เรื่องเล่าเศรษฐกิจพอเพียงของครู สังคมศึกษา

เรอ่ื งเล่าของครู
โดย นางสาวภคั สรณส์ ิริ ศิลวนั ต์ ตาแหนง่ ครูผู้ช่วย

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริ เป็นหลักการและหลักปฏิบัติที่ข้าพเจ้าน้อมนามาสู่การ
ดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงเพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว งานในหน้าท่ี ให้ก้าวหน้าโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม และ
ความรู้ ฝึกตนเอง ในการคิด พูด ทา อย่างพอดีพอเหมาะพอควรบนหลักของการ มีเหตุผล โดยไม่เบียดเบียน
ตนเองและไมท่ าใหผ้ อู้ ืน่ เดอื ดร้อนข้าพเจ้าเชื่อม่ันวา่ ทง้ั ในดา้ นชวี ิตครอบครัวและดา้ นหน้าทก่ี ารงาน

หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นหลกั ในวิถชี วี ิต ที่สามารถนามาปรบั ใชใ้ นครอบครัวในการปฏิบัติตนบนทางสาย
กลาง ยึดหลักในเรื่องความพอเพียงพอเหมาะ พอประมาณ พออยู่ พอกิน พอใช้ ยึดความประหยัด ตัดทอน
ค่าใช้จ่าย ลดความฟุมเฟือยในการดารงชีวิต จึงทาให้ครอบครัวของข้าพเจ้าไม่ลาบาก ไม่เดือดร้อน อยู่ได้อย่าง
พอเพียง ทาให้เหลือแรงและเวลา ในการทาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากขึ้น ในการดูแลเอาใจใส่สมาชิกใน
ครอบครวั ขา้ พเจ้าใชว้ ธิ ีการสอนจากการกระทา เป็นแบบอย่างท่ีดีในเรื่องความประหยัด ไม่ฟุมเฟือย หรูหรา บน
หลักการสาคัญ ๓ สิ่ง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดี ข้าพเจ้าจึงมีความ
ภาคภูมิใจในชีวิตครอบครัวที่มีลูกชาย ที่ประสบผลสาเร็จในชีวิต มีความรู้ และมีคุณธรรม ดารงชีวิตในสังคมได้
อย่างมีความสขุ

การทางานจะบังเกิดผลสาเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความเอาใจใส่ มีความมานะ พยายาม ใฝุเรียนรู้ ให้ทันกับ
ยุคโลกาภิวัฒน์ ทต่ี อ้ งอาศัยเทคโนโลยเี ปน็ ตัวช่วยในการทางาน ต้องปรับตัวเองให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง
ทง้ั ดา้ นวัตถุ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม ขา้ พเจ้าซ่ึงประกอบอาชีพครู มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ได้
ตระหนักถึงภาระหน้าท่ีที่สาคัญของครูว่า ครูมิได้มีหน้าท่ีเพียงแค่สอนหนังสือเท่าน้ัน แต่ครูจะต้องปลูกฝัง ให้
นักศึกษามคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มจี ติ สานึกที่ดใี นการท่ีจะมวี ถิ ีชีวิตของการดาเนินงานอย่างพอเพียง และอยู่ในสังคม
ได้อยา่ งมคี วามสขุ ขา้ พเจ้าไดน้ าหลักปรชั ญามาใช้ในการทางาน โดยยึดความประหยัดตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน

ลดละความฟุมเฟือยในการดารงชีวิตอย่างจริงจัง ดังพระราชดารัสว่า ”ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟูุงเฟูอต้องประหยัด
ไปในทางท่ีถูกต้อง” ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องสุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการ
ดารงชีวิตก็ตาม ดังพระราชดารัสที่ว่า”ความเจริญของคนทั้งหลายย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหา
เล้ียงชีพของตนเป็นหลักสาคัญ” การแสวงหาความรู้ให้มีรายได้เพ่ิมพูนจนถึงข้ัน พอเพียงในการดารงชีวิตเป็น
เปูาหมายสาคัญ โดยต้องขวนขวายใฝุหาความรู้ให้เกิดรายได้เพิ่มพูนข้ึนจนถึงขั้นพอเพียง ดังพระราชดารัสท่ีให้
ความชัดเจนว่า”การท่ีต้องการให้ทุกคนพยายามที่จะหาความรู้ และสร้างตนเองให้มั่นคงนี้เพื่อตนเอง เพ่ือท่ีจะให้
ตนเองมีความเป็นอยู่ท่ีก้าวหน้า ที่มีความสุข พอมีพอกิน เป็นขั้นหน่ึงและขั้นต่อไปคือ ให้มีเกียรติว่ายืนได้ด้วย
ตนเอง” ปฏบิ ตั ิตนในแนวทางทดี่ ี ลดละเลิกอบายมุขให้หมดส้ิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระ
ราโชวาทวา่ ”พยายามไม่ก่อความช่ัวให้เป็นเครื่องทาลายตัวทาลายผู้อ่ืน พยายามลดพยายามละความชั่วที่ตัวเองมี
อยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตวั อย่เู สมอ พยายามรักษาและเพม่ิ พนู ความดีท่ีมีอยู่ให้งอกงามสมบูรณ์ขึ้น ทรงย้าเน้น
ว่าคาสาคัญที่ดีที่สุดคือคาว่า “พอ” ต้องสร้างความพอท่ีสมเหตุสมผลให้กับตนเองให้ได้ และเราก็จะพบกับ
ความสขุ ”

ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ข้าพเจ้าได้แทรกความรู้เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
การทางาน ทาใหน้ กั ศกึ ษาเกิดความตระหนกั ในการทางาน นักศึกษาเกิดการเรียนรู้จากการถ่ายทอดความรู้ของครู
และจากผู้รู้ในชมุ ชน ยดึ หลกั พออยู่ พอกนิ พอใช้ ความประหยัด ตดั ทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุมเฟือยในการดารง
ชพี ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความถกู ตอ้ งและสจุ ริต ละเลกิ การแกง่ แยง่ ผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย
ทามาหากินก่อนทามาค้าขายต้ังสติท่ีม่ันคง ร่างกายที่แข็งแรง ปัญญาท่ีเฉียบแหลม นาความรู้ ความเข้าใจอย่าง
ลึกซ้ึง เพ่ือปรับวิถีชีวิตสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทาให้ข้าพเจ้าตระหนักได้ว่าทุก
คนสามารถน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติเป็นหลักในการดาเนินชีวิตได้ โดยจะต้องเกิดจาก
จิตสานึกท่ีอยู่ ข้างใน มีความศรัทธาเช่ือมั่น เห็นคุณค่า และนาไปปฏิบัติด้วยตนเอง แม้กระทั่งวิชาภาษาไทยท่ี
ขา้ พเจ้าเกิดคาถามก่อนการปฏิบัติว่า จะทาไดอ้ ยา่ งไร แต่เม่ือปฏิบัติแล้วข้าพเจ้าก็พบว่า ทุกส่ิงทุกอย่างสามารถทา
ได้ ถ้าเรามีความศรัทธา เช่ือม่ันและเห็นคุณค่าอย่างแท้จริง ข้าพเจ้าเชื่อม่ันว่า การน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการเรียนการสอนนั้น จะทาให้ครูสามารถพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพอย่างย่ังยืน โดย
จะเป็นการพัฒนา ท่ีมั่นคงอย่างเป็นข้ันตอน และเป็นการพัฒนาคุณภาพคนให้มีคุณธรรมกากับความรู้ เศรษฐกิจ
พอเพียงจึงเป็นเสมือนรากแก้วของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน หากนักศึกษายึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ
ดาเนินชีวิตไปในทางสายกลางและประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การ
สรา้ งภมู คิ มุ้ กันในตัวทด่ี ี ตลอดจนใช้ความร้แู ละคณุ ธรรมเป็นพื้นฐานในการดารงชีวิต นักศึกษาเหล่านั้นจะสามารถ
ดาเนนิ ชีวิตไดอ้ ย่างมัน่ คงภายใตค้ วามเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในโลกปจั จบุ ัน
ครูจึงเป็นผู้ที่มีหน้าที่ต้องหาความรู้ และวิธีการดาเนินชีวิตมาให้ลูกศิษย์ได้ การนาความรู้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนการสอน จะทาให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ และดาเนินชีวิตต่อไปได้ด้วยดี โดย
นักศกึ ษาจะรู้จักการอยู่อย่างพอเพียง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ รู้จักใช้วัตถุ สิ่งของ ทรัพยากรอย่าง
พอเพยี ง อยรู่ ่วมกบั ผอู้ ืน่ ได้ มคี วามเอื้อเฟอ้ื เผอ่ื แผ่ แบ่งปัน ไมเ่ บียดเบียน หวงแหนทรพั ยากรธรรมชาติ และมีความ
ภาคภมู ใิ จ เห็นคณุ คา่ ของวฒั นธรรม ค่านิยม เอกลักษณ์ของความเป็นไทย หากครสู รา้ งลูกศิษย์ให้เป็นอย่างที่กล่าว
มาแลว้ ข้างต้น การสอนของครจู ึงนับไดว้ ่าประสบความสาเรจ็ โดยแท้

เร่ืองเลา่ ของครู
โดย นางสจุ ิตรา ยทุ ธกิจ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลเกษม

การนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาบรู ณาการในการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักศึกษา ข้าพเจ้าเร่ิมต้น
จากการศึกษาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอพียง และการไปศึกษาดูงาน นามาฝึกปฏิบัติที่บ้าน จนเกิดการมีรายได้
บริโภคพชื ผกั ปลอดสารพิษ ซ้งึ เปน็ อาหารท่ีปลอดภัย ทีบ่ า้ นจงึ ได้ต้ังเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการทาการเกษตร โดยเป็น
ตัวแทนเกษตรกรต้นแบบระดับอาเภอด้านการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต จากการทานา ปลูกผัก หลังจากนั้นจึง
วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ตัวช้ีวัด และ สาระการเรียนรู้การดาเนินชีวิต มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเห็น
ความสาคัญของการนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดาเนินชีวิต หลังจากน้ันสร้างหน่วยการ
เรียนรู้ ด้านการจัดฐานการเรียนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ
ผู้เรียน เหมาะสมกับเวลา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่
หลากหลายตามสภาพจริง ในการจดั กจิ กรรมการสอน ข้าพเจ้าได้สอดแทรกความรู้เร่ืองหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในการทางาน โดยยึด หลักการดาเนินชีวิตบนทางสายกลาง เกิดการเรียนรู้จากการถ่ายทอดความรู้ของ
ครู ให้ผู้เรียน มีความพอประมาณ คือ ความพอดี ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น
มีเหตุมีผล การตัดสินใจจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนนึกถึงผลท่ี
คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทาน้ันๆ อย่างรอบคอบ และมีภูมิคุ้มกันตนเอง คือ การเตรียมตัวให้พร้อมรับ
ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลง ดา้ นต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขนึ้ โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดว่า
จะเกิดขึ้นในอนาคตท้ังใกล้และไกล ส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด การแก้ปัญหา รู้จักการวางแผน
กระบวนการทางาน อยา่ งมรี ะบบ มีความรูแ้ ละมีคุณธรรม

ผลท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน จากการที่ข้าพเจ้าได้ออกแบบการเรียนรู้ เพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยพอเพียงอย่าง
เหมาะสม และเพียงพอกับจานวนนักศึกษา ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดงั นค้ี อื
2 เงื่อนไข คอื

1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วยความรอบรู้ท่ี เก่ียวกับวิชาการต่างๆ อย่างรอบคอบ ในยการนาความรู้
เหล่านน้ั มาพิจารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผน และใชค้ วามระมดั ระวงั ในข้ันปฏิบัติ

2 เงื่อนไขคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต ความอดทน และมีความเพียร ใช้สติปัญญาในการ ดาเนินชีวิต
มคี วามต้งั ใจ ความสามคั คี ตรงต่อเวลา มคี วามเออ้ื เฟ้ือเผ่ือแผ่ ขยัน อดทน และประหยัด รู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและ
กัน แบง่ ปนั กนั

3 หลกั การ
1 ความพอประมาณ คือ ความพอดี ที่ไม่เบียดเบยี นตนเอง และผู้อน่ื พงึ พอใจในสงิ่ ทตี่ นมีและเป็นอยู่
2 ความมีเหตุผล เป็นการการตัดสินใจที่เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวข้อง

ตลอดจน คานึงถึงผลทีค่ าดว่าจะเกิดข้นึ จากการกระทานนั้ ๆ อยา่ ง รอบคอบ
3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว คือ การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลง ด้านต่างๆ ที่

เกดิ ขึน้ ในอนาคตทงั้ ใกลแ้ ละไกล
4 มิติ

1 มิติด้านวัตถุ มีการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม และสอดคล้องกันแต่ละกิจกรรมปลูกฝังให้
นักศึกษารู้จกั ใชจ้ ่ายตามความจาเปน็ รจู้ ักประหยัด รจู้ กั การออม รวมท้ังใช้ทรพั ยากรอยา่ งคมุ้ ค่า

2 มิตสิ ังคม นักศกึ ษาสามารถทางานกลมุ่ ไดเ้ ป็นอยา่ งดีรจู้ ักวิธปี ฏบิ ัตติ นเพ่อื จะดารงชีวิตอยู่ในชุมชนสังคม
ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ มขี อ้ มลู ประกอบการตัดสินใจได้อย่างฉลาด และเหมาะสม มีการทางานเปน็ ทีม มีน้าใจ แบ่งปัน
เอื้ออาทร

