สรุป สูตร ฟิสิกส์ ม ปลาย ทั้งหมด pdf

ปลำย โดยครูมคิ (กนกพล ชัยวรวิทย์กลุ ) การเคลือ่ นที่แนวตรง เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่่าเสมอ : ความเร่ง เคลื่อนที่ด้วยอัต...

สูตรคณิตศาสตร์ ครูน้อย

www.theactkk.net

1

สูตรคณิตศาสตร์ ครูน้อย

www.theactkk.net

2

สูตรคณิตศาสตร์ ครูน้อย

www.theactkk.net

3

สูตรคณิตศาสตร์ ครูน้อย

www.theactkk.net

4

25

สูตรฟิสิกส์ ครูมิค

สรุปสูตรทีจ่ ำเป็นต่อกำรคำนวณข้อสอบฟิสก ิ ส์ ม.ปลำย โดยครูมคิ (กนกพล ชัยวรวิทย์กลุ )

การเคลือ่ นที่แนวตรง เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่่าเสมอ :

ความเร่ง

เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่งสม่่าเสมอ

a =

อัตราเร็วเฉลี่ย

v=

ΔS Δt

ความเร็วเฉลี่ย

v =

Δv Δt

1 u  v  t 2 1 v2 = u2 + 2as S = ut + at2 2 หมายเหตุ 1: ก่าหนดให้ทศิ u เป็น + เสมอ, ตัวแปรใดทิศตาม u เป็น + ถ้าทิศตรงข้าม u เป็น  v = u + at

S=

หมายเหตุ 2: ถ้าเป็นการตกแบบเสรี ให้เปลี่ยนความเร่งจาก a เป็น g (โยนขึน้ g , ตกหรือขว้างลง g +)    

กราฟ S &t : ความเร็ว v = ความชัน กราฟ v &t : ความเร่ง a = ความชัน กราฟ v &t : การกระจัด S = ผลต่างพื้นที่ใต้กราฟ, ระยะทาง S = ผลบวกพื้นที่ใต้กราฟ กราฟ a &t : ความเร็วที่เปลี่ยนไป Δv = ผลต่างพื้นทีใ่ ต้กราฟ

แรง มวล กฎการเคลือ่ นที่ของนิวตัน  

กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน  F = 0 (แรงในแนวแกนเดียวกันหักล้างกันหมด) กฎข้อที่ 1 ใช้เมื่อวัตถุยังคงหยุดนิง่ หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว

กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน  F = ma กฎข้อที่ 2 ใช้เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งหรือถูกแรงลัพธ์กระท่า

กฎข้อที่ 3 ของนิวตัน (ใช้การกลับประธานเป็นกรรม, กรรมเป็นประธาน เพื่อหาแรงคู่กิริยา – ปฏิกริ ิยา)

Gm1m2 GMm , แรงโน้มถ่วงเป็นแรงดึงดูดระหว่างมวล mg = 2 r2 r Gm  ค่าความเร่งโน้มถ่วงบนดาวเคราะห์ g = 2 (m และ r คือ มวลและรัศมีของดาวเคราะห์ ตามล่าดับ) r 

แรงดึงดูดระหว่างมวล F =

แรงเสียดทานสถิต,

fs,max = sN

และแรงเสียดทานจลน์,

ΔS Δt

www.theactkk.net

fk = kN โดยที่ s  k เสมอ

การเคลือ่ นที่แบบโปรเจกไทล์ 

แนวราบ: ไม่มีแรงกระท่า (  Fx = 0) แนวดิ่ง: แรงโน้มถ่วง (  Fy = mg )

ความเร็วลัพธ์

v=

vx 2  v y 2 ,

 

ไม่มีความเร่ง ( ax = 0) ความเร่งโน้มถ่วง ( a y = g )

 

