โครง งาน ภาษา ไทย 5 บท

บทที่ ๕

สรุปผลการศึกษา

สรุปผลการศึกษา

            จากการทำโครงงานวิชาภาษาไทย เรื่องคำราชาศัพท์ ได้มีการสำรวจความพึงพอใจจากนักเรียน  ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น  และจากผลการสำรวจจะเห็นได้ว่า  ผู้ประเมินมี
ความพึงพอใจในผลงานและการนำเสนอ
  ซึ่งจัดว่าอยู่ในระดับเกณฑ์ดีเป็นส่วนใหญ่  อีกทั้งยังมีความพึงพอใจในเนื้อหาสาระ  ได้รับความสนุกสนานจากการทำกิจกรรม  มีความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับคำราชาศัพท์มากยิ่งขึ้น  อีกทั้งยังสามารถ  นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ  ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม  นอกจากนี้ยังได้รับความพึงพอใจในความเหมาะสม  ที่จัดเป็นสื่อการเรียน

 อภิปรายผล

          จากการศึกษาค้นคว้าโครงงานเรื่องการศึกษาคำราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 หมายถึง ถ้อยคำที่คนทั่วไปใช้เมื่อพูดกับหรือพูดกับพระเจ้าแผ่นดินและพระราชวงศ์หรือพระญาติของพระเจ้าแผ่นดิน คำที่ใช้กล่าวถึงสิ่งต่างๆที่เป็นของพระเจ้าแผ่นดินและพระราชวงศ์  หรือเกี่ยวกับพระเจ้าแผ่นดินและพระราชวงศ์ต้องเป็นคำราชาศัพท์

ประโยชน์ที่ได้รับ

            ๑.  ได้รับความรู้ในเรื่องคำราชาศัพท์

            ๒.  สามารถนำคำราชาศัพท์ไปใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละโอกาสได้

            ๓.  ผู้ที่ศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น

            ๔.  ผู้ที่ศึกษาได้รับความสนุกสนาน  เพลิดเพลิน

            .  เกิดความสามัคคีภายในกลุ่ม

ข้อเสนอแนะ

            ๑.  ควรมีการจัดทำสื่อการเรียนการสอนในเรื่องอื่น ๆ อีก

            ๒.  ควรหาคำราชาศัพท์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน

            ๓.  ควรปลูกจิตสำนึกให้ประชาชนใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องตามอักขระวิธี  
เพื่อเป็นการอนุรักษ์ภาษาไทย

โครงงานภาษาไทย
เรื่อง สำรวจการใชค้ ำสแลงในส่ือออนไลน์

เด็กหญงิ ธวลั รตั น์ โดย
เดก็ หญิงสทุ ธิดา เหมือนจติ ต์ ม.2/1 เลขที่ 23
สุวรรณวฒั น์ ม.2/1 เลขท่ี 36

ครทู ปี่ รกึ ษา
คณุ ครูอไุ รภรณ์ พรหมลา

โครงงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวชิ าภาษาไทยเพ่อื การเขียนรายงานเชงิ วิชาการ
โรงเรียนสภาราชินี จังหวดั ตรัง

ภาคเรียนท่ี 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ปกี ารศึกษาที่ 2564

คำนำ

โครงงานน้ีเปน็ ส่วนหนง่ึ ของวชิ าภาษาไทยเพื่อการเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2
โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการใช้คำสแลงในสื่อออนไลน์ โดยในรายงานนี้มีเนื้อหาประกอบด้วยความรู้
เกีย่ วกบั คำสแลงตลอดจนตัวอย่างของคำสแลงที่พบไดใ้ นส่ือออนไลน์ของไทย กล่มุ ของข้าพเจ้าได้เลือกทำ
หัวข้อนี้ในการทำรายงานเนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจและเป็นเรื่องใกล้ตัว ทั้งนี้กลุ่มของข้าพเจ้าต้อง
ขอขอบคุณอาจารย์อุไรภรณ์ พรหมลา ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา หวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้
ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน หากมีข้อเสนอแนะประการใดกลุ่มของข้าพเจ้าขอรับไว้ด้วย
ความขอบพระคณุ ยงิ่

