะได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างมาจากบรรพบุรุษ ได้แก่ การประกอบพิธีดั้งเดิมตามความเชื่อ เช่น เทศกาลตรุษจีน วันไหว้พระจันทร์ วันสาร์ทจีน วันเซ็งเม้ง เทศกาลกินเจ จัดสมโภชเจ้าพ่อหมื่น เจ้าพ่อคำแดง เจ้าพ่อสัมมาติ เจ้าพ่อสิบสอง

วิถีการกินอยู่ อาหารพื้นบ้าน
เป่าเจี้ยนจ๋าเลี๋ยงเถียนผิ่น (ธัญพืชสุขภาพ)
เปาจื่อ (ซาลาเปา) เสียวบี้ (ขนมจีบ)

การแสดง
1. รำหวายตังกง
2. กังฟูรำพัด

อาหารเด่นประจำชนเผ่า
1.เป่าเจี้ยนจ๋าเลี๋ยงเถียนผิ่น (ธัญพืชสุขภาพ)
อาหารประจำธาตุ “ไฟ”
ความเป็นมาของอาหาร
ธัญพืชใช้เรียกพืชที่ให้เมล็ดสำหรับใช้เป็นอาหาร ธัญพืชนอกจะช่วยให้เรามีสุขภาพดี แข็งแรงแล้วยังช่วยในการป้องกันโรคบางอย่างอีกด้วย
ประโยชน์ทางอาหาร
ลดระดับคอเลสเตอรอล เพิ่มการไหลเวียนของเลือด มีคาร์โบไฮเดรต ช่วยลดความดันโลหิต
2.เสียวบี้ (ขนมจีบ)
อาหารประจำธาตุ
ความเป็นมาของอาหาร
ขนมจีบเป็นอาหารว่างประเภทคาวแบบแห้งของประเทศจีน โดยการปรุงอาหารว่างชนิดนี้จะใช้แป้งเป็นแผ่นห่อไส้ โดยห่อเป็นทรงกระบอกลักษณะคล้ายกับผลทับทิม หรือคล้ายกับดอกไม้บาน หลังจากนั้นจึงนำไปนึ่งจนสุก ซึ่งในแต่ละท้องที่จะมีการเรียกที่แตกต่างกันไปบ้าง แต่จะต่างที่เพียงเสียง หรือการใช้อักษรแทนเสียงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ประวัติของขนมจีบเริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยราชวงศ์หยวนโดยบันทึกไว้ว่า ขนมจีบนั้นใช้ข้าวสารนวดเป็นแป้ง ใช้หมูเป็นไส้ ที่ยอดขนมจีบให้ทำเป็นรูปดอกไม้ จากบันทึกที่บันทึกไว้ทำให้เราทราบกันว่าขนมจีบของจีนมีประวัติยาวนานกว่า 700 ปีแล้ว
ขนมจีบเป็นที่นิยมสำหรับชาวเมืองกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง ซึ่งต่อมาได้แพร่หลายทั่วโลกตามลำดับ ในสมัยก่อนขนมจีบมักนิยมรับประทานคู่กับน้ำชา และถือเป็นหนึ่งในเมนูยอดนิยมของอาหารติ่มซำ เช่นเดียวกับซาลาเปา
ซึ่งเรียกง่ายๆก็คือ ติ่มซำคืออาหารว่างที่นิยมรับประทานกับน้ำชาของชาวจีนกวางตุ้ง และขนมจีบก็เป็นหนึ่งในจำพวกแผ่นแป้งห่อ ของเมนูติ่มซำที่รับมาจากวัฒนธรรมฮูฮฮอตของชาวมองโกลนั่นเอง
ประโยชน์ทางอาหาร
3. เปาจื่อ (ซาลาเปา)
อาหารประจำธาตุ “ดิน”
ความเป็นมาของอาหาร
ซาลาเปา เป็นอาหารจีนชนิดหนึ่งทำมาจากแป้งสาลีและยีสต์ และนำมานึ่ง ซาลาเปาจะมีไส้อยู่ภายในโดยอาจจะเป็นเนื้อหรือผัก ซาลาเปาที่นิยมนำมารับประทานได้แก่ ซาลาเปาไส้หมู และ ซาลาเปาไส้ครีม สำหรับอาหารที่มีลักษณะคล้ายซาลาเปา ที่ไม่มีไส้จะเรียกว่า หมั่นโถว นอกจากนี้ซาลาเปายังคงเป็นส่วนหนึ่งในชุดอาหารติ่มซำ ในวัฒนธรรมจีน ซาลาเปาสามารถนำมารับประทานได้ในทุกมื้ออาหาร ซึ่งนิยมมากในมื้ออาหารเช้า
ประโยชน์ทางอาหาร
ซาลาเปาทับหลีในการปรุงอาหารด้วยวิธีนึ่งนั้น อาหารจะถูกปรุงให้สุกโดยใช้ไอน้ำที่เกิดจากการต้มน้ำภายใต้อาหารนั้น ทั้งนี้ทั้งนั้นอาหารจะไม่มีการสัมผัสโดยตรงกับน้ำที่ต้ม ซึ่งจะส่งผลให้คุณค่าของสารอาหารยังคงอยู่กับอาหารอย่างครบถ้วน และที่สำคัญในการนึ่งนั้นแทบจะไม่ต้องเติมน้ำมันลงไปในการนึ่งเลย ทำให้การนึ่งเป็นหนึ่งในวิธีการปรุงอาหารที่ดีต่อสุขภาพเป็นอย่างมาก