3 มิตวิ ฒั นธรรม เป็นการกระต้นุ ให้ผเู้ รยี นเห็นคุณคา่ ภมู ิปัญญาท้องถิ่น และประเพณีวัฒนธรรมของชุมชน
รจู้ กั สบื สาน ตอ่ ยอด

4 มิติส่ิงแวดล้อม เป็นการการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน กระตุ้นให้
ผเู้ รยี นมีจิตสานกึ รักส่ิงแวดล้อม รูจ้ ักอนรุ ักษ์ธรรมชาติ

จากการดาเนินการจัดการเรียนรู้ใช้แผนการจัดการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครูผู้สอนได้มีใบ
งาน การถอดบทเรียน มีการประเมินผลการเรียนรู้ จึงทาให้ครูม่ันใจว่านักศึกษาได้เกิดการเรียนรู้จริง และปฏิบัติ
จริง สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ มีสุขภาพกายและจิตท่ีเข้มแข็ง เกิดความสุขในครอบครัว และใน
ชุมชน

เรอ่ื งเล่าของครู
โดย นายมนตต์ รี แกว้ ขาว ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลไหล่ทงุ่

ในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้/ตัวอย่างการออกแบบการเรียนรู้
เพื่อเสริมสร้างหลักคิดพอเพียงให้แก่นักศึกษา กศน. ทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 ได้นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการออกแบบการเรียนรู้ โดยนาหลักปรัชญาดังกล่าว จัดทา
แผนการเรียนรู้ แผนวัดประเมินผล โดยออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ตามหลักการ 2 เง่ือนไข 3 หลักการ 4 มิติ ใน
รายวิชา เศรษฐกิจพอเพยี ง รหสั วชิ า ทช 21001 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น อธบิ ายได้ว่า
ประเดน็ การใชใ้ นแผนการเรียนรู้ 2 เง่ือนไข คอื

1. ความรู้ นักศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจ เกิดทักษะ จากการฝึกปฏิบัติ จากฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้ง 10
ฐาน ในสถานศึกษา

2. คุณธรรม นักศึกษา มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียรใช้
สติปัญญาในการดาเนินชวี ติ อย่างรอบคอบ ระมดั ระวงั
ประเดน็ การใช้ในแผนการเรยี นรู้ 3 หลกั การ คอื

1. ความพอประมาณ นกั ศกึ ษาเกิดความพอดีทไี่ มน่ อ้ ยเกนิ ไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผู้อ่ืน เช่น การผลิตและการบริโภคท่ีอยู่ในระดับพอประมาณ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จัดสถานที่ให้
เหมาะสมในการประกอบอาชพี และสอดคล้องกบั บรบิ ทชุมชน

2. ความมเี หตุผล นกั ศกึ ษามกี ารตดั สินใจเก่ยี วกับระดับของความพอเพยี งนนั้ จะตอ้ งเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ทเี่ ก่ียวข้อง ตลอดจนคานงึ ถึงผลทค่ี าดวา่ จะเกิดขึน้ จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
ประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ลดต้นทุน เป็นการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ด้านความพอเพียง ลดรายจ่าย เพ่ิม
รายได้ มเี งนิ เก็บออม

3. การมีภูมิคุ้มกันท่ีดี นักศึกษา มีการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ ท่ี
จะเกิดขึน้ โดยคานงึ ถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตท้ังใกล้และไกล เพ่ือให้
มีสขุ ภาพแขง็ แรง อยู่รอดปลอดภัยจากโรคร้ายต่าง ๆ ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
อย่างรอบคอบ ระมดั ระวงั

ประเด็นการใช้ในแผนการเรียนรู้ ให้เกดิ ความสมดลุ และยง่ั ยืน ใน 4 มิติ คือ
1. ด้านวัตถุ ช่วยให้เกิดการลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง คิดและวางแผนอย่าง

รอบคอบ มีภูมิคุ้มกัน ไม่เสี่ยงเกินไป การเผ่ือทางเลือกสารอง มีการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม และ
สอดคล้อง ในการนาไปประกอบอาชีพ สามารถพ่ึงตนเองได้

2. ด้านสังคม มกี ารช่วยเหลือเก้ือกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชนสามารถนา
ความรู้ไปถา่ ยทอดจากรุ่นสู่รุ่น ทาให้เกิดความเคารพกฎระเบียบ กตกิ าของสังคม ในชุมชน

3. ส่ิงแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการ เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างรู้ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด ฟื้นฟู
ทรพั ยากร เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสมดุลและย่งั ยืนทางชีวภาพสูงสุด อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลูกจิต
สานกึ ในการรักส่ิงแวดลอ้ ม

4. ด้านวัฒนธรรม มีความรักและเห็นคุณค่าในความเป็นไทย เอกลักษณ์ไทย เห็นประโยชน์และคุณค่า
ของภูมปิ ัญญาไทย รจู้ กั แยกแยะและเลือกรับวัฒนธรรมจากต่างชาติ ส่งเสริม สนับสนุนแหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพ ใน
ชุมชน/ทอ้ งถน่ิ จากภมู ิปัญญาท้องถิน่ อย่างหลากหลาย

จากการดาเนินการจัดการเรียนรู้ การใช้แผนการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครูผู้สอนได้ มีใบ
ความรู้ ใบงาน ชุดคาถาม การทบทวน การถอดบทเรียน ก่อน- หลังการสอนทุกคร้ัง แล้วนาผลมาประเมิน
แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ ประสบการณ์ ไปบูรณาการใช้ในชีวิตประจาวันได้ จึงทาให้ครูมั่นใจว่านักศึกษา
ได้เรยี นร้จู ากการฝึกปฏบิ ัติจริง และนาไปใชไ้ ดจ้ ริง

เรือ่ งเล่าของครู
โดย นางสาวขวัญตา วรรณา ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลห้วยฝ้ายพฒั นา

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เป็น
หลักการและหลักปฏิบัติท่ีข้าพเจ้าน้อมนามาสู่การดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพ่ือพัฒนาตนเอง ครอบครัว งานใน
หน้าที่ ใหก้ ้าวหนา้ โดยใชค้ ุณธรรม จรยิ ธรรม และความรู้ ฝกึ ตนเอง ในการคิด พดู ทา อยา่ งพอดพี อเหมาะ พอควร
บนหลักของการ มีเหตุผล โดยไม่เบียดเบียนตนเองและไม่ทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน ข้าพเจ้าเชื่อม่ันว่าท้ังในด้านชีวิต
ครอบครัวและด้านหน้าที่การงาน ณ ปัจจุบันนี้ คือ ความสาเร็จที่นามาซ่ึงความสุข ตามอัตภาพ ของครู กศน.
ตาบล คนหน่งึ
ครอบครัวและเศรษฐกจิ พอเพียง

ครอบครัวของข้าพเจ้าเป็นครอบครัวเกษตรกรรม ครอบครัวทานาเป็นอาชีพหลัก และทาไร่เป็นอาชีพ
เสริม ครอบครัวของข้าพเจ้ายึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักในการดาเนินชีวิต มีการทานาเพื่อไว้
กิน และเหลือก็นาไปขาย และมีการปลูกผักสวนครัว มีการเลี้ยงปลาในนาข้าว เพ่ือนาไปทาเป็นอาหาร ลด
รายจ่ายในการซ้ืออาหาร ทาให้ครอบครัวของข้าพเจ้าไม่ลาบาก ไม่เดือดร้อน อยู่ได้อย่างพอเพียง ข้าพเจ้าได้
เรียนรู้จากครอบครัวในเร่ืองของความไม่ฟุมเฟือย ความประหยัด บนหลักการสาคัญ 3 หลักการ คือ ความ
พอประมาณ ความมเี หตุผล และการสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ที่ดี
จากครอบครัวสภู่ าระงาน

การทางานจะบงั เกิดผลสาเร็จหรือไม่ ขนึ้ อยู่กบั ความเอาใจใส่ มีความมุมานะพยายาม ใฝุเรียนรู้ ให้ทันกับ
ยุคโลกาภวิ ฒั น์ ทตี่ อ้ งอาศัยเทคโนโลยเี ปน็ ตัวช่วยในการทางาน ต้องปรับตัวเองให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง
ทั้งด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ข้าพเจ้าประกอบอาชีพครู มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ได้
ตระหนักถึงภาระหนา้ ทที่ สี่ าคัญของครวู ่า ครมู ไิ ด้มหี น้าท่ีเพยี งสอนหนงั สือเท่าน้นั แตค่ รจู ะต้องปลูกฝัง ให้นักศึกษา
มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มจี ิตสานึกที่ดีในการท่ีจะมีวิถีชีวิตในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง และอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข ขา้ พเจ้าได้รับมอบหมายใหด้ แู ลรบั ผิดชอบนกั ศึกษาตาบลห้วยฝูายพัฒนา ให้มีความรู้ ควบคู่กับคุณธรรม
ดาเนินชีวิตตามหลักทางสายกลาง คอื ดารงชวี ติ อย่างพอเพียง มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกันทด่ี ี

การวางแผนวถิ พี อเพยี ง
การส่งเสริมใหผ้ เู้ รียน ผู้รับบรกิ ารมี มวี ิถีชวี ิตแบบพอเพียงน้ัน จะตอ้ งกระตุน้ ใหน้ กั ศึกษาตระหนักและเห็น

ความสาคญั ของวถิ ีชิวิตแบบพอเพียงกอ่ น โดยเริ่มจาก
1. ให้นักศึกษารแู้ ละเขา้ ใจในเร่อื งของการใชช้ วี ิตแบบพอเพยี ง
2. ใหน้ ักศกึ ษายกตัวอยา่ งในชมุ ที่ใช้ชีวติ แบบพอเพยี ง และส่งิ ทป่ี ระสบความสาเร็จ
3. ให้นักศึกษาเปรียบเทียบการใช้ชีวิตแบบพอเพียงและการใช้ชีวิตแบบท่ัวไป นามาอภิปรายผลในช้ัน

เรยี น
ปัญหา อปุ สรรค และการแกไ้ ข

ในการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ในระยะแรกๆ อาจจะเป็นเร่ืองท่ียากในการปรับเปลี่ยนการดารงชีวิต
เน่อื งจากต้องใชค้ วามอดทน ความพยายามในการทาให้ชีวิตพอเพียง แต่ถ้าผ่านจุดเริ่มต้นมาได้ ก็จะทาให้ชีวิตมี
ความสขุ มากยิง่ ขนึ้

เร่ืองเลา่ ของครู
โดย นางสาวสุพัตรา นามบุตร ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลคอนสาย

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง เป็นแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตงั้ แตค่ รอบครัว ระดบั ชมุ ชนจนถึงระดับประเทศ ในการพัฒนา โดยดาเนินไปในทางสายกลาง และก้าวทันต่อโลก
ปัจจุบัน อยู่บนพ้ืนฐาน 2 เง่ือนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม" 3 หลักการ ได้แก่ "พอประมาณ มีเหตุผล มี
ภูมิคุ้มกัน"

ความพอประมาณ คือ ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
เชน่ เรียนรอู้ าชพี เกษตรกรที่หลากหลาย ปลูก-เลี้ยง ทุกอย่างท่ีกินได้ และเผ่ือแผ่แบ่งปันเพื่อนบ้าน เพ่ือนร่วมงาน
และนกั ศึกษา

ความมเี หตผุ ล โดยมีการตัดสนิ ใจเก่ยี วกับระดบั ของความเพยี งพออยา่ งมีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันท่ีดี โดยมีการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึน
โดยมีการทาเกษตรแบบผสมผสาน มีการออมเงินเพื่อใช้ในยามจาเป็น และมีการทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย เพื่อให้
ทราบถึงรายจ่ายท่ไี มจ่ าเปน็ ของตนเอง และครอบครัว
จากการศึกษาเร่ืองหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้ข้าพเจ้าได้ถามตัวเองว่า ทาอย่างไรเกี่ยวกับ
การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดกระบวนเรียนการสอน ทาอย่างไรให้ผู้เรียนเห็น
ความสาคญั ของการประหยดั และอนรุ ักษ์ทรัพยากร จึงเลือกเน้ือหาใกล้ตัวนักศึกษา หาแหล่งเรียนรู้ท่ีมีองค์ความรู้
ทห่ี ลากหลาย สามารถเป็นต้นแบบได้ โดยนานักศึกษาไปศึกษาเรียนรู้ที่ ค่าย กศน.อาเภอตระการพืชผล ซ่ึงมีฐาน
การเรยี นร้ทู ีห่ ลากหลาย โดยบูรณาการรว่ มกับรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม และ
ให้นกั ศึกษาไดเ้ รียนรถู้ งึ การปลูกปุา 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง
จากกิจกรรมการเรียนการสอน ข้าพเจ้าได้แทรกความรู้เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า
นักศึกษามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน มีความสามัคคี มีความตั้งใจ ช่วยเหลือกันในการทางาน ทาให้
นักศึกษา เกิดความพอประมาณ กล่าวคือนักศึกษาแบ่งเวลาในการทากิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายอย่าง
เหมาะสม นักศึกษาเรยี นรู้ในการทากิจกรรม ภาระงานได้เหมาะสมกบั ความรู้ ถึงแม้วัยของนักศึกษาจะแตกต่างกัน
ก็สามารถเรียนรู้ และเกิดทกั ษะไปด้วยกนั ได้ เกดิ ความมีเหตผุ ล รูจ้ กั แกป้ ญั หาในการทางาน
ผลจากทข่ี า้ พเจ้าไดร้ ับจากการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน คือ
1 ทาให้ตนเองมีการคดิ วางแผนการทางานอยา่ งเปน็ ระบบกอ่ นลงมอื ปฏิบัติ
2 ทาให้รู้จกั การประหยดั อดออม ไมฟ่ มุ เฟอื ย
3 มคี วามภาคภมู ใิ จในสง่ิ ทตี่ นเองมอี ยู่ และสามารถดารงชีวติ อย่รู ่วมกับผูอ้ ืน่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุข

เรื่องเลา่ ของครู
โดย นายอัครพล พืชหมอ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลทา่ หลวง

ข้าพเจ้า นายอัครพล พืชหมอ ครู กศน.ตาบล ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนว
พระราชดาริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 เป็นหลักในการประพฤติ ปฏิบัติ ข้าพเจ้า ได้น้อมนามาสู่
การดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพ่ือพัฒนาตนเอง ครอบครัว งานในหน้าที่ ให้ก้าวหน้าโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม
และความรู้ ฝึกตนเอง ในการคิด พูด ทา อย่างพอดี พอเหมาะ พอควร บนหลักของการ มีเหตุผล โดยไม่
เบียดเบียนตนเอง และไม่ทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน ข้าพเจ้าเช่ือมั่นว่าทั้งในด้านชีวิตครอบครัว และด้านหน้าที่การงาน
ณ ปัจจุบันน้ี คือ ความสาเร็จทีน่ ามาซ่งึ ความสุข ตามอตั ภาพ
ด้านครอบครัว

ครอบครัวของข้าพเจ้า ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดารงชีวิต โดยการปลูก
พืชผักสวนครัว ไว้รับประทานในครัวเรือน เมือมีมากพอก็แบ่งปันเพื่อนบ้าน และนาส่วนที่เหลือไปจาหน่ายเพื่อ
สรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครอบครวั ทาใหค้ รอบครัวของขา้ พเจา้ ไม่ลาบาก ไมเ่ ดือดร้อน อย่ไู ด้อย่างพอเพียง
ด้านการทางาน

ในการทางานนั้น การจะประสบความสาเร็จในหน้าท่ีการงาน ล้วนมาจากความมุ่งม่ัน ความต้ังใจ ความ
เพียรพยายามในการทาสิ่งนั้นๆ ให้มีความพอดี ความพอเหมาะในส่ิงท่ีตนเองมี มีการแบ่งปันกับเพ่ือนร่วมงาน มี
การเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ กับเพื่อนร่วมงาน มีความรักความสามัคคีกับเพ่ือนร่วมประกอบวิชาชีพ โดยการยึดหลักสาย
กลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในการทางาน มีความรู้ มีทักษะ มีความซ่ือสัตย์ สุจริต มีความ
ขยันอดทนในการปฏบิ ัตงิ าน

เรอื่ งเล่าของครู

โดย นางสาวจริ าภรณ์ ศรีนางใย ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลโนนกุง

การทาบัญชคี รวั เรอื น วเิ คราะหร์ ายรบั -รายจา่ ย โดยต้องมีความพอเพียงและคณุ ธรรม
มีวิธีการในการสอดแทรกในเน้ือหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในชั้นนา ช้ันสอน ชั้นสรุป หรือการ

ทาโครงการ/โครงงาน หรอื ในวถิ ีชวี ติ
ช้ันนา
1. ใหผ้ ูเ้ รยี นเล่าถงึ รายรบั รายจา่ ย ของตนเอง
2. ครูและผเู้ รียน รว่ มกันสรปุ ความสาคญั ของข้อมลู การใชจ้ า่ ยทเี่ ป็นจริง
ชน้ั สอน
1. ครูและผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นของการจัดทาบัญชี รายรับ-รายจ่าย ของตนเองและ
ครัวเรือน
2. ผูเ้ รยี นร่วมกาหนดรปู แบบและวิธีการทาบญั ชรี ายรบั -รายจ่าย
3. ครูมอบหมายใหผ้ ูเ้ รียนจดบนั ทกึ หรอื รวบรวมข้อมูลรายรับ-รายจ่าย ท่ีเกิดข้ึนในรอบเดือนท่ีผ่าน
มาของตนเองหรือครวั เรือน
4. ให้ผ้เู รยี นวเิ คราะหข์ ้อมลู การใช้จา่ ยของตนเองหรอื ครวั เรอื น ในสว่ นทค่ี วรปรับลดไดว้ า่ มีอะไรบ้าง
และเหตผุ ลที่ควรปรบั ลด
5. ผู้เรียนร่วมกันกาหนดมาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายของตนเองหรือครัวเรือนให้สมดุลกับรายรับ
กาหนดแผนการใช้จา่ ยของแต่ละบคุ คลให้สมดุลถงึ การออม การแบง่ ปัน/การทาบุญ
ชัน้ สรุป
1. ผเู้ รียนร่วมกนั สรปุ เหตุผลและความสาคัญของทาบญั ชตี นเองและครวั เรือน
มีเครอื่ งมือช่วยสร้างการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน เช่น ใบงาน ชุดคาถาม การทบทวน การทางานหลังการปฏบิ ตั ิ

การถอดบทเรยี นความสาเรจ็ /ล้มเหลว ผงั มโนทศั น์ หรอื อื่นๆ
1. เอกสารการทาบญั ชคี รวั เรือน
2. โปสเตอรก์ ารทาบัญชีครวั เรอื น
3. เอกสารหลักฐานการใชจ้ ่าย เช่น ใบเสร็จรับเงนิ ค่านา้ คา่ ไฟฟาู คา่ โทรศัพท์ ฯลฯ

มวี ธิ ีตรวจสอบวัดผล/ประเมินผล ทท่ี าให้ครูมนั่ ใจว่านักศึกษาได้เรียนรแู้ ลว้ เขา้ ใจและนาไปใชจ้ ริงได้
1. สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ มของผเู้ รียนในการแสดงความคดิ เหน็
2. ประเมนิ ผลจากกการปฏิบัตจิ ริง
3. ประเมนิ ผลจากแนวคิดการกาหนดมาตรการควบคมุ ค่าใชจ้ ่ายของตนเองและครัวเรือน รวมทั้ง
กาหนดแผนการออมของแต่ละบคุ คล

เรือ่ งเลา่ ของครู
โดย นายธราธิป จนั ทรห์ อม ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลตระการ

“ก่อนเข้าถงึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”
ข้าพเจ้า เป็นผู้ท่ีอยู่ในครอบครัวท่ีใช้ชีวิตอย่างพอเพียงมาตั้งแต่ยังไม่เข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง แต่ก็ดาเนินชีวิตแบบไม่เข้าใจว่าเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร แต่ด้วยเห็นคุณพ่อ คุณแม่และคุณตา ดาเนิน
ชวี ติ บนพ้ืนฐานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงตั้งแต่ยังเป็นเด็กคุณตา คุณพ่อ คุณแม่ได้พาปลูกผักสวน
ครัวมพี ชื ผกั หลายชนิดเทา่ ทจี่ าความได้คุณตาบอกว่า ปลูกผักไว้กินเอง แบ่งปันให้พี่น้อง และขายบ้างทาแบบนี้เรา
จะไม่ได้ราบาก มีพออยพู่ อกิน

เม่ือเข้าสู่การศึกษา จึงได้มีความรู้เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเห็นตามสื่อต่างๆ จึงได้มี
ความเขา้ ใจว่าหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งคอื อะไรและ คุณพ่อ คุณแม่และคุณตา ได้พาผมทามาต้ังแต่ผมยัง
เด็กๆ
“สู่ สถานศกึ ษาพอเพียง”

เม่อื ไดม้ ีโอกาสมาเปน็ บุคคลที่ไดช้ อื่ ว่า “ครู” ข้าพเจ้ามีความต้ังใจที่จะนาความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่ มาใช้
ในการที่จะสั่งสอนศิษย์ทุกคนให้ได้มีความรู้ เพื่อเป็นพ้ืนฐานในการวางอนาคตให้กับผู้เรียน และหวังไว้ว่าศิษย์
จะต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้ มคี ุณธรรม ใช้ชวี ติ ดว้ ยความไม่ประมาท ไม่เป็นภาระของสังคม และสามารถอยู่ในสังคมได้
อย่างปลอดภัยและมีความสุข จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2550 ได้มีโอกาสเข้ามาปฏิบัติงานอยู่ท่ี กศน. เร่ิมสัมผัสคาว่า
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นคาที่ผู้อานวยการเอ่ยถึงบ่อยคร้ัง เนื่องจากท่านได้น้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารงาน ให้ครูทุกคนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ใน
กิจกรรมการเรยี นการสอน การทางาน

“ความพอเพยี งส่คู วามภูมิใจ”

นอกจากการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ จิ กรรมการเรียนการสอนแล้ว ข้าพเจ้ายังยึดถือ หลัก
คิด นี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเอง โดยเฉพาะในเรื่องของการใช้จ่ายเงินจะต้องมีการวางแผนการใช้จ่ายของ
ตนเองให้เหมาะสมกับรายรับ จะใช้อย่างไร มีความจาเป็นมากน้อยแค่ไหนในการซ้ือของสักช้ิน เพ่ือเป็นการสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง โดยใช้ความรู้คู่คุณธรรมประกอบการตัดสินใจ นอกเหนือจากเรื่องการใช้จ่ายเงินแล้ว เร่ือง
ของการทางานกส็ ามารถนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ได้อกี ดว้ ย

จากการเรยี นร้หู ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการท่ี
9 ซ่ึงพระองค์ท่านต้องการให้คนทุกคนดารงอยู่ได้โดยการพึ่งพาตนเอง พออยู่ พอกิน ไม่ทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน ทา
ใหม้ องเหน็ วา่ สิง่ ทเี่ ราได้ปฏบิ ัตติ นท้ังการเป็นลูกของคุณพ่อคุณแม่ การเป็นครูปฏิบัติหน้าที่สอนศิษย์ สิ่งเหล่านี้ คือ
การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ เนื่องจากทุกการกระทาของข้าพเจ้าจะต้องเร่ิมต้นที่เหตุผล มีความ
พอประมาณในส่ิงท่ีทา สามารถสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเองได้ โดยอาศัยหลักของความรู้ และท่ีสาคัญด้าน
คณุ ธรรมข้าพเจา้ ยดึ ถือและปฏบิ ตั ิตนมาโดยตลอด เป็นการวางรากฐานนาไปสู่ความสาเร็จในอนาคตได้ ดังน้ันการ
น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้จึงสามารถนาไปปรับใช้ได้กับทุกการกระทา ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีเรา
ปฏิบัติ เพอื่ ปูองกันไมใ่ ห้เกดิ ความผิดพลาดกับชีวติ ได้ในอนาคต

เรือ่ งเลา่ ของครู

โดย นางญาณวิภา พมิ พน์ นท์ ตาแหนง่ ครูศนู ยก์ ารเรียนชุมชน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวติ ประจาวนั

ตัง้ แตพ่ อจาความได้ ข้าพเจ้าเคยได้ยินเสมอเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียง ทางสื่อต่างๆ
ท้ังโทรทัศน์ วิทยุ การประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์ และมักจะได้ยินเสมอว่าให้ทุกคนยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจแบบพอเพียง ซ่ึงตอนน้ันข้าพเจ้ามีความเข้าใจและได้ตีความหมายเกี่ยวกับเศรษฐกิจแบบพอเพียงก็คือ
เป็นเรื่องเก่ียวกับเกษตรกรในชนบทเท่าน้ัน ทามาหากินอยู่แบบไม่ต้องดิ้นรน มีเท่าไหร่กินเท่านั้น ไม่ต้องหาเพ่ิม
นน่ั เปน็ ความเข้าใจท่ีขา้ พเจ้าคิดมาตลอด แต่แท้ที่จริงเมื่อได้อ่าน ได้ดู ได้ศึกษา และหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตและ
หน่วยงานต่างๆ ที่ได้กล่าวถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียงน้ัน จึงทาให้ข้าพเจ้าได้รู้ว่าหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ แบบพอเพียงไม่ใชเ่ พียงเพ่ือ ให้เกษตรกรเทา่ น้นั แตแ่ ท้ทีจ่ ริง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องผู้ประกอบอาชีพ
ทุกๆ อาชีพ สามารถนาแนวพระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ได้ ซึ่งเร่ืองราวต่างๆ ที่ข้าพเจ้าจะเล่า
ตอ่ ไปนเี้ ปน็ เรอ่ื งทเ่ี กย่ี วข้องกับเศรษฐกจิ แบบพอเพยี งบางส่วนทขี่ ้าพเจา้ สามารถปฏิบัติได้ แต่อาจจะไม่ครบทุกด้าน
ข้าพเจ้าก็ถือว่ามีความสุขท่ีได้ปฏิบัติตามแนวพระราชดารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัส
ชี้แนะแนวทางการดาเนนิ ชีวติ แก่พสกนกิ รชาวไทย