คณะผู้จัดทำ

กิตติกรรมประกาศ

โครงงาน เร่อื ง การสำรวจการใช้คำแสลงในสอ่ื ออนไลน์นส้ี ําเร็จลลุ ่วงไปได้ ดว้ ยความอนุเคราะห์
ของคุณครูอุไรภรณ์ พรหมลา ทไ่ี ดใ้ หค้ ำปรกึ ษาและแนะนำเป็นอยา่ งดี และข้อมูลจากอินเตอร์เนต็ ต่างๆ
ทำให้กลุ่มของขา้ พเจ้าสามารถจดั ทำโครงงานเล่มน้อี อกมาไดด้ ว้ ยดี และสุดท้ายน้คี ณะผู้จดั ทำขอขอบคณุ
ผู้อยเู่ บ้ืองหลงั ในการทำโครงงานเลม่ น้เี ปน็ อยา่ งสูง

บทคัดยอ่

โครงงาน เรื่อง การสำรวจการใช้คำสแลงในส่ือออนไลน์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการรวบรวมและ
เผยแพร่คำศัพท์ที่ใช้กันในปัจจุบัน และเป็นการสร้างความตระหนักในการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง ซ่ึง
ขั้นตอนการดำเนินโครงงานมีดังนี้ ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานเพื่อขอ
คำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำโครงงาน ผู้ศึกษาโครงงานวิเคราะห์หัวข้อโครงงานเพื่อกำหนด
วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน และกำหนดกลุ่มประชากรคือ นกั เรียนโรงเรยี นสภาราชินี จังหวัดตรงั ระดบั ช้ัน
ม.2/1 จำนวน 10 คน เก็บรวบรวมข้อมูล จากนั้นจึงสรุปผลและนำเสนอข้อมูล โดยจากผลการศึกษา
พบว่าในปัจจุบันมีการนำคำสแลงมาใช้ในชีวิตประจำวันเยอะมาก จนทำให้คำศัพท์เดิมที่ถูกต้องนั้นมี
ความหมายผิดเพีย้ นไปมาก

สารบญั ง

เรอ่ื ง หน้า

คำนำ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคดั ย่อ ค
สารบญั ง
บทที่ 1 บทนำ 1
1
ที่มาและความสำคญั 1
วตั ถุประสงค์ 1
นยิ ามศัพท์ 1
ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รบั 1
ขอบเขตของโครงงาน 3
บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง 3
ภาษา 3
สือ่ สังคมออนไลน์ 4
คำสแลง 5
บทท่ี 3 วิธีการดำเนนิ การ 5
วสั ดุอุปกรณ์ 5
ข้ันตอนการดำเนนิ โครงงาน 6
บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน 6
ผลการดำเนนิ งาน

เร่ือง จ

การนำไปใช้ หนา้
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ
7
สรุปผล 8
อภิปรายผล 8
บรรณานุกรม 9
10

1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคญั

สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปมากนั้นส่งผลต่อการสื่อสาร ที่ใช้ภาษาเป็น
เครื่องมือ ซึ่งปัญหาในการ ใช้ภาษาไทยนั้นเริ่มลุกลามมาจากโปรแกรมสนทนา(chat) และเกม
ออนไลน์ ด้วยความต้องการให้การสนทนาสั้นและกระชับ จึงทำให้เกิดปัญหาการใช้คำสแลงใน
ภาษาไทย

ซง่ึ ในปัจจบุ ันก็ได้มกี ารนำคำสแลงมาใชส้ ื่อสารในชีวิตประจำวนั ด้วย โดยไม่ไดค้ ำนึงถึงว่า
น่นั คอื การทำลายภาษาไทยทางออ้ ม