มุมของทิศทางความเร็วที่ท่ากับแนวระดับ 

ความเร็วคงที่ ( S x = vx t ) ความเร่งคงตัว (สูตรค่านวณ 4 สูตร) = tan 1

vy vx

26

สูตรฟิสิกส์ ครูมิค

1 y = tan  4 x

ความสัมพันธ์ระหว่างพิสัยแนวราบและแนวดิ่ง

ส่าหรับโปรเจกไทล์แบบเต็มใบ 1. พิสัยแนวราบไกลสุดที่มุมยิง 45 2. การยิง 2 ครั้ง ถ้าเริ่มต้นยิงด้วยอัตราเร็วต้นเดียวกันแล้ว จะตกลงที่จดุ เดียวกันได้เมื่อมุมยิงสองครัง้  1 +  2 = 90

การเคลือ่ นที่แบบวงกลม 1 T Δ 2 = 2πf = , ω = Δt T

ความถี่และคาบ

ความเร็วเชิงมุม

 

แรงสู่ศูนย์กลาง  FC แรงตามแนวเส้นสัมผัส

แนวสู่ศูนย์กลางและแนวสัมผัสมีทิศตั้งฉากกัน ดังนั้น

ความเร่งสู่ศูนย์กลาง

แรงสู่ศูนย์กลาง

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วเชิงเส้นและเชิงมุม

v = ωr

= maC (เพื่อเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที)่

 FT = maT (เพื่อเปลี่ยนขนาดของความเร็ว) F=

FC 2  FT 2

a=

aC 2  aT 2

v2 = ω2r r v2 FC = m = mω2r r

aC =

สมดุลกล

www.theactkk.net

f =

สภาพสมดุลต่อการเลื่อนที่ (ไม่เลื่อนเลย(สภาพนิ่ง) หรือเลื่อนด้วยความเร็วเชิงเส้นคงที)่ และ  Fy = 0 (แรงขึ้นเท่ากับแรงลง)  Fx = 0 (แรงซ้ายเท่ากับแรงขวา)

สภาพสมดุลต่อการหมุน (ไม่หมุนเลย(สภาพนิ่ง) หรือหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงที)่  M = 0 (โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา)

สภาพสมดุลสัมบูรณ์ (สมดุลต่อการเลื่อนที่และต่อการหมุนในเวลาเดียวกัน) และ  M = 0  Fy = 0  Fx = 0,

การหาต่าแหน่งของจุดศูนย์กลางมวล (C.M.) และจุดศูนย์ถ่วง (C.G.) ของอนุภาคทีเ่ รียงอยู่บนแนวเส้นตรงเดียวกัน xC.M. =

m1 x1  m2 x2  m3 x3  ...  mi xi = m1  m2  m3  ...  mi

งานและพลังงาน 

งาน

W = F S

ก่าลัง

P =

พลังงานกล

W = F v t E = Ek + Ep

พลังงานจลน์

Ek =

ประกอบด้วย 1 2 mv 2

พลังงานศักย์โน้มถ่วง

Ep = mgh

พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

Eps =

1 2 kx 2

27

แรงดึงในสปริง

กฎการอนุรักษ์พลังงาน (กฎทรงพลังงาน) ทฤษฎีงาน – พลังงานจลน์ Ek 2 = Ek 1 + W12

สูตรฟิสิกส์ ครูมิค

F = kx

หรือ

E1 = E2

v2 = u2  2gs

 

โมเมนตัม P = mv การดล I = ΔP =  F  t = m  v  u  1. กราฟ F &t : การดล I = พื้นที่ใต้กราฟ 2. ถ้ากระแทกแล้ววัตถุสะท้อนกลับ, ค่า  v  u  ให้น่าความเร็วมาบวกกัน การชนแบบยืดหยุ่น (กรณีมีวัตถุในระบบ 2 ก้อน, ไม่มีแรงจากภายนอก) สมการ 1:  P ก่อนชน =  P หลังชน : m1u1 + สมการ 2:

 Ek ก่อนชน =  Ek หลังชน :

m2u2 = m1v1 + m2 v2

1 1 1 1 m1u12 + m2u22 = m1v12 + m2v22 2 2 2 2

การชนแบบไม่ยืดหยุน่ (กรณีมีวัตถุในระบบ 2 ก้อน, ไม่มีแรงจากภายนอก) สมการ 1:  P ก่อนชน =  P หลังชน : m1u1 + m2u2 = m1v1 + m2 v2 (ชนแล้วติดกันไป, ชนแล้วพลังงานสูญหาย)  Ek ก่อนชน   Ek หลังชน การระเบิด สมการ 1:  P ก่อนชน =  P หลังชน : m1u1 + m2u2 = m1v1 + m2 v2

การเคลือ่ นที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 

ทิศแรง (ทิศความเร่ง) มีทิศตรงข้ามกับทิศการกระจัดตลอดเวลา (F = kx) ปริมาณการกระจัด, ความเร็ว และความเร่งมีค่าเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาที่เคลื่อนที่ (ไม่มีปริมาณใดคงที่เลย) การเคลื่อนที่กลับไปกลับมารอบต่าแหน่งสมดุลนี้ ถือว่า พลังงานในระบบคงที่ตลอดเวลา ไม่มีการสูญหาย

การกระจัด

S = A sin t

ความเร็ว

ความเร่ง

  v =  A sin  t   =  A cos t 2  a =  A sin t    =   2 A sin t =   2 S (แสดงได้ว่า a  S)

 

ที่ต่าแหน่งไกลสุด (การกระจัด = A); ที่ต่าแหน่งสมดุล (การกระจัด = 0);

พลังงานของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก E =

คาบการแกว่งของมวลติดปลายสปริง

คาบการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย

 

(พิจารณาจากกรณีเริ่มต้นเคลื่อนที่จากต่าแหน่งสมดุล, x = 0 เมื่อ t = 0)

ความเร็วน้อยสุด (vmin = 0) ความเร็วมากสุด (vmax = ωA)

แต่ ความเร่งมากสุด (amax = ω2A) แต่ ความเร่งน้อยสุด (amin = 0)

1 2 kA , k คือ ค่าคงทีข่ องระบบ (k = mω2) 2

m k L T = 2 g

T = 2

www.theactkk.net

การดลและโมเมนตัม

สั่นในแนวดิ่งหรือแนวราบก็ได้ ไม่ขึ้นกับมวลของลูกตุ้มที่น่ามาแกว่ง

41

สูตรเคมี ครูหน่อง

รวมสูตรวิชาเคมี โดยครูหน่อง (เจริญพร โชคบริบาล) อะตอมและโครงสร้ำงอะตอม แบบจำลองอะตอม 1. ดอลตัน

2. ทอมสัน

www.theactkk.net

ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็กๆที่เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยกทาให้สูญหายไม่ได้ อะตอมของธาตุชนิด เดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกันและมีสมบัติแตกต่างจากธาตุอื่น ทอมสันทดลองโดยใช้หลอดรังสีแคโทด จนได้ค่า e/m เป็นค่าคงที่พบว่าอะตอม ประกอบด้วยอนุภาค มูลฐานทีเ่ รียกว่าอิเล็กตรอน โกลด์สไตล์ดัดแปลงหลอดรังสีพบว่าแก๊สทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค บวกที่เรียกว่า โปรตอน ดังนั้นแบบจาลองอะตอมของทอมสัน คืออะตอมเป็นทรงกลมตัน มีอนุภาคที่ เป็น ลบ (อิเล็กตรอน) และ บวก (โปรตอน) กระจายอย่างสม่าเสมอ 3. รัทเทอร์ฟอร์ด รัทเทอร์ฟอร์ดทาการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคาบาง ด้านหลังเป็นฉากเรืองแสง ได้ แบบจาลองว่า อะตอมประกอบด้วย นิวเคลียสเป็นที่รวมของโปรตอน(+) มีขนาดเล็กแต่มวลมาก ส่วนอิเล็กตรอน(-) มีมวลน้อยมากเคลื่อนที่เป็นชั้นเดียวรอบนิวเคลียส 4. นีลส์ บอห์ร บอห์รศึกษาสเปกตรัมและพลังงานไอออไนเซชัน สรุปว่าอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียส เป็นที่รวม ของโปรตอน(+) และนิวตรอน(0) ส่วนอิเล็กตรอน (-) เคลื่อนที่เป็นชั้นๆ ตามระดับพลังงานรอบ นิวเคลียส 5. กลุ่มหมอก อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส บริเวณที่มีกลุ่มหมอกทึบเป็นบริเวณ ที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอนมาก อนุภำคมูลฐำนของอะตอม อนุภำค