ปัจจุบันข้าพเจ้าแต่งงานมีครอบครัวและมีลูก3คน ครอบครัวของข้าพเจ้าท่ีมีฐานะปานกลาง สามี
ประกอบอาชีพรับราชการส่วนข้าพเจ้าทางานเป็นครูประจาศูนย์การเรียนชุมชน ท่ีกศน.อาเภอตระการพืชผล
ครอบครัวของเราให้ความสาคัญในเร่ืองการวางแผนชีวิต เนื่องจากความไม่แน่นอนในชีวิตในทุกๆด้านสามารถ
เกิดข้ึนได้ตลอดเวลา การพ่ึงตนเอง มีมานะและความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่ปล่อยให้เวลาผ่านไปโดยเปล่า
ประโยชน์ เพราะค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน นอกจากประกอบอาชีพหลักแล้วครอบครัวของเรายงมีอาชีพรองรั บ
หลากหลาย ลองผดิ ลองถกู ตามแนวคิดที่ว่าลองทาดีกว่าคิดแต่ไม่ลงมือ ตัวอย่างเช่น การปลูกไผ่กิมซุงจานวน 100
ต้น เพื่อให้เป็นพืชเศรษฐกิจ นามาขายและแบ่งบันให้บุคคลรอบข้าง ในส่วนของครอบครัว ลูกๆท่ีบ้านข้าพเจ้าจะ
สอนใหล้ กู ๆรจู้ กั หนา้ ท่ขี องตนเอง มนี ้าใจแบ่งบันให้คนอ่ืน สอนให้รู้จักค่าของเงิน ฝึกทักษะและคอยแนะนาวิธีการ
หาเงิน โดยเริ่มต้นจากการเก็บขวด เก็บกล่องกระดาษท่ีพ่อแม่เก็บมาจากตลาดแล้วให้ลูกๆ ช่วยกัน แยกประเภท
ของต่างๆ เดือนละ1ครั้งรวบรวมได้มากพอสมควรแล้วก็จะพาไปขายในท่ีร้านรับซ้ือของเก่า บางคร้ังหลังทา
การบ้านเสร็จจะให้ลูกๆช่วยกันไปขายขนมและน้าส้มในชุมชุมท่ีอาศัย ครอบครัวของเรามีการทาบัญชีรายรับ -
รายจ่ายข้าพเจ้ายอมรับว่าพอได้ทาบัญชี รายรับ-รายจ่าย ทาให้ลดค่าใช้จ่ายฟุมเฟือยลง และข้าพเจ้าก็มีเงินเก็บ
บ้างเป็นบางส่วนที่ได้จากการออมเงิน โดยนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รู้จักคาว่าพอเพียงและ

เพียงพอ ไม่ใช้เงินฟุมเฟือยเหมือนเมื่อก่อนที่อยากได้อะไรก็ซ้ือหมด จึงเป็นแนวคิดที่นาไปสู่การพัฒนาจนประสบ
ผลสาเรจ็ ตามเปาู หมายอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยความภาคภูมิใจ ซึ่งน่ันก็เป็นส่วนหนึ่งที่ข้าพเจ้าได้เริ่มสัมผัสจริงๆ
กบั ความพอเพียง ประหยดั อดออม สานึกในพระมหากรณุ าธิคณุ ของพระองค์ทา่ นท่ที รงคอยชว่ ยเหลือ

ชีวติ สดใส พอใจกบั เศรษฐกจิ พอเพียง

หลงั จากได้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตามแนวคิดของปฏิบัติตามแนวพระราชดารัสท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ครอบครัวของข้าพเจ้าได้มีการ จัดสรรเงินออกเป็น 3 ส่วน 1.เพ่ือการลงทุนต่อยอด 2.เก็บออมเพื่อการศึกษาของ
ลูก 3.เพื่อการท่องเท่ียว และอื่นๆ การนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ชีวติ ประจาวัน เศรษฐกจิ พอเพียงยงั นามาใชไ้ ดอ้ กี มากมาย หลายอย่าง เชน่ ข้าวของบางอย่างท่ีทาเองได้ก็ทาไป ไม่
จาเป็นต้องซอื้ หรือไปเสาะหาเอาจากที่อ่ืน หรือแม้แต่การประหยัดน้าประหยัดไฟ การดูทีวีเมื่อดูเสร็จแล้วก็ให้ปิด
สวิตช์ดึงปลั๊กก่อนเดินไปที่อื่น ซึ่งไม่เพียงแต่จะเป็นการประหยัดเงินในกระเป๋าสตางค์เท่าน้ัน แต่ยังเป็นการ
ประหยัดพลังงาน และรักษาส่ิงแวดล้อมอีกด้วย เศรษฐกิจพอเพียงจึงทาให้เราใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข เพราะไม่
จาเป็นตอ้ งไปเบยี ดเบยี นใคร เพราะเรามคี วามพอเพยี งอย่ใู นตัวแลว้

“ความสาเรจ็ ที่ไดร้ ับ”

จากประสบการณ์ท่ีข้าพเจ้าได้รับ ทั้งในด้านชีวิตครอบครัว หน้าท่ีการงาน โดยการน้อมนาปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้เป็นหลักตามกระบวนการ ๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข เช่ือมโยงกัน ความเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดี
ข้ึนจากการพอเพียง ก็ย่ิงตอกย้าถึงประโยชน์ของเศรษฐกิจพอเพียง ข้าพเจ้ายอมรับว่า พอได้ทาบัญชี รายรับ-
รายจ่ายและหันมาปลูกผักเลี้ยงสัตว์เองก็ทาให้รู้ว่าเงินทองเป็นของหายาก ทาให้ลดค่าใช้จ่ายฟุมเฟือยลง และ
ข้าพเจ้าก็มีเงินเก็บบ้างเป็นบางส่วนที่ได้จากการออมเงิน โดยนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รู้จักคาว่า
พอเพยี งและเพียงพอ ไมใ่ ช้เงนิ ฟุมเฟือยเหมอื นเม่ือก่อนทอ่ี ยากไดอ้ ะไรก็ซื้อหมด จึงเป็นแนวคิดท่ีนาไปสู่การพัฒนา
จนประสบผลสาเรจ็ ตามเปาู หมายอย่างมีประสทิ ธิภาพ ดว้ ยความภาคภูมิข้าพเจ้าขอสรุปสั้นๆ เก่ียวกับปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง และข้าพเจ้าจะน้อมนาไปปฏบิ ัติใชก้ บั ตนเอง “เศรษฐกิจพอเพียงจะสาเร็จได้ด้วยความพอดีของ
ตนเอง

เรื่องเลา่ ของครู

โดย นางสาวจิราพร พนั ธวุ รรณ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลนาสะไม

ก้าวแรกทส่ี ัมผสั ชีวติ พอเพียง

ตั้งแต่พอจาความได้ ข้าพเจ้าเคยได้ยินเสมอเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียงทางสื่อต่างๆ
ท้ังโทรทัศน์ วิทยุ การประชาสัมสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์ และมักจะได้ยินเสมอว่าให้ทุกคนยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ แบบพอเพียง ซึ่งตอนน้นั ขา้ พเจ้ามีความเขา้ ใจและไดต้ คี วามหมายเก่ียวกับเศรษฐกจิ แบบ

พอเพียงก็คือเป็นเร่ืองเกี่ยวกับเกษตรกรในชนบทเท่าน้ัน ทามาหากินอยู่แบบไม่ต้องดิ้นรน มีเท่าไหร่กิน
เท่าน้ัน ไม่ต้องหาเพ่ิม น่ันเป็นความเข้าใจที่ข้าพเจ้าคิดมาตลอด แต่แท้ท่ีจริงเม่ือได้อ่าน ได้ดู ได้ศึกษา และหา
ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตและหน่วยงานต่างๆ ท่ีได้กล่าวถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียงนั้น จึงทาให้
ข้าพเจ้าได้รู้ว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียงไม่ใช่เพียงเพ่ือ ให้เกษตรกรเท่านั้น แต่แท้ท่ีจริง เศรษฐกิจ
พอเพียงเป็นเรือ่ งผูป้ ระกอบอาชพี ทกุ ๆ อาชพี สามารถนาแนวพระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ได้ ซึ่ง
เรื่องราวต่างๆ ที่ข้าพเจ้าจะเล่าต่อไปน้ีเป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจแบบพอเพียงบางส่วนท่ีข้าพเจ้าสามารถ
ปฎิบัติได้ แต่อาจจะไม่ครบทุกด้าน ข้าพเจ้าก็ถือว่ามีความสุขที่ได้ปฏิบัติตามแนวพระราชดารัสที่พระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ ัวทรงมพี ระราชดารัสชแี้ นะแนวทางการดาเนนิ ชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทย

ข้าพเจา้ มาจากครอบครัวท่ีมีฐานะปานกลาง ตอนสมัยเด็กๆ คุณพ่อและคุณแม่ทานา ทาสวน ข้าพเจ้ากับ
คณุ ยายปลูกผักสวนครัว เลยี้ งไก่ เอาไว้สาหรับทาน บางทีก็เห็นคณุ ยายแจกจ่ายเพื่อนบ้านบ้าง โดยคุณยายจะสอน
เสมอว่าผกั ทข่ี ้นึ ตามร้ัวบ้านสามารถเก็บนามาทานได้ เราไม่ตอ้ งซอ้ื หา อาหารทีท่ านทกุ วนั แทบไม่ต้องใช้เงินจ่าย ซ่ึง
นั่นกเ็ ปน็ สว่ นหนึ่งท่ขี ้าพเจา้ ได้เริ่มสมั ผัสจริงๆ กับความพอเพียง ปัจจุบันข้าพเจ้าประกอบอาชีพครู กศน. ตัดสินใจ
เลือกเรียนครู เพราะคิดว่าการเป็นครูเป็นอาชีพท่ีน่าภูมิใจ อาชีพที่น่ายกย่อง ครูเป็นบุคลากรท่ีสาคัญในการ
ถา่ ยทอดความรู้ และปลูกฝังแนวคดิ ต่างๆ ให้กบั เด็ก เพราะสอนให้คนอ่านออกเขียนได้ และจะได้นาความรู้ที่ได้มา
พัฒนาประเทศตอ่ ไป

ปฏิบัติตนดมี ีความพอเพยี ง

ข้าพเจา้ ได้ปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู อย่างเคร่งครัด มีความรัก
และเมตตานักเรยี นโดยใหค้ วามเอาใจใส่ชว่ ยเหลือ ส่งเสรมิ ให้กาลงั ใจในการเรียน อบรม ส่ังสอน ฝึกฝน สร้างเสริม
ความรู้ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามโดยมุ่งเน้นฝึกสอนให้เด็กได้มีคุณธรรม จริยธรรม โดยการสอดแทรกในการ
จัดกิจกรรมในการเรียนการสอนทุกคร้ัง ให้เกิดแก่นักเรียนอย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ส่งเสริม
สนับสนุนให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม ประพฤติตนเป็น

แบบอย่างท่ีแก่นักเรียนท้ังกาย วาจา และจิตใจ มีความขยัน อดทน เสียสละ อุทิศเวลา พัฒนาตนเองทั้งในด้าน
วิชาชพี และบคุ ลกิ ภาพให้สมกบั ท่ีเปน็ ครมู ืออาชีพ

ในขณะทท่ี างานเป็นครูผสู้ อน ในตาแหนง่ พนกั งานราชการก็ได้รบั เงินเดือน ขา้ พเจา้ ไดน้ ้อมนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ โดยแบง่ จัดสรรแบง่ ส่วนออกเป็น 3 ส่วน คือ แบ่งให้ครอบครัว ให้พ่อแม่และเหลือเก็บ
ออม ได้รบั เงนิ เดอื น ดฉิ ันได้นาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ โดยแบง่ สรรเพ่อื ผู้อืน่ เพ่อื เรา

คาสอนของพอ่
"... คนเราถา้ พอในความตอ้ งการ กม็ คี วามโลภนอ้ ย เม่ือมคี วามโลภนอ้ ยก็เบยี ดเบยี นคนอื่นนอ้ ย. ถา้ ทกุ ประเทศมี
ความคิด - อันนีไ้ ม่ใช่เศรษฐกิจ - มีความคดิ วา่ ทาอะไรต้องพอเพยี งหมายความว่า พอประมาณ ไม่สดุ โตง่ ไมโ่ ลภ
อยา่ งมาก คนเรากอ็ ยู่เปน็ สุข.พอเพยี งน้ีอาจจะมมี าก อาจจะมขี องหรหู ราก็ได้ แตว่ า่ ต้องไมไ่ ปเบียดเบียนคนอ่นื .
ต้องให้พอประมาณตามอตั ภาพ พูดจาก็พอเพยี ง ทาอะไรก็พอเพยี ง ปฏบิ ตั ิตนก็พอเพียง ...”