ดังนั้นทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้จัดทำโครงงานสำรวจการใช้คำสแลงในสื่อออนไลน์ข้ึน
เพ่อื ให้ผ้ศู ึกษาใช้ภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้อง

1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพื่อเป็นการรวบรวมและเผยแพร่คำสแลงท่ใี ชใ้ นปัจจบุ นั
1.2.2 เพ่อื เป็นการสรา้ งความตระหนักในการใช้ภาษาไทยใหถ้ ูกต้อง

1.3 นิยามศัพท์

1.3.1 ภาษา หมายถึง กริยาอาการทีแ่ สดงออกมาแลว้ สามารถทำความเข้าใจกันได้ ไม่ว่าจะเปน็
ระหว่างมนุษยก์ ับมนุษย์ มนุษย์กับสัตว์ หรือสัตว์กับสัตว์ ส่วนภาษาในความหมายอย่างแคบนั้น หมายถึง
เสียงพูดทม่ี นุษย์ใชส้ ่ือสารกนั เทา่ นั้น

1.3.2 การใช้ภาษา หมายถึง การติดต่อสื่อความหมายในสังคมให้เป็นที่เข้าใจกนั ด้วยการฟังผู้อน่ื
พูดบา้ งผ้อู ื่นฟังบ้างอา่ นส่งิ ท่ีผู้เขียนและเขยี นบางสงิ่ บางอย่างให้ผอู้ ื่นอ่านบา้ ง

1.3.3 สื่อออนไลน์ คือ สื่อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผ่าน
เครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต พดู งา่ ยๆ กค็ ือเว็บไซต์ทีบ่ ุคคลบนโลกน้ีสามารถมปี ฏิสัมพนั ธโ์ ต้ตอบกนั ไดน้ น่ั เอง

2

1.3.4 คำสแลง หมายถึง “คําคะนอง” และกล่าวว่า คำสแลงเป็นภาษาปาก เป็นภาษาไม่เป็น
แบบแผน แต่ไม่ใช่คำต่ำ หรือ คำหยาบ เป็นคำพิเศษเฉพาะกลุ่มที่สร้างขึ้นเพื่อให้มคี ำแปลกๆ สร้างความ
สนกุ สนาน ระดบั คํามกี ารเปล่ียนแปลงตามกาลสมัย

1.4 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ

1.4.1 มีความรู้ความเขา้ ใจในการเปลยี่ นแปลงภาษาทว่ี ยั รุน่ ใช้ในสอ่ื ออนไลนม์ ากยิ่งขึน้
1.4.2 ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการใชภ้ าษาไทยใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม

1.5 ขอบเขตของโครงงาน

1.5.1 ศึกษาคำสแลงท่ใี ชก้ นั บ่อยในยคุ ปจั จุบนั จากอนิ เทอร์เน็ต
1.5.2 ระยะเวลาในการศึกษาต้งั แตว่ นั ที่ 9 พฤศจิกายน 2564 – 13 มกราคม 2565

3

บทท่ี 2
เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง

โครงงานภาษาไทยเร่อื ง สำรวจการใชค้ ำสแลงในส่ือออนไลน์ กลุ่มของข้าพเจ้าได้ทำการศกึ ษาค้นควา้
ข้อมูล และเอกสารทเี่ กี่ยวข้อง โดยมรี ายละเอยี ดตามลำดับดังน้ี