สัญลักษณ์

มวล(g)

ประจุ(C)

ชนิดของประจุ

โปรตอน

p

1.671024 1.6 1019

+1

นิวตรอน

n

1.671024

0

0

อิเล็กตรอน

e

9.11028

1.6 1019

-1

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z คือเลขอะตอม (atomic number) = p+ ในอะตอมที่เป็นกลาง p+ = eZX A คือเลขมวล (mass number) = p+ + n0 A - Z = n0

42

ตัวอย่างเช่น 14 p+ = 7 e- = 7 n0 = 7 7N

35  17 Cl

สูตรเคมี ครูหน่อง

p+ = 17 e- = 18 n0 = 18

ไอโซโทป (Isotope)

: อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจานวนนิวตรอนต่างกัน เช่น 11 H,

ไอโซโทน (Isotone)

: อะตอมของธาตุต่างชนิดกันมีจานวนนิวตรอนเท่ากัน เช่น 136 C,

ไอโซบาร์ (Isobar)

: อะตอมของธาตุต่างชนิดกันที่มีเลขมวลเท่ากัน เช่น

14 6 C,

2 3 1 H, 1 H 14 7N

14 7N

ไอโซอิเล็กทรอนิก (Isoelectronic) : อะตอมหรือไอออนของธาตุต่างชนิดกันที่จานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน เช่น

11 Na

,

8O

www.theactkk.net

จากการศึกษาสเปกตรัมของแก๊ส จะได้ว่าสเปกตรัม คือ พลังงานในรูปแสงที่อะตอมในภาวะกระตุ้นคายพลังงานออกมา เพื่อกลับสู่ภาวะพื้น (ground state) พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า c E = h = h  เมื่อ E = พลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (J) h = ค่าคงที่ของพลังค์ (6.625 x 10-34 J.s) c = ความเร็วแสง (3 x 108 m/s)  = ความยาวคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (m)

2

กำรศึกษำพลังงำนไอออไนเซชันและกำรจัดเรียงอิเล็กตรอน จากการศึกษาสเปกตรัมและค่าพลังงานไอออไนเซชันจะทาให้ได้การจัดเรียงอิเล็กตรอนตามแบบจาลองอะตอมของบอห์ร

กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนตำมระดับพลังงำนหลัก มีหลักการจัดเรียงดังนี้ 1. จานวนอิเล็กตรอนที่สามมารถจุได้สูงสุดในแต่ละชั้นเป็นไปตามสูตร 2n2 2. อิเล็กตรอนวงนอกสุด (valence electron) มีได้ไม่เกิด 8 3. อิเล็กตรอนก่อนวงนอกสุด ต้องเป็น 8 หรือ 18 เท่านั้น จาการจัดเรียงอิเล็กตรอน จะได้ว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอนบอกหมู่ จานวนระดับพลังงานบอกคาบ **สาหรับโลหะแทรนสิชัน อิเล็กตรอนวงนอกสุดต้องเป็น 2 เท่านั้น ยกเว้น Cr, Cu มีเวเลนช์อิเล็กตรอนเป็น 1 และจานวน อิเล็กตรอนที่เหลือจะบรรจุไว้ในชั้นก่อนวงนอกสุด ตัวอย่าง เช่น Na เป็นธาตุในหมู่ 1 คาบ 3 ในตารางธาตุ 11Na = 2, 8, 1 Ca เป็นธาตุในหมู่ 2 คาบ 4 ในตารางธาตุ 20Ca = 2, 8, 8, 2 Cr เป็นโลหะแทรนสิชันคาบ 4 ในตารางธาตุ 24Cr = 2, 8, 13, 1

กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนตำมระดับพลังงำนย่อย อิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานหลัก (shell) จะมีระดับพลังงานย่อย (sub – shell : s, p, d, f, …) โดยอิเล็กตรอนจะบรรจุ อยู่ในแต่ละระดับพลังงานย่อย บริเวณหรือรูปร่างที่บรรจุอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานย่อย เรียกว่า ออร์บิทัล (obital) เช่น s – orbital มีรูปร่างเป็นทรงกลมจุอิเล็กตรอนได้สองตัว p – orbital มีรูปร่างเป็นดัมเบล มี px , py, pz จุอิเล็กตรอนได้ 6 ตัว

43

สูตรเคมี ครูหน่อง

ตัวอย่างการจัดเรียงอิเล็กตรอน ตามระดับพลังงานย่อยของ 2 2 6 1 Na เป็นธาตุในหมู่ 1 คาบ 3 อิเล็กตรอนวงนอกสุดบรรจุใน s - orbital 11Na = 1s 2s 2p 3s 2 2 6 2 6 2 Ca เป็นธาตุในหมู่ 2 คาบ 4 อิเล็กตรอนวงนอกสุดบรรจุใน s - orbital 20Ca = 1s 2s 2p 3s 3p 4s 2 2 6 2 6 2 3 V เป็นโลหะทรานสิชันคาบ 4 ในตารางธาตุ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็น 2 23V = 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d สมบัติของธำตุตำมตำรำงธำตุ IE1, EN, EA, ความเป็นอโลหะ, รัศมีไอออนลบ น้อย

มาก

มาก

น้อย ขนาดอะตอม, ความเป็นโลหะ, รัศมีไอออนบวก

แนวโน้มสมบัติต่างๆ ตามหมู่และคาบ 2.1 ขนำดอะตอม ตามหมู่ : เพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง คืออะตอมด้านล่างจะมีขนาดใหญ่กว่าด้านบน ตามคาบ : ลดลงจากซ้ายไปขวา คือ ด้านซ้ายจะใหญ่กว่าด้านขวา คือ โลหะขนาดใหญ่กว่าอโลหะ

www.theactkk.net

ทฤษฏีและกฎที่เกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอน มีหลักการดังนี้ 1. หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli Exclusion Principle) กล่าวคือ อิเล็กตรอนที่บรรจุในออร์บิทัลเดียวกันจะมีสปิน ต่างกัน 2. กฎของฮุนด์ (Hund’s Rule) กล่าวคือ การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานเท่ากัน ให้บรรจุ อิเล็กตรอนที่มีสปินขึ้นทุกออร์บิทัลก่อน แล้วจึงค่อยเติมอิเล็กตรอนที่มีสปินลง 3. หลักของอาฟบาว (Aufbau principle) กล่าวคือ ต้องบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่ระดับพลังงานให้เต็มก่อน แล้ว จึงไปเติมในระดับพลังงานที่อยู่สูงขึ้นไป s – obital จุอิเล็กตรอนได้ 2 ตัว p – obital จุอิเล็กตรอนได้ 6 ตัว d – obital จุอิเล็กตรอนได้ 10 ตัว f – obital จุอิเล็กตรอนได้ 10 ตัว