ราคาเข้าชม

:

ไม่มีค่าเข้าชม

ซาลาเปาเป็นคำมาจากประเทศอะไร

น. ชื่อขนมชนิดหนึ่งของจีน ทําด้วยแป้งสาลีปั้นเป็นลูกกลม ข้างในใส่ไส้ มีทั้งไส้หวานและไส้เค็ม. (จ.).

ขนมจีบมาจากประเทศไหน

ขนมจีบเริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยราชวงศ์หยวนโดยบันทึกไว้ว่า ขนมจีบนั้นใช้🍚ข้าวสารนวดเป็นแป้ง ใช้หมู🍖เป็นไส้ ที่ยอดขนมจีบให้ทำเป็นรูปดอกไม้จากที่บันทึกไว้ทำให้เราทราบกันว่าขนมจีบของจีนมีประวัติยาวนานกว่า 700 ปีแล้วโดยขนมจีบนั้นเดิมทีเป็นวัฒนธรรมของเมืองฮูฮอต มองโกเลียใน จากการนำมาขายในร้านน้ำชา🍵บน ...

ซาลาเปาเป็นคำที่มาจากภาษาอะไร

ซาลาเปา ภาษาจีนเรียก เปาจึ (包子) หรือ เปา (包) เป็นอาหารทำด้วยแป้งปั้นเป็นลูก ใส่ไส้ต่าง ๆ เช่น เนื้อหรือผัก แล้วนึ่งให้สุก แต่ปัจจุบันอาจใช้วิธีอื่น เช่น ทอด ในวัฒนธรรมจีนยังมีอาหารที่คล้ายคลึงกันแต่ไม่ใส่ไส้ คือ หมั่นโถว

ทำไมคนไทย เรียก ซาลาเปา

สรุปความว่า ซาลาเปา ชื่อนี้อาจมาจากคำ 烧腊包 ตามเสียงแต้จิ๋วหรือฮกเกี้ยน หรืออาจมาจากคำ ซอลอเปา (挱啰包) หรือเซียลอเปา (烧啰包) กระทั่งว่า ไม่ได้มาจากคำใดเลย เป็นเพียงภาษาปาก (ที่ไม่มีตัวอักษร) ที่ชาวบ้านกึงโอ่วชุงและชาวแต้จิ๋วเรียกกันก็ได้