2.1 ภาษา
2.2 คำสแลง
2.3 สอ่ื สังคมออนไลน์

2.1 ภาษา

คำวา่ “ภาษา” เปน็ คาํ สนั สกฤตท่ีมาจากรากศัพท์เดิมว่า “ภาษ” เป็นคำกรยิ า แปลวา่ กล่าว พูด
หรือบอก เมื่อนำมาใชจ้ ึงเปลี่ยนรปู เป็น “ภาษา” ซึ่งมีความหมายตามรูปศัพท์ว่า คำพูด หรือถ้อยคำ เป็น
สิ่งที่มนุษย์ใช้ทำความเข้าใจระหว่างคนกับคน เป็นวิธีที่มนุษย์ใช้แสดงความในใจเพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งได้รู้
โดยใช้เสียงพูดที่มีระเบียบและมีความหมาย พูดออกมาเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน อาจกล่าวโดย
สรุปว่า ภาษา คือ เครื่องมือในการสื่อความหมายโดยผ่านทางเสียงพูด ถ้อยคำ กริยาอาการ หรือ
สัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อใช้ถ่ายทอดความรู้สึก ความต้องการของตนให้ผู้อื่นทราบในการประกอบกิจการ
ร่วมกนั (หมวดภาษาไทย มหาวทิ ยาศรนี ครินทรวโิ รฒประสานมติ ร(ฝ่ายมัธยม),๒๕๕๑)

2.2 สื่อสงั คมออนไลน์

สื่อสังคมออนไลน์ คือ สื่อท่ีผู้ส่งสารแบ่งปันสาร ซึ่งอยู่ในรูปแบบต่างๆ ไปยังผู้รับสารผ่าน
เครือข่ายออนไลน์ โดยสามารถโต้ตอบกันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร หรือผู้รับสารด้วยกันเอง ซ่ึง
สามารถแบ่งสื่อสังคมออนไลน์ออกเป็นประเภทต่างๆ ที่ใช้กันบ่อยๆ คือ บล็อก (Blogs) ไมโครบล็อก
(Microblogging) เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking) และการ แบ่งปันสื่อทางออนไลน์
(Media Sharing)

4

2.3 คำสแลง

สแลง (slang) หมายถึง คําหรือข้อความที่ไม่มาตรฐานและใช้ในภาษาแบบไม่เป็นทางการ เพื่อ
สือ่ อารมณ์ ความรู้สกึ กิรยิ าอาการ เป็นตน้ เกดิ ขนึ้ ตามกระแสสงั คมและเร่มิ จากกล่มุ คนบางกลุ่มหรือ บาง
วงการ เชน่ กล่มุ วยั รนุ่ เป็นถ้อยคาํ หรือสาํ นวนที่ใช้เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มหรือชัว่ ระยะเวลาหน่ึง ไมใ่ ช่ ภาษา
ทยี่ อมรับกันวา่ ถกู ต้อง (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2553)

2.3.1 ประเภทของคำสแลง

1.คำสแลงแท้ เปน็ คำท่ีถูกกำหนดเสียงและความหมายขึ้นมาใหม่และอาจมลี ักษณะของ
เสียงและความหมายจากคำที่มีอยู่เดิม เช่น “ข้าว” หมายถึงผู้ชายกะเทยที่มีพฤติกรรมแสดงตน
ว่าเปน็ หญงิ ไม่ใชช่ ายเปน็ การเปลี่ยนเสียงพยญั ชนะตน้ และเสยี งวรรณยกุ ต์จากคำเดิม “สาว”

2. คำสแลงเทียม เป็นการนำคำที่มีอยู่ในภาษาปกติมาทำให้เกิดความหมายใหม่ขึ้นมา
อาจเป็นความหมายเชิงอุปมาหรือใช้ในหน้าที่ที่กำหนดขึ้นใหม่ ซึ่งคำจำกัดความของคำสแลง
เทียมของจินตนาพุทธเมตะคล้ายกับคำสแลงไม่แท้ของสุชาดาเทวะผลิน เช่น “แหนม” หมายถึง
คนทม่ี ลี ักษณะรปู รา่ งอว้ นเตี้ยมาจากการนำลกั ษณะของแหนมที่กลมเปน็ ปลอ้ งไปเปรียบเทียบ