44

สูตรเคมี ครูหน่อง

www.theactkk.net

2.2 ขนำดไอออน ไอออนบวก แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนสูง ขนาดจะเล็ก กล่าวคือ ยิ่งมีประจุบวกมากขนาดยิ่งเล็กลงมาก ตำมหมู่ : เพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง ตำมคำบ : ลดลงจากซ้ายไปขวา ไอออนลบ แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนลดลงสาหรับไอออนลบ กล่าวคือ ยิ่งมีประจุลบมากขนาดไอออน ยิ่งใหญ่มากขึ้น ตำมหมู่ : ลดลงจากบนลงล่าง ตำมคำบ : เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา 2.3 พลังงำนไอออไนเซชัน (Ionization energy : IE) IE คือ พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทาให้อิเล็กตรอนวงนอกสุดหลุดออกจากอะตอมในสภาวะแก๊ส Na(g) + IE1  Na+(g) + eNa(g) + IE2  Na2+(g) + eแนวโน้มค่ำพลังงำนไอออไนเซชันอันดับหนึ่ง ตำมหมู่ : ลดลงจากบนลงล่าง ตำมคำบ : เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา 2.4 อิเล็กโทรเนติวิตี (Electronegativity : EN) อิเล็กโทรเนกาติวิตี คือ ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอน แนวโน้มค่ำอิเล็กโทรเนกำติวิตี ตำมหมู่ : ลดลงจากบนลงล่าง ตำมคำบ : เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา 2.5 สัมพรรคภำพอิเล็กตรอน (Electron affinity : EA) สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน คือ ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของธาตุ ซึ่งจะต้องคายพลังงานออกมา EA จึงมีค่าเป็นลบ (คายพลังงาน) แนวโน้มค่ำสัมพรรคภำพอิเล็กตรอน ตำมหมู่ : ลดลงจากบนลงล่าง ตำมคำบ : เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา 2.6 จุดเดือดจุดหลอมเหลว (ของโลหะ หมู่ IA, IIA และ IIIA) ตำมหมู่ : เพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง ตำมคำบ : ลดลงจากซ้ายไปขวา เลขออกซิเดชัน คือ เลขที่บอกประจุสถานะของธาตุนั้นๆ มีหลักการหาค่าเลขออกซิเดชัน ดังนี้ 1. ค่าเลขประจุมาตรฐาน โลหะหมู่ IA = +1 โลหะหมู่ IIA = +2 โลหะหมู่ IIIA = +3 อโลหะหมู่ VA = -3 อโลหะหมู่ VIA = -2 อโลหะหมู่ VIIA = -3 CN = -1 NO3 = -1 SO4 = -2 CO3 = -1 PO4 = -3 H = +1 2. ผลรวมค่าเลขออกซิเดชันของทุกธาตุในสารประกอบเป็นศูนย์ 3. ผลรวมค่าเลขออกซิเดชันของทุกธาตุในสารประกอบไอออน ต้องเท่ากับประจุไอออนนั้น สำรประกอบออกไซด์ สำรประกอบคลอไรด์ สารประกอบ โลหะ อโลหะ สารประกอบไม่ละลายน้า คลอไรด์ กลาง กรด NCl3 CCl4 ออกไซด์ เบส กรด BeO MgO Al2O3 SiO2

47

สูตรเคมี ครูหน่อง

3.สารประกอบของ NO3 ทุกตัว เช่น Pb ( NO)3 , Ba ( NO)3 เป็นต้น

4.สารประกอบของ ClO3 ทุกตัว เช่น NaClO3 , Mg (ClO3 )2 เป็นต้น

5.สารประกอบของ ClO 4 ทุกตัว ยกเว้น KClO4 เช่น LiClO4 , Fe (ClO4 )2 เป็นต้น 6.สารประกอบของ CH 3COO  ทุกตัว

ยกเว้น CH 3 COOAg เช่น CH 3 COONa , (CH 3COO)2 Ca เป็นต้น

2.เป็นสารประกอบที่เกิดจากโลหะหมู่ II กับ CO32 , PO 4 3 , SO 4 2 ยกเว้น MgSO 4 เช่น Mg 3 ( PO 4 )2 , CaCO 3 เป็นต้น 3.เป็นสารประกอบที่เกิดจากโลหะทุกชนิดกับ S2 , OH  , O 2 ยกเว้น โลหะหมู่ I, II บางตัว ได้แก่ Ca 2 , Sr 2 , Ba 2 เช่น Al2S3 , ZnS, Cu ( OH)2 เป็นต้น