พระราชดารัส พระราชทานแก่คณะบุคคลตา่ ง ๆ ทเี่ ขา้ เฝา้ ฯ ถวายชยั มงคล เน่อื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดา
ลัย สวนจติ รลดาฯ พระราชวงั ดสุ ติ วนั ศุกร์ ที่ 4 ธนั วาคม 2541

ข้าพเจา้ ขอสรุปส้นั ๆ เก่ยี วกับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และขา้ พเจา้ จะน้อมนาไปปฏิบตั ิใช้กบั
ตนเอง “เศรษฐกิจพอเพียงจะสาเร็จได้ด้วยความพอดีของตนเอง”

เรอื่ งเลา่ ของครู

โดย นางสาวเบญญาภา พนั ธมาต ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลกุศกร

หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิด หลักยึด ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ห่วง 2 เง่ือนไข คือ มี
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ความพอประมาณ ความมีเหตุผล เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม หากนาไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั จะทาใหเ้ ปน็ บคุ คลท่อี ยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งปกติสขุ

ข้าพเจ้า เป็นผู้ท่ีอยู่ในครอบครัวท่ีใช้ชีวิตอย่างพอเพียงมาตั้งแต่ยังไม่เข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ครอบครัวของขา้ พเจา้ มอี าชีพ ทานา ซ่ึงจะต้องมีความขยัน และความอดทนอย่างสูง เนื่องจากจะต้องทา
ให้ทันต่อสภาพดินฟูาอากาศ เพราะหากช้าหรือเร็วจนเกินไปก็จะทาให้ไม่ทันฝนหรือได้รับน้าฝนในปริมาณท่ีไม่
เพียงพอตอ่ การเจริญเตบิ โตของขา้ ว อาจทาให้ได้ผลผลิตท่ีไม่ดีเท่าที่ควร ฉะน้ันคุณพ่อคุณแม่จะต้องทางานแข่งกับ
เวลาด้วยความขยัน มานะ และอดทน ดูแลจนกระท่ังได้เวลาเก็บเกี่ยว หลังจากได้ผลผลิตแล้ว ท่านจะเก็บเมล็ด
พันธุ์ข้าวไว้สาหรับเป็นพันธ์ุใช้ในปีต่อไปจะได้ไม่ต้องซื้อ ซึ่งในการเก็บเมล็ดพันธ์ุจะต้องเก็บในกระสอบข้าว แยก
กองไว้ต่างหากบนฉางข้าว เพ่ือไม่ให้หนูหรือแมลงไปกัดหรือกินเมล็ดจนไม่สามารถปลูกได้ เป็นการใช้ความรู้แบบ
ภูมิปัญญาชาวบ้านแบบงา่ ยๆ ของคณุ พอ่ คุณแม่ ซง่ึ เป็นการวางแผนในการลดต้นทุนในปีต่อไป ที่เหลือจากการเก็บ
ไวก้ ินทา่ นกข็ ายผลผลติ เงนิ ทีไ่ ดม้ าทา่ นจะแบง่ ใชเ้ ปน็ สว่ นๆ เปน็ คา่ ใชใ้ นชีวิตประจาวันส่วนหนึ่ง อีกส่วนหน่ึงเก็บไว้
ใชใ้ นยามฉุกเฉนิ หากมคี วามจาเป็นต้องใช้ เช่น คา่ รกั ษาพยาบาลเวลาคนในครอบครัวเจ็บปุวย ค่าเล่าเรียนของลูก
ทกุ คน หลังจากหมดฤดทู านา พ่อกับแม่ของข้าพเจ้าก็จะปลูกแตงโม ปลูกข้าวโพด และพริก เพื่อนาผลผลิตไปขาย
หรือแลกเปลี่ยนเป็นสินค้าอย่างอ่ืน จะได้ประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน เนื่องจากท่านทั้ง 2 เป็นผู้ท่ีมีความ
ประหยัด มัธยัสถ์ทาให้ครอบครัวของข้าพเจ้ามีรายได้เพ่ิมขึ้นตามท่ีตั้งใจไว้ และเพียงพอที่จะส่งเสียให้เราได้เรียน
หนงั สอื ในทกุ กจิ กรรมที่ท่านทง้ั 2 ทาจะไม่ลมื ให้พวกเราท้ัง 3 คนพีน่ ้อง ได้มีสว่ นร่วมดว้ ยโดย ข้าพเจ้าเป็นลูกคนที่
2 เปน็ ผู้หญงิ ทง้ั หมด ต้องชว่ ยทางานบา้ นตามความเหมาะสมของวยั และกาลังของตนเอง นอกจากน้ีคุณพ่อคุณแม่
ก็ไมล่ มื ท่จี ะสอนให้พวกเราทุกคนรูจ้ กั หนา้ ทข่ี องตนเอง รจู้ กั การออม รู้จักประหยัด มัธยัสถ์ การเผ่ือแผ่ให้กับคนอ่ืน
ทลี่ าบากกวา่ เรา แตเ่ ราจะตอ้ งไม่เดือดร้อนกบั การให้นั้น ไมด่ ูถกู คนท่ดี อ้ ยกว่าเรา และอยา่ ประมาทการใช้ชีวิต เพ่ือ
ชีวิตในวันข้างหน้าจะได้ไม่ลาบาก

“สู่ สถานศึกษาพอเพยี ง”

เมอ่ื ไดม้ ีโอกาสมาเปน็ บุคคลทไ่ี ดช้ ่ือวา่ “ครู” ข้าพเจ้ามีความตั้งใจท่ีจะนาความรู้ความสามารถที่มีอยู่ มา
ใช้ในการที่จะสง่ั สอนศิษย์ทุกคนให้ได้มีความรู้ เพ่ือเป็นพื้นฐานในการวางอนาคตให้กับนักเรียน และหวังไว้ว่าศิษย์
จะตอ้ งเป็นผ้ทู ่มี คี วามรู้ มคี ณุ ธรรม ใชช้ วี ิตดว้ ยความไม่ประมาท ไม่เป็นภาระของสังคม และสามารถอยู่ในสังคมได้
อย่างปลอดภัยและมีความสุข น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการทางาน และประยุกต์ใช้ใน
กจิ กรรมการเรียนการสอน การทางาน โดยการบรู ณาการหรอื สอดแทรกเขา้ ไปในกลุม่ สาระการเรียนรู้ที่ตนเองสอน
ให้ครบท้ัง 5 กลุ่มสาระ พร้อมทั้งใช้แหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่ในชุมชนซ่ึงจัดเป็นฐานการเรียนรู้ ท่ีมีอยู่อย่างหลากหลาย
ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การจดั การเรียนรใู้ หม้ ากท่ีสดุ

“ความพอเพยี งสูค่ วามภูมใิ จ”

นอกจากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว ข้าพเจ้ายังยึดถือ
หลกั คิด หลกั ยึดนี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเอง โดยเฉพาะในเรื่องของการใช้จ่ายเงินจะต้องมีการวางแผนการ
ใช้จ่ายของตนเองให้เหมาะสมกบั รายรับ จะใชอ้ ยา่ งไร มีความจาเป็นมากน้อยแค่ไหนในการซ้ือของสักชิ้น เพื่อเป็น
การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง โดยใช้ความรู้คู่คุณธรรมประกอบการตัดสินใจ นอกเหนือจากเร่ืองการใช้จ่ายเงิน
แลว้ เร่อื งของการทางานกส็ ามารถนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ไดอ้ ีกดว้ ย

เรอื่ งเลา่ ของครู
โดย นางพรรณี แถมวัน ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลกระเดียน

ข้าพเจ้า นางพรรณี แถมวัน ครู กศน.ตาบล ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนว
พระราชดาริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เป็นหลักการและหลักปฏิบัติที่ข้าพเจ้าน้อมนามาสู่การ
ดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงเพ่ือพัฒนาตนเอง ครอบครัว งานในหน้าท่ี ให้ก้าวหน้าโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม และ
ความรู้ ฝึกตนเอง ในการคิด พูด ทา อย่างพอดีพอเหมาะพอควรบนหลักของการ มีเหตุผล โดยไม่เบียดเบียน
ตนเองและไมท่ าใหผ้ ู้อนื่ เดือดรอ้ นข้าพเจา้ เชื่อมน่ั ว่าทั้งในด้านชีวิตครอบครัวและด้านหน้าท่ีการงาน ณ ปัจจุบันนี้
คือ ความสาเร็จที่นามาซึ่งความสุข ความอัตภาพ ของคนในวัยใกล้จะเกษียณอายุราชการคนหนึ่งที่พึ่งจะมีและ
ควรจะเป็น บนพนื้ ฐานแห่งความพอเพยี ง
ด้านครอบครวั

ครอบครัวของข้าพเจ้า ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดารงชีวิต โดยการ
ปลูกพชื ผักสวนครวั เลยี้ งไก่ เล้ียงปลา ไว้รับประทานในครัวเรือน เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว ทา
ใหค้ รอบครัวของข้าพเจ้าสามารถในการดารงชีวติ ได้อย่างไม่เดือดร้อน มีเงินใช้จ่ายอย่างพอเพียง พ่ึงพาตนเองและ
เร่มิ ชว่ ยเหลือคนรอบขา้ งได้
ด้านการทางาน

ในการทางานน้ัน การจะประสบความสาเร็จในหน้าท่ีการงานขึ้นอยู่กับความเอาใจใส่ มีความมานะ
ความตั้งใจ ความเพียรพยายามในการทาสิ่งน้ันๆ ต้องรู้จักวางตนแสดงตนอย่างเหมาะสม มีความเกรงใจ ไม่
เบียดเบียนเพ่ือนร่วมงาน มีการแบ่งปันกับเพ่ือนร่วมงาน มีการเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ มีความรักความสามัคคีกับเพื่อน
ร่วมงาน โดยการยึดหลักสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในการทางาน มีความรู้ มีทักษะ มี
ความซ่อื สัตย์ สจุ รติ มคี วามขยนั อดทน มคี วามเพียรพยายาม มคี วามเสียสละในการปฏบิ ตั งิ าน

เรือ่ งเล่าของครู
โดย นางสาวเรณู ยืนยง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลหนองเตา่

“สว่ นหน่ึงในชวี ิตนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้”
หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิด หลักยึด ซ่ึงประกอบไปด้วย 2 เง่ือนไข 3 หลักการ

คือ มีเงื่อนไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม ภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ความพอประมาณ ความมีเหตุผล หากนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวนั จะทาใหเ้ ป็นบคุ คลที่อยใู่ นสงั คมได้อยา่ งปกตสิ ขุ
ก่อนเข้าถึงหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ข้าพเจ้า เป็นผู้ท่ีอยู่ในครอบครัวท่ีใช้ชีวิตอย่างพอเพียงมาต้ังแต่ยังไม่เข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ครอบครัวของข้าพเจ้ามีอาชีพ ทานา ทาไรมัน ซ่ึงจะต้องมีความขยัน และความอดทนอย่างสูง เนื่องจาก
จะต้องทาให้ทันต่อสภาพดินฟูาอากาศ เพราะหากปลูกพืชไร่ช้าหรือเร็วจนเกินไปก็จะทาให้ไม่ทันฝนหรือได้รับ
น้าฝนในปริมาณที่ไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช อาจทาให้ได้ผลผลิตท่ีไม่ดีเท่าที่ควร ฉะนั้นคุณพ่อคุณแม่
จะต้องทางานแข่งกบั เวลาดว้ ยความขยนั มานะ และอดทน ดูแลจนกระทง่ั ไดเ้ วลาเกบ็ เกยี่ ว หลังจากได้ผลผลิตแล้ว
ก็นาไปขายและเก็บลามันไว้สาหรับเป็นพันธุ์ในปีต่อไปจะได้ไม่ต้องซ้ือ ซ่ึงในการเก็บลามันนั้นต้งไว้เป็นกองเพื่อ
ไม่ใหล้ ามนั ตาย และคุณพ่อคุณแม่ต้องการมีรายได้เพิ่ม เพื่อให้เพียงพอท่ีจะส่งเสียให้พวกเราได้เรียน จึงได้ร่วมกัน
คดิ ทีจ่ ะหารายได้เพ่มิ คอื ปลกู ผกั สวนครัว เล้ียงไก่ เลีย้ งเป็ด เล้ียงหมู เอาไว้สาหรับทานและถ้าเหลือจะนาไปขายท่ี
ตลาด เนอ่ื งจากทา่ นทั้ง 2 เปน็ ผู้ทีม่ คี วามประหยัด มธั ยัสถ์ทาให้ครอบครัวของขา้ พเจ้ามรี ายได้เพิ่มข้ึนตามท่ีตั้งใจไว้
และเพียงพอท่ีจะส่งเสียให้เราได้เรียนหนังสือ ในทุกกิจกรรมที่ท่านท้ัง 2 ทาจะไม่ลืมให้พวกเราทั้ง 3 คนได้มีส่วน
รว่ มดว้ ยโดย ขา้ พเจา้ เป็นลูกคนคนโตเปน็ ผู้หญิง ต้องช่วยคณุ พ่อคุณแม่ทางาน ทางานบ้านตามความเหมาะสมของ
วัย นอกจากนี้คุณพ่อคุณแม่ก็ไม่ลืมที่จะสอนให้พวกเราทุกคนรู้จักหน้าที่ของตนเอง รู้จักการออม รู้จักประหยัด
มัธยัสถ์ การเผื่อแผ่ให้กับคนอื่นที่ลาบากกว่าเรา แต่เราจะต้องไม่เดือดร้อนกับการให้นั้น ไม่ดูถูกคนที่ด้อยกว่าเรา
และอย่าประมาทการใช้ชีวติ เพื่อชีวิตในวนั ขา้ งหนา้ จะได้ไม่ลาบาก

ดว้ ยเห็นถึงความขยนั ความต้ังใจของคุณพ่อและคุณแม่ในการท่ีจะส่งเสียให้ลูกทุกคนได้เรียนหนังสือ
ข้าพเจ้าจึงมีความตั้งใจท่ีจะต้องเรียนให้จบปริญญาตรี ซึ่งเป็นสิ่งท่ีข้าพเจ้าทาให้คุณพ่อและคุณแม่ได้ภาคภูมิใจใน
ตัวข้าพเจ้าสมกับที่ตั้งความหวังเอาไว้ เนื่องจากท่านต้องการให้ข้าพเจ้าได้มีความรู้ เพ่ือจะได้ประกอบอาชีพท่ีดี
สามารถเลย้ี งตนเองได้

“สู่ สถานศกึ ษาพอเพียง”

เมอ่ื ไดม้ ีโอกาสมาเป็นบคุ คลทไ่ี ด้ชื่อว่า “ครู” ข้าพเจ้ามีความต้ังใจท่ีจะนาความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่
มาใช้ในการท่ีจะส่ังสอนศิษย์ทุกคนให้ได้มีความรู้ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการวางอนาคตให้กับผู้เรียนและหวังไว้ว่า
ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ มีคุณธรรม ใช้ชีวิตด้วยความไม่ประมาท ไม่เป็นภาระของสังคม และสามารถอยู่ใน
สงั คมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข และเริม่ สัมผัสคาว่า “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นคาท่ีผู้อานวยการ
เอ่ยถึงบ่อยคร้ัง เน่ืองจากท่านได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารงาน มีการกาหนด
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาประสงค์ กลยุทธ์ ในการดาเนินงานที่ชัดเจน โดยเปูาหมายท่ีสาคัญประการหน่ึง คือ ให้ครู
ทกุ คนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ในกจิ กรรมการเรียนการสอน การทางาน โดยการบูรณา
การหรือสอดแทรกเข้าไปในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ที่ตนเองสอน พร้อมท้ังใช้แหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่ในฐานการเรียนรู้ ท่ีมี
อยูอ่ ย่างหลากหลาย ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนรู้ใหม้ ากท่สี ุด