3. คำสแลงลักษณะ ประสมเป็นคำสแลงที่ตัดพยางค์จากคำเดิมหรือเป็นการประสมคำ
ระหว่างคำสแลงแท้กับคำสแลงเทียม เช่น “กะ” หมายถึง กะเทย เป็นการตัดคำจากคำเดิมว่า
“กะเทย”

5

บทที่ 3

วิธีการดำเนินการ

โครงงานภาษาไทย เรอื่ ง การสำรวจการใช้คำสแลงในสื่อออนไลน์ มวี ัสดอุ ุปกรณแ์ ละวธิ ีการ
ดำเนินการ ดังน้ี

3.1 วสั ดุอปุ กรณ์

1. กระดาษ ปากกา ยางลบ ดนิ สอ ไม้บรรทดั
2. คอมพวิ เตอร/์ อนิ เตอร์เน็ต
3. โปรแกรม Microsoft Word

3.2 ข้ันตอนการดำเนินโครงงาน

1. ผศู้ ึกษานำเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานเพ่ือขอคำแนะนำและกำหนด
ขอบเขตในการทำโครงงาน

2. ผศู้ ึกษาโครงงานวิเคราะห์หัวข้อโครงงานเพ่อื กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ของ โครงงาน
3. กำหนดกล่มุ ประชากร
4. เกบ็ รวบรวมข้อมูล
5. สรปุ ผลการสำรวจ และนำเสนอผลการสำรวจ โดยนำข้อมลู ทไี่ ดม้ าวเิ คราะห์ข้อมลู และเขยี น
สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอเป็นรูปเลม่
6. นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ทป่ี รกึ ษาเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน

6

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน

จากการศึกษาเรอื่ ง การสำรวจการใช้คำสแลงในส่ือออนไลน์ ซง่ึ ได้ดำเนนิ การสำรวจจากนักเรยี น
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนสภาราชนิ ีจังหวัดตรงั จำนวน 10 คน และได้ผลการศกึ ษาดงั น้ี คือ

4.1 ผลการดำเนินงาน

คำสแลง ความหมาย
ความลับแตก,ความจริงถูกเผย
โปะ๊ ,โป๊ะแตก น่ารำคาญ
น่ามคาน ใช่ไหม
ช่ะ สสู่ ุขคติ
ขิต,สู่ขิต ตาย
ตยุ จริง
จงี ,จิง เย่ียม
เย่ม สุดยอด โดดเด่น อลงั การ
ปัง,ตา๊ ช แกลง้
แกง รำคาญ,ไมช่ อบ
ลำไย พงั ไม่รอด แย่ ไม่ผ่าน
บ้ง ผิดหวัง
ตบุ้ อกหกั พลาดไมไ่ ด้ตามที่หวงั
นก บูลล่ี (การกลั่นแกล้ง)
บกู ี้ กรรม
ภำ โกรธ,อารมณ์รอ้ น,หงุดหงดิ งา่ ย
หัวรอ้ น เหนอ่ื ย
เหน่ย การโกหก,หลอกหลวง,ทำใหเ้ ข้าใจผิด
จกตา

7

4.2 การนำไปใช้

4.2.1 ผู้ศึกษาสามารถเข้าใจความหมายของคำสแลงในสอ่ื ออนไลนไ์ ด้
4.2.2 สามารถนำคำทบ่ี กพรอ่ งอยไู่ ปใช้ใหถ้ กู ต้องได้

8

บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ

ผลจากการศึกษาเรื่องการใช้คำสแลงในสื่อออนไลน์ที่คนส่วนใหญ่ใช้ในปัจจุบัน โดยมี
วัตถุประสงค์ เพือ่ รวบรวมและเผยแพร่คาํ สแลงทีใ่ ช้กันในปัจจุบนั และเป็นการสร้างความตระหนักในการ
ใช้ภาษาไทยใหถ้ ูกต้องตามหลักพจนานกุ รม มรี ายละเอยี ดดงั นี้