พลังงานในการละลาย( ΔH sol ) ประกอบไปด้วยพลังงาน 2 ขั้นตอนดังนี้

www.theactkk.net

การละลายน้าของสารประกอบไอออนิก สำรประกอบไอออนิกที่ละลำยนำได้ สำรประกอบไอออนิกที่ไม่ละลำยนำ 1.สารประกอบของโลหะหมู่ I ทุกตัว เช่น 1.สารประกอบที่เกิดจากโลหะหมู่ VII หรือ KNO3, NA2CO3, LiClO3 เป็นต้น CO32 , PO 4 3 , SO 4 2 กับ Ag  , Hg  , Pb 2 เช่น  2.สารประกอบของ NH 4 ทุกตัว เช่น AgCl, PbI2 , Ag 2SO 4 เป็นต้น ( NH4 ) 2 SO 4 , NH 4 Cl เป็นต้น

รูปแสดงกลไกกำรละลำยของสำรประกอบไอออนิก 1.พลังงานแลตทิซ (LE) ทาลายโครงร่างผลึก (ดูดความร้อนเพื่อสลายพันธะ) NaCl(s)  Na  ( g )  Cl  ( g ) 2.พลังงานไฮเดรชัน(HE) โมเลกุลของน้าเข้ามาล้อมรอบไอออน (คายความร้อนเพื่อสร้างพันธะกับน้า) Na  ( g )  Cl  ( g )  Na  (aq )  Cl  (aq ) หมายเหตุ 1. ถ้า HE  LE เป็นการละลายแบบคายพลังงาน สารละลายจะร้อน 2. ถ้า LE  HE เป็นการละลายแบบดูดพลังงานสารละลายจะเย็น 3. ถ้า LE  HE สารประกอบจะไม่ละลายน้า 2.3.พันธะโคเวเลนท์ (Covalent Bond) เป็นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดจากอโลหะกับอโลหะ (ยกเว้น Be กับ B ที่สามารถเกิดพันธะโควาเลนท์ได้ )นาเอาวาเลนซ์อิเล็กตรอน มาใช้ร่วมกันโดยสามารถใช้ร่วมกัน 1 คู่(พันธะเดี่ยว), 2 คู่(พันธะคู่), 3 คู่(พันธะสาม)

67

จุดเดือด (C) < 30

สถานะ แก๊ส

แนฟทาเบา แนฟทาหนัก น้ามันก๊าด

30 - 110 65 - 170 170 - 250

ของเหลว ของเหลว ของเหลว

น้ามันดีเซล น้ามันล่อลื่น ไข

250 - 340 > 350 > 500

ของเหลว ของเหลว ของแข็ง

น้ามันเตา ยางมะตอย

> 500 > 500

ของเหลวหนืด ของเหลวหนืด

จานวนคาร์บอน การใช้ประโยชน์ 1-4 ทาสารเคมี วัสดุสังเคราะห์ เชื้อเพลิง แก๊สหุงต้ม 5-7 น้ามันเบนซิน ตัวทาละลาย 6 - 12 น้ามันเบนซิน แนฟทาหนัก 10 - 14 น้ามันก๊าด เชื้อเพลิง เครื่องยนต์ไอพ่น และตะเกียง 14 - 19 เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล 19 - 35 น้ามันล่อลื่น น้ามันเครื่อง > 35 ใช้ทาเทียนไข เครื่องสาอาง ยาขัดมัน ผลิตผงซักฟอก > 35 เชื้อเพลิงเครื่องจักร > 35 ยางมะตอย เป็นของแข็งที่อ่อนตัวและ เหนียวหนืดเมื่อถูกความร้อน ใช้เป็น วัสดุกันซึม

www.theactkk.net

ผลิตภัณฑ์ที่ได้ แก๊สปิโตรเลียม

สูตรเคมี ครูหน่อง

การปรับปรุงคุณภาพน้ามัน มี 4 กระบวนการ ดังนี้ 1. กระบวนการแตกสลาย (Cracking process) เป็นกระบวนการทาให้สารประกอบไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่แตกออกเป็นโมเลกุลเล็กลง โดยใช้ความร้อนสูง ประมาณ 500OC และมีตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม Catalyst / 500C