“ความพอเพยี งสคู่ วามภมู ใิ จ”

จากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กิจกรรมการเรียนการสอน ส่วนหน่ึงถือได้ว่าประสบ
ผลสาเร็จในระดับหน่ึง ถึงจะไม่มากเท่าที่ควรแต่ก็สามารถสร้างความภูมิใจให้กับข้าพเจ้า เนื่องจากได้ปฏิบัติการ
สอนให้นักเรียนเกิดทกั ษะด้านการคิดในการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ซึ่งผู้เรียนส่วนใหญ่ทา
ได้ดี สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมท่ีนักเรียนปฏิบัติได้ พร้อมท้ังถ่ายทอดความรู้ท่ีตนเองได้รับให้กับผู้มาศึกษาดูงาน
จากโรงเรียนตา่ งๆ ได้เป็นอยา่ งดี

เรอื่ งเลา่ ของครู
โดย นายวษิ ณุ พนั แสน ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลถา้ แข้

การนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน
หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิด หลักยึด ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ห่วง 2 เง่ือนไข คือ มี

ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ความพอประมาณ ความมีเหตุผล เงื่อนไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม หากนาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวันจะทาให้เปน็ บคุ คลที่อยใู่ นสังคมได้อยา่ งปกตสิ ุข
“ก่อน เข้ าถึงห ลักปรั ชญาข องเศ รษฐกิ จพอเ พียง ”

ข้าพเจ้า เป็นผู้ท่ีอยู่ในครอบครัวท่ีใช้ชีวิตอย่างพอเพียงมาตั้งแต่ยังไม่เข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ครอบครัวของข้าพเจ้ามีอาชีพเกษตรกร ซึ่งคุณแม่ปลูกผัก ทานา ส่วนคุณพ่อเป็นเกษตร ฉะน้ันคุณ
พ่อคุณแม่จะต้องทางานด้วยความขยัน มานะ และอดทน ที่เหลือท่านเกษตรเพราะทามาต้ังแต่สมัยปุู ย่า เงินท่ี
ได้มาท่านจะแบ่งใช้เป็นส่วนๆ เป็นค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวันส่วนหน่ึง อีกส่วนหนึ่งเก็บไว้ใช้ในยามฉุกเฉินหากมี
ความจาเปน็ ตอ้ งใช้ เช่น ค่ารักษาพยาบาลเวลาคนในครอบครัวเจ็บปุวย ค่าเล่าเรียนของลูกทุกคน นอกจากทาไร่
แล้วคุณพ่อ คุณแม่คิดท่ีจะเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว เนื่องจากต้องเลี้ยงดูพ่ีกับน้อง 2 คน และตัวข้าพเจ้า รวม 3
คน มพี ผ่ี ้หู ญงิ 1 คน และน้องชาย 1 คน ซง่ึ อยู่ในวัยศึกษาหาความรู้ จงึ มีความจาเป็นต้องมีรายได้เพิ่ม เพ่ือให้เพียง
พอทจี่ ะส่งเสยี ใหพ้ วกเราไดเ้ รียน จึงไดร้ ว่ มกันคดิ ทีจ่ ะทาอาชีพอีก 1 อาชีพ คือ การเกษตร เล้ียงวัว เน่ืองจากท่าน
ทั้ง 2 เป็นผู้ที่มีความประหยัด มัธยัสถ์ทาให้ครอบครัวของข้าพเจ้ามีรายได้เพ่ิมข้ึนตามท่ีตั้งใจไว้ และเพียงพอท่ีจะ
ส่งเสียให้เราได้เรียนหนังสือ นอกจากนี้คุณพ่อคุณแม่ก็ไม่ลืมท่ีจะสอนให้พวกเราทุกคนรู้จักหน้าท่ีของตนเอง รู้จัก
การออม รูจ้ ักประหยดั มธั ยัสถ์ การเผอ่ื แผใ่ หก้ ับคนอ่นื ทีล่ าบากกว่าเรา แต่เราจะต้องไม่เดือดร้อนกับการให้นั้น ไม่
ดู ถู ก ค น ท่ี ด้ อ ย ก ว่ า เ ร า แ ล ะ อ ย่ า ป ร ะ ม า ท ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต เ พื่ อ ชี วิ ต ใ น วั น ข้ า ง ห น้ า จ ะ ไ ด้ ไ ม่ ล า บ า ก

ด้วยเห็นถึงความขยัน ความตั้งใจของคุณพ่อและคุณแม่ในการที่จะส่งเสียให้ลูกทุกคนได้เรียนหนังสือ
ข้าพเจา้ จงึ มคี วามต้ังใจท่ีจะต้องเรียนให้จบ โดยเข้ามาศึกษาต่อที่กรุงเทพฯ พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่ และได้ศึกษาต่อ
จนจบชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 แต่ข้าพเจา้ อยากให้คุณพ่อคุณแม่ได้รู้สึกดีใจในความสาเร็จของข้าพเจ้า จึงได้เข้าศึกษา
ต่อท่ีมหาวิทยาลัยรามคาแหง จนจบปริญญาตรี ซ่ึงเป็นสิ่งที่ข้าพเจ้าทาให้คุณพ่อและคุณแม่ได้ภาคภูมิใจในตัว
ข้าพเจ้าสมกับท่ีต้ังความหวังเอาไว้ เนื่องจากท่านต้องการให้ข้าพเจ้าได้มีความรู้ เพื่อจะได้ประกอบอาชีพท่ีดี

สามารถเลีย้ งตนเองได้ ซ่ึงท่านก็หวงั ไว้ในใจวา่ ขา้ พเจา้ น่าจะได้รบั ราชการ จะได้เป็นที่พ่ึงของครอบครัวได้ และแล้ว
ความหวังของท่านก็เปน็ จรงิ ขา้ พเจา้ สามารถสอบบรรจุเข้าเปน็ พนกั งานราชการของ กศน. และได้เป็น “ครู” ทา
ใหค้ ุณพอ่ คณุ แมด่ ใี จที่สุด ซึ่งจรงิ ๆ แล้วข้าพเจ้าก็ต้ังความหวังไว้ว่าอยากเข้ารับราชการเน่ืองจากต้องการสวัสดิการ
ด้านการรักษาพยาบาลให้กับท่านท้ัง 2 จะได้ไม่ต้องกังวลว่า เม่ือเวลาที่ท่านเจ็บปุวยเงินที่ออมอยู่จะเพียงพอ
หรอื ไม่

“สู่ สถานศึกษาพอเพยี ง”

เม่อื ไดม้ ีโอกาสมาเป็นบคุ คลทไ่ี ด้ชอื่ วา่ “ครู” ข้าพเจ้ามีความตั้งใจท่ีจะนาความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่ มา
ใชใ้ นการทีจ่ ะสงั่ สอนศิษย์ทกุ คนให้ได้มีความรู้ เพื่อเป็นพ้ืนฐานในการวางอนาคตให้กับนักเรียน และหวังไว้ว่าศิษย์
จะต้องเปน็ ผู้ทีม่ ีความรู้ มคี ุณธรรม ใชช้ ีวิตด้วยความไม่ประมาท ไม่เป็นภาระของสังคม และสามารถอยู่ในสังคมได้
อย่างปลอดภยั และมีความสุข จนกระท่ังในปี พ.ศ. 2553 ได้มีโอกาสเข้ามาเป็นครู กศน.ของเขตจตุจักร เร่ิมสัมผัส
คาวา่ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” เป็นคาที่ผู้อานวยการเอย่ ถงึ บอ่ ยคร้ัง เนื่องจากท่านได้น้อมนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารงาน มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาประสงค์ กลยุทธ์ ในการ
ดาเนินงานท่ีชัดเจน โดยเปูาหมายที่สาคัญประการหน่ึง คือ ให้ครูทุกคนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน การทางาน โดยการบูรณาการหรือสอดแทรกเข้าไปในกลุ่มสาระการ
เรียนรูท้ ีต่ นเองสอน ใหค้ รบท้ัง 8 กลุ่มสาระ พร้อมทง้ั ใช้แหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่ในโรงเรียนซ่ึงจัดเป็นฐานการเรียนรู้ ที่มี
อยู่อยา่ งหลากหลาย ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ต่อการจดั การเรยี นรู้ให้มากทีส่ ดุ

“เม่อื ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเข้ามาในชีวติ ”

จากการท่ีท่านผู้อานวยการได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารงาน และให้
ความสาคัญกับเร่ืองนี้อย่างจริงจัง ตลอดจนมีการส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ข้าพเจ้าในฐานะครูผู้สอน เร่ิมมีความวิตกกังวลว่าเราจะสามารถทาตาม
เปูาหมายท่ีกาหนดไว้ได้หรือไม่ และทาอย่างไร เน่ืองจากเราไม่มีความรู้ทางด้านนี้เลย รู้สึกสับสนไม่รู้จะเริ่มจาก
ตรงไหนก่อน จนกระทั่งได้มีโอกาสเข้ารับการอบรม ได้ไปศึกษาดูงานยังสถานท่ีต่างๆ ซึ่งการไปในแต่ละคร้ังก็จะ
ได้รับความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ เร่ิมรับรู้ได้ว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิด หลักยึด ท่ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้กับปวงชนชาวไทยในการนาไปใช้ในชีวิตให้สามารถพ่ึงตนเองได้
ไม่เบียดเบียน ไม่ทาให้ผูอ้ น่ื เดือนรอ้ น ซ่ึงประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และ
จะต้องมีความรู้ควบคู่ไปกับคุณธรรม แรกๆ ก็ไม่รู้ว่าจะนาหลักคิดหลักยึดน้ีไปใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างไร
จนกระทั่งได้เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือจัดทาแผนการขับเคล่ือนการประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในการจัดการเรียนการสอนของครูแกนนา และครูเครือข่ายเรียนรู้สู่ความพอเพียง ณ ค่าย กศน.อาเภอ
ตระการพชื ผล จากการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในครั้งนี้ ได้มโี อกาสแลกเปล่ียนเรียนรู้กับครูผู้สอนต่างโรงเรียนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้เดียวกัน บางครั้งก็รู้สึกว่ายากอยู่เหมือนกันในการสอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เข้าไปในเนือ้ หาสาระ ซง่ึ จากัดดว้ ยเนือ้ หา แตข่ ้าพเจ้าก็มคี วามต้งั ใจจรงิ จะพยายามทาใหด้ ีทส่ี ุด

“จากเรียนรู้สูก่ ารปฏิบัติ”

หลังจากผ่านการอบรมมาได้สักระยะหน่ึง จึงนาความรู้ท่ีได้รับลงสู่กิจกรรมการเรียนการสอนโดยการให้
นักศึกษาได้รู้ความหมายของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก่อน ซึ่งประกอบด้วย 3 ห่วง ได้แก่ ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน 2 เง่ือนไข ได้แก่ ความรู้ และคุณธรรม เร่ิมแรกนักศึกษาไม่ค่อยสนใจ
เท่าทีค่ วรเน่ืองจากเป็นส่ิงใหม่สาหรับนักศึกษา และที่สาคัญนักเรียนไม่ชอบคิด ตอนแรกก็รู้สึกกังวลมากเน่ืองจาก
ไม่ได้รับความร่วมมือจากนักเรียนเท่าท่ีควร เราเองก็ไม่แน่ใจว่าสิ่งที่เราบอกนักเรียนไปนักศึกษาเข้าใจในส่ิงที่เรา
สื่อสารออกไปหรือไม่ ถึงจะได้ไม่มากแต่ก็ยังดีกว่าไม่คิดเลย จึงเร่ิมต้นด้วยการตั้งคาถามเพ่ือให้นักเรียนตอบหรือท่ี
เราเรียกว่าถอดบทเรียนน่ันเอง พร้อมทั้งอธิบายเพิ่มเติมหากนักศึกษามีข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจ จนกว่านักศึกษาจะ
สามารถเช่ือมโยงได้ถึงจะได้ไม่ทั้งหมด แต่ก็เป็นที่น่าพอใจ เพราะเป็นการเริ่มต้นน่ันเอง ถ้าจะเปรียบ “ครู” กับ
“นักศึกษา” แรก ๆ ก็ไม่แตกต่างกันเพราะตอนรับรู้ใหม่ๆ ครูก็คิดไม่ได้ บางคร้ังคิดได้ แต่ไม่สามารถถ่ายทอด
ออกมาเป็นคาพูดตามที่เราเขา้ ใจได้ เน่ืองจากไมม่ ั่นใจในความคดิ ของตนเองเหมือนกับนักเรียนเช่นเดียวกัน แต่เมื่อ
ได้ฝึกคดิ ฝึกปฏบิ ัติบ่อยๆ ก็จะสามารถรบั รู้ และเข้าใจได้ไม่ยาก นอกจากการสอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในกลุ่มสาระการเรียนรู้แล้ว ยังสามารถนาไปใช้ในกิจกรรมฐานการเรียนรู้ของ กศน. ซึ่งแต่ละกิจกรรม
สามารถเชอ่ื มโยงหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเข้าไปอย่างเห็นได้ชัด เนื่องจากในแต่ละกิจกรรมนักเรียนได้ลง
มอื ปฏบิ ตั ิจริงผ่านกิจกรรมท่ีตนเองรับผิดชอบนักศึกษาแต่ละฐานสามารถบอกได้ว่า มีความพอประมาณ มีเหตุผล
มภี ูมคิ มุ้ กนั อยา่ งไร ภายใต้เงื่อนไขความรู้ คู่คุณธรรมอย่างไร ซ่ึงกิจกรรมฐานการเรียนรู้น้ีนักศึกษาค่อนข้างทาได้ดี
เ นื่ อ ง จ า ก เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ท่ี ส า ม า ร ถ เ ช่ื อ ม โ ย ง ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ไ ด้ ง่ า ย เ ห็ น ไ ด้ ชั ด
“ความพอเพยี งสคู่ วามภูมิใจ”

จากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กิจกรรมการเรียนการสอน ส่วนหนึ่งถือได้ว่าประสบ
ผลสาเร็จในระดับหนึ่ง ถึงจะไม่มากเท่าท่ีควรแต่ก็สามารถสร้างความภูมิใจให้กับข้าพเจ้า เนื่องจากได้ปฏิบัติการ
สอนให้นกั ศึกษาเกดิ ทักษะดา้ นการคิดในการนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ซึ่งนักศึกษาส่วนใหญ่
ทาได้ดี สามารถเช่ือมโยงกิจกรรมท่ีนักศึกษาปฏิบัติได้ ซึ่งสร้างความภาคภูมิใจให้ข้าพเจ้าเป็นอย่างมาก ไม่คิดว่า
คนทไ่ี มม่ ่ันใจในตนเอง ไม่คิดวา่ ความรทู้ ีต่ นเองมอี ยู่จะเพยี งพอที่จะสามารถถา่ ยทอดใหค้ นอน่ื ได้

นอกจากการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว ข้าพเจ้ายังยึดถือ หลัก
คิด หลักยึดนี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเอง โดยเฉพาะในเรื่องของการใช้จ่ายเงินจะต้องมีการวางแผนการใช้
จ่ายของตนเองให้เหมาะสมกับรายรับ จะใช้อย่างไร มีความจาเป็นมากน้อยแค่ไหนในการซ้ือของสักช้ิน เพื่อเป็น
การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง โดยใช้ความรู้คู่คุณธรรมประกอบการตัดสินใจ นอกเหนือจากเร่ืองการใช้จ่ายเงิน
แล้ว เรอ่ื งของการทางานก็สามารถนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้อีกด้วย

จากการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซ่ึง
พระองค์ทา่ นต้องการใหค้ นทุกคนดารงอยู่ได้โดยพึง่ พาตนเอง พออยู่ พอกิน ไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน ทาให้มองเห็น
ว่าสิ่งท่ีเราไดป้ ฏบิ ัตติ นท้งั การเป็นลูกของคุณพอ่ คุณแม่ การเป็นครปู ฏบิ ัติหนา้ ทสี่ อนนกั ศึกษา สงิ่ เหล่านี้ คือ การนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ เนื่องจากทุกการกระทาของข้าพเจ้าจะต้องเร่ิมต้นท่ีเหตุผล มีความ
พอประมาณในส่ิงที่ทา สามารถสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเองได้ โดยอาศัยหลักของความรู้ และท่ีสาคัญด้าน
คณุ ธรรมขา้ พเจ้ายึดถอื และปฏิบัตติ นมาโดยตลอด เป็นการวางรากฐานนาไปสู่ความสาเร็จในอนาคตได้ ดังนั้นการ
น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้จึงสามารถนาไปปรับใช้ได้กับทุกการกระทา ทุกสิ่งทุกอย่างท่ีเรา
ปฏบิ ัติ เพอื่ ปูองกนั ไมใ่ ห้เกิดความผดิ พลาดกบั ชวี ติ ได้ในอนาคต

เรอื่ งเลา่ ของครู

โดย นางสาวศิริประภา บญุ จวบ ตาแหน่ง ครู ศนู ย์การเรยี นชุมชน

หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิด หลักยึด ซ่ึงประกอบไปด้วย 2 เง่ือนไข 3 ห่วง คือ มี
ความรู้ คณุ ธรรม ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล ภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี หากนาไปใช้ในชีวิตประจาวันจะทาให้เป็น
บุคคลทอ่ี ยใู่ นสังคมได้อยา่ งปกตสิ ขุ ”

ข้าพเจ้า เป็นผู้ที่อยู่ในครอบครัวท่ีใช้ชีวิตอย่างพอเพียงมาต้ังแต่ยังไม่เข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ครอบครวั ของขา้ พเจา้ มอี าชพี ทานา ซึ่งจะต้องมีความขยัน และความอดทนอย่างสูง เนื่องจากจะต้องทา
ใหท้ นั ตอ่ สภาพดนิ ฟาู อากาศ ฉะน้ันคุณพ่อคุณแม่จะต้องทางานแข่งกับเวลาด้วยความขยัน มานะ และอดทน ดูแล
จนกระท่ังไดเ้ วลาเก็บเกี่ยว หลังจากได้ผลผลิตแล้ว ท่านจะเก็บเมล็ดพันธุ์ข้าวไว้สาหรับเป็นพันธุ์ใช้ในปีต่อไปจะได้
ไม่ตอ้ งซื้อ ซง่ึ ในการเกบ็ เมล็ดพนั ธจ์ุ ะต้องเก็บในกระสอบ เพ่ือไม่ให้เมล็ดพันธ์ุมีความช้ืน เป็นการใช้ความรู้แบบภูมิ
ปัญญาชาวบ้านแบบง่ายๆ ของคุณพ่อคุณแม่ ซ่ึงเป็นการวางแผนในการลดต้นทุนในปีต่อไป ที่เหลือท่านก็ขาย
ผลผลิต เงินท่ีไดม้ าท่านจะแบง่ ใช้เปน็ ส่วนๆ เป็นคา่ ใชใ้ นชีวติ ประจาวันส่วนหนึ่ง อกี สว่ นหน่งึ เกบ็ ไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน
หากมีความจาเป็นต้องใช้ เช่น ค่ารักษาพยาบาลเวลาคนในครอบครัวเจ็บปุวย ค่าเล่าเรียนของลูกทุกคน
นอกจากน้ีคุณพ่อคณุ แมก่ ไ็ ม่ลมื ท่จี ะสอนให้พวกเราทุกคนรู้จักหน้าทีข่ องตนเอง ร้จู กั การออม รู้จักประหยัด มัธยัสถ์
การเผือ่ แผ่ใหก้ ับคนอื่นท่ีลาบากกว่าเรา แต่เราจะต้องไม่เดือดร้อนกับการให้น้ัน ไม่ดูถูกคนที่ด้อยกว่าเรา และอย่า
ประมาทการใช้ชวี ติ เพ่อื ชีวิตในวนั ขา้ งหน้าจะได้ไม่ลาบาก

เม่ือได้มีโอกาสมาเป็นบุคคลท่ีได้ชื่อว่า “ครู” ข้าพเจ้ามีความต้ังใจที่จะนาความรู้ความสามารถที่มีอยู่
มาใช้ในการที่จะส่ังสอนศิษย์ทุกคนให้ได้มีความรู้ เพ่ือเป็นพื้นฐานในการวางอนาคตให้กับนักเรียน และหวังไว้ว่า
ศิษย์จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ มีคุณธรรม ใช้ชีวิตด้วยความไม่ประมาท ไม่เป็นภาระของสังคม และสามารถอยู่ใน
สังคมได้อยา่ งปลอดภัยและมคี วามสขุ

จากการท่ไี ด้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการทางาน และให้ความสาคัญกับเรื่อง
นอ้ี ยา่ งจรงิ จงั ตลอดจนมกี ารส่งเสรมิ ใหค้ รผู ู้สอนไดน้ าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในกิจกรรม
การเรยี นการสอน ข้าพเจ้าในฐานะครูผ้สู อน เริ่มรับรู้ได้ว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิด หลักยึด
ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวทรงพระราชทานให้กบั ปวงชนชาวไทยในการนาไปใช้ในชีวิตให้สามารถพ่ึงตนเองได้
ไมเ่ บยี ดเบยี น ไม่ทาให้ผูอ้ ื่นเดือนร้อน ซึง่ ประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และ
จะตอ้ งมคี วามรคู้ วบค่ไู ปกับคณุ ธรรม

นอกจากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว ข้าพเจ้ายังยึดถือ
หลักคิด หลกั ยดึ นี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเอง โดยเฉพาะในเรื่องของการใช้จ่ายเงินจะต้องมีการวางแผนการ
ใช้จ่ายของตนเองใหเ้ หมาะสมกบั รายรบั จะใช้อย่างไร มีความจาเป็นมากน้อยแค่ไหนในการซื้อของสักช้ิน เพื่อเป็น
การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง โดยใช้ความรู้คู่คุณธรรมประกอบการตัดสินใจ นอกเหนือจากเร่ืองการใช้จ่ายเงิน
แล้ว เรื่องของการทางานก็สามารถนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้ ทาให้มองเห็นว่าส่ิงท่ีเราได้ปฏิบัติ
ตนท้ังการเป็นลูกของคุณพ่อคุณแม่ การเป็นครูปฏิบัติหน้าท่ีสอนนักเรียน ส่ิงเหล่าน้ี คือ การนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ เนื่องจากทุกการกระทาของข้าพเจ้าจะต้องเร่ิมต้นท่ีเหตุผล มีความพอประมาณในส่ิงที่ทา
สามารถสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเองได้ โดยอาศัยหลักของความรู้ และที่สาคัญด้านคุณธรรมข้าพเจ้ายึดถือและ
ปฏิบัติตนมาโดยตลอด เป็นการวางรากฐานนาไปสู่ความสาเร็จในอนาคตได้ ดังนั้นการน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้จึงสามารถนาไปปรับใช้ได้กับทุกการกระทา ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีเราปฏิบัติ เพื่อปูองกันไม่ให้
เกิดความผิดพลาดกบั ชีวิตได้ในอนาคต

เรอื่ งเลา่ ของครู
โดย นางสาวสุธรรมา จันทรส์ อน ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล

การนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิด หลักยึด ซ่ึงประกอบไปด้วย 3 ห่วง 2 เง่ือนไข คือ มี

ภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ความพอประมาณ ความมีเหตุผล เงื่อนไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม หากนาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวันจะทาใหเ้ ป็นบุคคลทีอ่ ยู่ในสงั คมได้อย่างปกตสิ ุข
“ก่อนเขา้ ถงึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

ข้าพเจ้า เป็นผู้ที่อยู่ในครอบครัวท่ีใช้ชีวิตอย่างพอเพียงมาต้ังแต่ยังไม่เข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ครอบครัวของขา้ พเจ้าเป็นครอบครวั ยากจน มอี าชีพทานา ซ่ึงคุณพ่อคุณแม่จะทานาและรับจ้างทานาทุก
แห่งทเ่ี ขาจา้ ง ฉะน้นั คุณพอ่ คุณแมจ่ ะตอ้ งทางานด้วยความขยัน มานะ และอดทน ที่เหลือท่านก็ขายผลผลิต เงินที่
ได้มาท่านจะแบ่งใช้เป็นส่วนๆ เป็นค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวันส่วนหน่ึง อีกส่วนหนึ่งเก็บไว้ใช้ในยามฉุกเฉินหากมี
ความจาเป็นต้องใช้ เชน่ คา่ รักษาพยาบาลเวลาคนในครอบครัวเจ็บปุวย ค่าเล่าเรียนของลูกทุกคน นอกจากทานา
แล้วคุณพอ่ คณุ แม่ กป็ ลูกพชื ผักสวนครวั เพ่อื เป็นการลดรายจ่าย เม่ือมีมากกว่าท่ีเราจะกิน แม่ก็เก็บไปขาย ทั้ง
ผักสด ผักดอง เพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับครอบครัว เน่ืองจากต้องเลี้ยงดูลูก 2 คน ซึ่งอยู่ในวัยศึกษาหาความรู้ จึงมี
ความจาเป็นต้องมีรายได้เพิ่ม เพ่ือให้เพียงพอที่จะส่งเสียให้พวกเราได้เรียน เน่ืองจากท่านท้ัง 2 เป็นผู้ท่ีมีความ
ประหยดั มัธยัสถ์ ทาใหค้ รอบครัวของข้าพเจ้ามีเงินเพียงพอท่ีจะส่งเสียให้เราได้เรียนหนังสือ นอกจากนี้คุณพ่อคุณ
แมก่ ็ไมล่ มื ท่จี ะสอนให้พวกเราทกุ คนรจู้ ักหน้าทขี่ องตนเอง รู้จกั การออม รู้จักประหยัด มัธยัสถ์ การเผ่ือแผ่ให้กับคน
อน่ื ท่ลี าบากกว่าเรา แต่เราจะต้องไม่เดือดร้อนกับการให้นั้น ไม่ดูถูกคนที่ด้อยกว่าเรา และอย่าประมาทการใช้ชีวิต
เพ่ือชีวติ ในวนั ขา้ งหน้าจะไดไ้ ม่ลาบาก