5.1 สรปุ ผล

คำสแลง ความหมาย
ความลบั แตก,ความจริงถกู เผย
โปะ๊ ,โป๊ะแตก น่ารำคาญ
น่ามคาน ใชไ่ หม
ชะ่ สสู่ ุขคติ
ขติ ,สูข่ ติ ตาย
ตยุ จรงิ
จีง,จิง เย่ยี ม
เย่ม สุดยอด โดดเด่น อลังการ
ปัง,ตา๊ ช แกล้ง
แกง รำคาญ,ไม่ชอบ
ลำไย พัง ไมร่ อด แย่ ไม่ผ่าน
บ้ง ผิดหวัง
ตบุ้ อกหัก พลาดไมไ่ ด้ตามท่ีหวงั
นก บลู ลี่ (การกลั่นแกลง้ )
บูก้ี กรรม
ภำ โกรธ,อารมณร์ อ้ น,หงุดหงดิ งา่ ย
หวั รอ้ น เหนือ่ ย
เหน่ย การโกหก,หลอกหลวง,ทำใหเ้ ขา้ ใจผดิ
จกตา

9

5.2 อภปิ รายผล

สาเหตุที่สำคัญในการเปลี่ยนแปลงภาษาของวัยรุ่นที่ใช้กันในปัจจุบันเนื่องมาจากสาเหตุหลาย
ประการดังนี้

5.2.1 เมอ่ื การติดต่อผา่ นเครือข่ายออนไลน์กลายเป็นช่องทางใหม่ในการส่ือสาร ภาษาในยุคน้ีจึง
แปลกเปล่ยี น เกดิ ภาษาใหมๆ่ บางคำมาจากแปน้ พมิ พ์ทอ่ี ยูต่ ดิ กันพมิ พง์ ่ายกว่าจงึ เกิดคำใหม่แทนคำเกา่

5.2.2 เพือ่ ลดความรุนแรงในการใช้ภาษาทไ่ี มส่ ภุ าพ

5.2.3 คำศัพท์ใหม่ๆ ที่วัยรุ่นหรือคนบางกลุ่มนำมาใช้จนแพรห่ ลายนัน้ ก็เพราะว่า คำไทยที่มีอยู่
เดิมอาจจะไม่สามารถสื่อถึงลักษณะและรายละเอียดของสิ่งที่ต้องการจะสื่อสารได้มากพอ ผู้ส่งสารก็เลย
ตอ้ งพยายามคิดคำขึน้ มาใหม่ให้สามารถบอกรายละเอียดและความรูส้ ึกของตนเองให้ได้มากทีส่ ุด

5.2.4 การเขียนคำไทยในอินเตอร์เน็ตหรือนิตยสารเพื่อความบันเทิง จะเขียนตามเสียงอ่าน
เพราะไมต่ ้องการอยใู่ นกรอบหรือต้องการทำอะไรท่ีคิดว่าใหม่ ไมเ่ ลยี นแบบของเก่า

10

บรรณานุกรม

เว็บไซต์

(1) จุไรวรรณ กระจา่ งจิตต.์ (2557). ความหมายของภาษา การใช้ภาษา สอื่ สังคมออนไลนแ์ ละคำ
สแลง. สบื ค้นเม่ือ 17 พฤศจิกายน 2564, จาก
https://churaizaza.blogspot.com/2014/12/blog-post.html

(2) พชิ ิต วจิ ติ รบุญยรกั ษ์. (2553). ความหมายของสือ่ สงั คมออนไลน์. สืบคน้ เมือ่ 29 พฤศจกิ ายน
2564, จาก
https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_11/pdf/aw016
.pdf

(3) รชั นี ศริ ิไสยาสน์. (2551). ประเภทของคำสแลง. สบื ค้นเมือ่ 29 พฤศจิกายน 2564, จาก
http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ed_Lin/Ratchanee_S.pdf