C10H 22 C8 H16  C2 H 6 2. กระบวนการรีฟอร์มมิง (Reforming process) เป็นกระบวนการเปลี่ยนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนโซ่ตรงให้เป็นไอโซเมอร์แบบโซ่กิ่ง หรือการเปลี่ยนสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนแบบวงให้เป็นสารอะโรมาติก โดยใช้ความร้อนสูงและมีตัวเร่งปฏิกิริยา Catalyst/ Heat

CH3  CH 2  CH 2  CH 2  CH 2  CH3  

Catalyst/ Heat

 

3. กระบวนการแอลคิเลชัน (Alkylation process) เป็นกระบวนการรวมสารประกอบแอลเคนและแอลคีนโซ่กิ่งที่มีมวลโมเลกุลต่า เกิดเป็นโมเลกุลสารประกอบแอลเคน ที่มีโครงสร้างเป็นแบบโซ่กิ่งที่มีโมเลกุลใหญ่ขึ้น

4. กระบวนการโอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization process)

สูตรเคมี ครูหน่อง

การเปรียบเทียบเซลล์กัลวานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เซลล์กัลวำนิก เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 1. เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็น 1. เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า เป็นพลังงานเคมี 2. ขั้วแอโนดเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน 2. ขั้วแอโนดเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน 3. ขั้วแคโทดเกิดปฏิกิริยารีดักชัน 3. ขั้วแคโทดเกิดปฏิกิริยารีดักชัน 4. ขั้วลบเป็นขั้วที่อิเล็กตรอนไหลออก 4. ขั้วลบเป็นขั้วที่ต่อกับขั้วลบจากแหล่งกาเนิด 5. ขั้วบวกเป็นขั้วที่อิเล็กตรอนไหลเข้า 5. ขั้วบวกเป็นขั้วที่ต่อกับขั้วบวกจาก 6. ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เป็นขั้วบวก แหล่งกาเนิด 7. ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นเอง 6. ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เป็นขั้วลบ 7. ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นเอง ต้องใช้ไฟฟ้า

www.theactkk.net

75

5. กำรชุบโลหะด้วยไฟฟ้ำ 1. นาวัตถุที่จะชุบไปต่อเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรีหรือแคโทด ส่วนโลหะที่เป็นตัวชุบต่อเข้ากับขั้วบวกของแบตเตอรีหรือ เป็นแอโนด 2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ต้องมีไอออนของโลหะชนิดเดียวกับโลหะที่เป็นแอโนดหรือโลหะที่ใช้ชุบ 3. ใช้ไฟฟ้ากระแสตรงเพื่อให้ขั้วไฟฟ้าเป็นขั้วบวกและลบคงเดิม

6. กำรทำโลหะให้บริสุทธิ์ การทาโลหะให้บริสุทธิ์ด้วยกระบวนการอิเล็กโทรลิซิส ใช้หลักการเดียวกับกับการชุบด้วยไฟฟ้า โดยใช้โลหะที่บริสุทธิ์ เป็นแคโทด โลหะที่ไม่บริสุทธิ์เป็นแอโนด และใช้สารละลายที่มีไอออนของโลหะดังกล่าวเป็นอิเล็กโทรไลต์ เช่นการทา ทองแดงให้บริสุทธิ์ 1. นาทองแดงที่ไม่บริสุทธิ์มาต่อเป็นขั้วแอโนดของเซลล์ : Cu(s)  Cu2+(aq) + 2e2. ทองแดงบริสุทธิ์เป็นขั้วแคโทด : Cu2+ + 2e-  Cu(s) 3. ขั้วไฟฟ้าทั้งสองจุ่มอยู่ในสารละลายผสมของ CuSO4 และ H2SO4 Cu2+ ละลายลงไปในสารละลาย ส่วนโลหะที่

เจือปนอยู่กับทองแดง เช่น Fe Zn เป็นโลหะที่เสียอิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า Cu จึงถูกออกซิไดส์เป็น Fe2+ และ Zn2+ ปนอยู่ในสารละลาย ส่วนโลหะ Ag Au และ Pt เสียอิเล็กตรอนได้ยากกว่า Cu จะไม่ถูกออกซิไดส์ จึงตกตะกอน อยู่ที่ก้นภาชนะ