ด้วยเห็นถึงความขยัน ความตั้งใจของคุณพ่อและคุณแม่ในการท่ีจะส่งเสียให้ลูกได้เรียนหนังสือ ข้าพเจ้า
จึงมีความต้ังใจที่จะต้องเรียนให้จบ โดยเข้ามาศึกษาต่อท่ีอุบลราชธานี พักอาศัยอยู่กับญาติที่เป็นผู้รับหมา และ
ระหว่างท่ีศึกษาในระดับปริญญานั้นในวันหยุดข้าพเจ้าก็จะไปทางานกับญาติ เพ่ือให้ได้เงินมาใช้ในการศึกษาเท่า
เรียน และข้าพเจ้าก็ศึกษาต่อจนจบปริญญาตรี โดยการกู้ยืมเงินจากกองทุนเงินกู้ยิมเพ่ือการศึกษา (กยศ.) และ
ทางานดังกล่าว ซึ่งเป็นส่ิงที่ข้าพเจ้าทาให้คุณพ่อและคุณแม่ได้ภาคภูมิใจในตัวข้าพเจ้าสมกับท่ีต้ังความหวังเอาไว้
เน่อื งจากทา่ นตอ้ งการใหข้ า้ พเจ้าไดม้ คี วามรู้ เพอื่ จะได้ประกอบอาชีพที่ดี สามารถเลี้ยงตนเองได้ ซ่ึงท่านก็หวังไว้ใน

ใจว่าข้าพเจ้าน่าจะได้รับราชการ จะได้เป็นท่ีพึ่งของครอบครัวได้ และแล้วความหวังของท่านก็เป็นจริง ข้าพเจ้า
สามารถสอบบรรจุเข้าเป็นพนักงานราชการของ กศน. และได้เป็น “ครู” ทาให้คุณพ่อคุณแม่ดีใจที่สุด ซ่ึงจริงๆ
แล้วข้าพเจ้าก็ตง้ั ความหวงั ไว้วา่ อยากเขา้ รับราชการเนอื่ งจากต้องการสวสั ดิการด้านการรักษาพยาบาลใหก้ ับท่าน

“สู่ สถานศึกษาพอเพียง”

เมอื่ ได้มีโอกาสมาเป็นบคุ คลท่ีไดช้ อ่ื วา่ “ครู” ข้าพเจ้ามีความต้ังใจที่จะนาความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่ มา
ใช้ในการที่จะส่ังสอนศิษย์ทุกคนให้ได้มีความรู้ เพ่ือเป็นพื้นฐานในการวางอนาคตให้กับผู้เรียน และหวังไว้ว่าศิษย์
จะตอ้ งเป็นผูท้ ่มี คี วามรู้ มีคุณธรรม ใชช้ ีวติ ด้วยความไม่ประมาท ไม่เป็นภาระของสังคม และสามารถอยู่ในสังคมได้
อยา่ งปลอดภยั และมคี วามสขุ จนกระท่งั ในปี พ.ศ. 2550 ได้มีโอกาสเข้ามาเป็นครู กศน. เร่ิมสัมผัสคาว่า “ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นคาที่ผู้อานวยการเอ่ยถึงบ่อยครั้ง เน่ืองจากท่านได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการบริหารงาน มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาประสงค์ กลยุทธ์ ในการดาเนินงานที่ชัดเจน
โดยเปาู หมายทส่ี าคัญประการหนึง่ คอื ใหค้ รูทกุ คนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในกิจกรรม
การเรียนการสอน การทางาน โดยการบรู ณาการหรือสอดแทรกเข้าไปในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนเองสอน ให้ครบ
ท้ัง 8 กลุ่มสาระ พร้อมท้ังใช้แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในโรงเรียนซึ่งจัดเป็นฐานการเรียนรู้ ท่ีมีอยู่อย่างหลากหลาย ไปใช้
ให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ การจดั การเรียนรู้ใหม้ ากทส่ี ดุ

เรื่องเลา่ ของครู
โดย นางสาวศริ ิพร พิมพไกร ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลโคกจาน

เรอ่ื งปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นชีวิตประจาวัน
ขา้ พเจ้า เป็นผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่ใช้ชีวิตอย่างพอเพียงมาต้ังแต่เด็ก ครอบครัวของข้าพเจ้ามีอาชีพ ทา

นา ซึ่งจะต้องมีความขยัน และความอดทนอย่างสูง เนื่องจากจะต้องทาให้ทันต่อสภาพดินฟูาอากาศ ฉะนั้นคุณ
พ่อคุณแม่จะต้องทางานแข่งกับเวลาด้วยความขยัน มานะ และอดทน ดูแลจนกระทั่งได้เวลาเก็บเกี่ยว หลังจากได้
ผลผลติ แล้ว ทา่ นจะเก็บเมลด็ พันธุข์ ้าวไว้สาหรับเป็นพันธ์ุใช้ในปีต่อไปจะได้ไม่ต้องซ้ือ ซึ่งเป็นการใช้ความรู้แบบภูมิ
ปัญญาชาวบ้านแบบง่ายๆ ในการทานาของคุณพ่อคุณแม่ ซึ่งเป็นการวางแผนในการลดต้นทุนในปีต่อไป ท่ีเหลือ
ทา่ นก็ขายผลผลติ เงนิ ท่ีไดม้ าท่านจะแบง่ ใช้เปน็ สว่ นๆ เป็นคา่ ใช้ในชีวิตประจาวันส่วนหนึ่ง อีกส่วนหน่ึงเก็บไว้ใช้ใน
ยามฉกุ เฉนิ หากมีความจาเป็นตอ้ งใช้ เชน่ ค่ารกั ษาพยาบาล ค่าเล่าเรียนของลูก นอกจากทานาแล้ว คุณแม่คิดท่ีจะ
เพ่ิมรายได้ให้กับครอบครัว จึงต้องมีรายได้เพ่ิม เพ่ือให้เพียงพอท่ีจะส่งเสียให้พวกเราได้เรียน จึงได้ร่วมกันคิดท่ีจะ
ทาอาชีพ คือ การค้าขาย โดยคุณแม่จะทาขนมให้ข้าพเจ้าไปขายที่โรงเรียนเกือบทุกวัน เมื่อจบปริญญาตรีและ
ทางานในหน่วยงานราชการซึ่งเป็นส่ิงที่ข้าพเจ้าทาให้คุณพ่อและคุณแม่ได้ภาคภูมิใจในตัวข้าพเจ้า เนื่องจากท่าน
ตอ้ งการใหข้ า้ พเจ้าได้มีความรู้ เพ่ือจะได้ประกอบอาชีพท่ีดี สามารถเล้ียงตนเองได้ จะได้เป็นที่พ่ึงของครอบครัวได้
และเมื่อข้าพเจ้ามคี รอบครัวข้าพเจ้ากท็ าอาชพี เสริมคือการค้าขายโดยการขายอาหารขนม ซ่ึงข้าพเจ้ามองว่าเป็นสิ่ง
ท่ขี ายง่ายทง้ั การขายออนไลน์และขายตามตลาดนัด ซึ่งเป็นการสร้างรายได้อีกทางหน่ึงของครอบครัว ซ่ึงข้าพเจ้า
ได้นาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้โดยยึดยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุมเฟือยในการ
ดารงชพี นอกจากนก้ี ไ็ ม่ลืมทีห่ น้าทีข่ องตนเอง รู้จกั การออม รจู้ กั ประหยัด มัธยัสถ์ การเผื่อแผ่ให้กับคนอ่ืนท่ีลาบาก
กวา่ เรา แต่เราจะตอ้ งไม่เดือดรอ้ นกบั การให้นั้น และไม่ประมาทการใชช้ ีวติ เพือ่ ชวี ิตในวันข้างหน้าจะไดไ้ มล่ าบาก

เรื่องเลา่ ของครู
โดย นายโยธิน อุ่นคา ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลบ้านแดง

ความเขา้ ใจเก่ยี วกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
“หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เม่ือได้ยินครั้ง แรกก็ไม่ค่อยจดจาหรือใส่ใจนัก คงเป็นเพราะยัง

ไมเ่ หน็ ความสาคญั ใด ๆ ทจ่ี ะส่งผลต่อชีวติ แต่หากหวนคิดยอ้ นคนื ไป คร้ังแรกที่ได้ยนิ คานี้ คงจะเปน็ จากใครสักคน
ในโรงเรยี นหนอง นาคาวทิ ยาคมอย่างแน่นอน แต่หลังจากครง้ั แรกท่ีไดร้ บั ฟงั กม็ ี ครั้งที่สอง สาม สี่ ห้า เรื่อย ๆ มา
จนจดจาไม่ไดว้ ่าได้ยินมากี่คร้ัง แล้ว จนได้ยินคร้ังล่าสุด ณ กศน.อาเภอตระการพืชผล หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงน้ีถูกขยายความจนข้าพเจ้าค่อยๆ ซึมซับมาอย่างไม่รู้ตัว จนคิดว่าตนเองพอที่จะเข้าใจ จึงจะขอ สรุป
ใจความตามความเข้าใจตนเองไว้ว่า “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวทางในการดารงชีวิตความ
เป็นอยู่ ที่ยึดหลักความสมดุลของสิ่งต่าง ๆ ที่ทุกคน ไม่ว่าจะยากดีมีจน ชนชั้นวรรณะใด สามารถนาไปปฏิบัติได้
จริง ส่งผล ใหเ้ กดิ ความสขุ ทั้งตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ

ข้าพเจ้าได้ยินเสมอเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียง ทางส่ือต่าง ๆ ทั้งโทรทัศน์ วิทยุ
การประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์ และมักจะได้ยินเสมอว่าให้ทุกคนยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียง
ซึ่งข้าพเจ้ามีความเข้าใจและได้ตีความหมายเก่ียวกับเศรษฐกิจแบบพอเพียงก็คือเป็นเร่ืองเก่ียวกับเกษตรกรใน
ชนบทเท่านน้ั ทามาหากนิ อย่แู บบไมต่ อ้ งด้ินรน มเี ทา่ ไหรก่ ินเท่านนั้ ไมต่ ้องหาเพ่ิม นั่นเป็นความเข้าใจท่ีข้าพเจ้าคิด
มาตลอด แตแ่ ท้ที่จรงิ เมอ่ื ได้อา่ น ได้ดู ไดศ้ กึ ษา และหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตและหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ิมเติมความรู้
จึงทาให้ข้าพเจ้าได้รู้ว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียงไม่ใช่เพียงเพื่อ ให้เกษตรกรเท่านั้น แต่แท้ท่ีจริง
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องผู้ประกอบอาชีพทุก ๆ อาชีพ สามารถนาแนวพระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้ได้ ซึ่งเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีข้าพเจ้าจะเล่าต่อไปน้ีเป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจแบบพอเพียงบางส่วนท่ี
ข้าพเจ้าสามารถปฏิบัติได้ แต่อาจจะไม่ครบทุกด้าน ข้าพเจ้าก็ถือว่ามีความสุขท่ีได้ปฏิบัติตามแนวพระราชดารัสท่ี
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงมพี ระราชดารัสชแี้ นะแนวทางการดาเนนิ ชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกบั การทางานของตนเองในฐานะครู

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถแทรกอยู่ได้ทุกอณูของทุกกิจวัตรประจาวันของเรา คง
ปฏิเสธ ไม่ได้ว่าในฐานะครู คงไม่มองข้ามการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในกิจกรรมการเรียนการ
สอน อย่างแน่นอน การจัดกิจกรรมบูรณาการสอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชั่วโมงการจัด
กิจกรรมการ เรียนการรู้น้ัน ไม่ต่างจากบูรณาการสอดแทรกเร่ืองอ่ืน ๆ เราต้องมีการวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์
ผเู้ รียน วางแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรอู้ ยา่ งเป็นระบบ มกี ารวดั และประเมินผลอยา่ งถกู ตอ้ ง

ชีวิตสดใส พอใจกับเศรษฐกิจพอเพยี ง

หลังจากได้ปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองตามแนวคิดของปฏิบัติตามแนวพระราชดารัสท่ีพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หวั ครอบครัวของข้าพเจา้ ได้มีการนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน หลาย
อย่าง เช่น ปลูกทุกอย่างท่ีกิน กินทุกอย่างที่ปลูก ข้าวของบางอย่างที่ทาเองได้ก็ทาไป ไม่จาเป็นต้องซ้ือ หรือไป
เสาะหาเอาจากที่อื่น หรือแม้แต่การประหยัดน้าประหยัดไฟ การดูทีวีเม่ือดูเสร็จแล้วก็ให้ปิดสวิตช์ดึงปลั๊กก่อนเดิน
ไปที่อื่น ซงึ่ ไม่เพียงแต่จะเป็นการประหยัดเงินในกระเป๋าสตางค์เท่านั้น แต่ยังเป็นการประหยัดพลังงาน และรักษา
สิง่ แวดล้อมอีกดว้ ย เศรษฐกจิ พอเพยี งจึงทาให้เราใช้ชีวติ ได้อย่างมคี วามสุข เพราะไม่จาเป็นตอ้ งไปเบียดเบยี นใคร

ความสาเรจ็ ท่ีไดร้ ับ

จากประสบการณ์ที่ข้าพเจ้าได้รับ ทง้ั ในดา้ นชีวิตครอบครัว หน้าท่ีการงาน โดยการน้อมนาปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้เป็นหลักตามกระบวนการ ๒ เง่ือนไข 3 หลักการ 4 มิติ เช่ือมโยงกัน ความเปลี่ยนแปลง
ในทางที่ดขี ้ึนจากการพอเพียง โดยนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รู้จักคาว่าพอเพียงและเพียงพอ ไม่ใช้
เงินฟุมเฟือยเหมือนเม่ือก่อนที่อยากได้อะไรก็ซื้อหมด จึงเป็นแนวคิดที่นาไปสู่การพัฒนาจนประสบผลสาเร็จตาม
เปูาหมายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ดว้ ยความภาคภูมิ และขา้ พเจา้ จะนอ้ มนาไปปฏิบัติใช้กับตนเอง “เศรษฐกิจพอเพียง
จะสาเร็จได้ด้วยความพอดีของตนเอง”