ศูนย์การเรียน รู้ ภาคพิเศษ

Master of Public Administration

เสริมสร้างผู้นำในการเปลี่ยนผ่าน ผู้นำทางความคิด
ผู้นำที่สามารถสร้างทีมงานที่ทรงพลัง
ผู้นำที่ตัดสินใจอย่างชาญฉลาดบนพื้นฐานของข้อมูล
ผู้นำด้านนวัตกรรมโซลูชั่นที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี

  • ได้รับปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Public Administration)
  • ศึกษาตามหลักสูตร แผน ข (ไม่ต้องทำวิทยานิพนธ์)
  • หลักสูตร 2 ปี ศึกษาในระบบ Block Course System โดยเรียนครั้งละ 1 วิชา (3 หน่วยกิต) เป็นเวลา 6 สัปดาห์ (รวม 45 ชั่วโมงต่อวิชา)
  • เรียนเต็มวัน นอกเวลาราชการ (เน้นวันเสาร์)
  • เรียนครบหลักสูตร (13 วิชา) นักศึกษาต้องผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination)
  • มีประสบการณ์การทำงาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี
  • กิจกรรมพัฒนานักศึกษา เช่น ศึกษาดูงานในประเทศ กิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน
  • มีกองทุนกู้ยืม สำหรับนักศึกษาเพื่อชำระค่าลงทะเบียน
  • สามารถโอนย้ายไปศึกษา ณ ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้งที่คณะเปิดสอน
    (กรุงเทพมหานคร, จ.พิษณุโลก, จ.นครราชสีมา,จ.อุดรธานี และ จ.สุราษฎร์ธานี)
สมัครเรียน

หลักสูตรเรียนนอกเวลาราชการ

คณะรัฐประศาสนศาสตร์ นิด้า

39 หน่วยกิต

กำลังเปิดรับสมัคร รุ่นที่37

เปิดรับสมัคร 3 ม.ค. - 31 มี.ค. 2566

ผู้อำนวยการหลักสูตร

ศูนย์การเรียน รู้ ภาคพิเศษ

รศ.ร.ต.ดร.ณัฐกริช เปาอินทร์

อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ความพิเศษของหลักสูตร

  • หลักสูตรแรกของประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล AUN-QA
  • หลักสูตรยาวนานกว่า 30 ปี
  • เครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็งและมีชื่อเสียง
  • สร้างผู้นำที่มีนวัตกรรมการบริหารอย่างยั่งยืน และมีธรรมาภิบาล

วิชาในหลักสูตร

หมวดวิชาหลัก
รศ 6000 ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ร่วมสมัย (Contemporary Public Administration Theory)
รศ 6010 การบริหารและการพัฒนาที่ยั่งยืน (Administration and Sustainable Development)
รศ 6020 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Research Methodology in Public Administration)
รศ 6030 การวิเคราะห์องค์การ (Organizational Analysis)

หมวดวิชาเอก (การจัดการสำหรับนักบริหาร)
รศ 7080 การวางแผน การบริหารและการประเมินผลโครงการ (Project Planning Management and Evaluation)
รศ 7081 การประเมินสมรรถนะและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Competency Assessment and Human Resource Development)
รศ 7082 การวิเคราะห์การเงินและงบประมาณ (Financial and Budgetary Analysis)

หมวดวิชาเลือก
รศ 7900 เศรษฐกิจโลกเชิงพลวัต (Dynamic of Global Economic)
รศ 7901 การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี (Innovation Management and Technology)
รศ 7902 การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management)
รศ 7903 การบริหารการเงินและการคลัง (Financial and Fiscal Management)
รศ 7904 นโยบายสาธารณะ (Public Policy)

หมวดวิชาการค้นคว้าอิสระ
รศ 9000 การค้นคว้าอิสระ: การประยุกต์ความรู้สู่การปฏิบัติ (Independent Study : Combination of Practical and Theoretical Knowledge)

สมัครเรียนหลักสูตร

ค่าลงทะเบียน

ปีการศึกษาที่ 1 ภาค 141,100ปีการศึกษาที่ 1 ภาค 241,100ปีการศึกษาที่ 1 ภาคฤดูร้อน13,100ปีการศึกษาที่ 2 ภาค 141,100ปีการศึกษาที่ 2 ภาค 241,100สอบประมวลความรู้ ค่าสมัคร500ประมาณค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร178,000

หลักสูตรปริญญาตรี ภาคพิเศษ เรียนเฉพาะวันอาทิตย์ (สำหรับผู้จบ ม.6, ปวช., กศน.มัธยมปลาย ศึกษาต่อปริญญาตรี)


① การเข้าศึกษาต่อ

คุณสมบัติการสมัคร
➤ จบการศึกษา และมีเอกสารวุฒิการศึกษาแล้วเท่านั้น ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ กศน.มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า (ทุกสาย/สาขาวิชา)

ช่วงเวลารับสมัคร
➤ รับสมัครตลอดทั้งปี สามารถตรวจสอบรอบการสมัครได้ที่ > เว็บไซต์รับสมัคร

ระบบการรับสมัคร
➤ รับตรง

② ค่าเล่าเรียน

ทุกสาขาวิชา (ยกเว้นสาขาวิศวกรรมศาสตร์)
เทอมแรก (แบ่งชำระ 2 ครั้ง)
➤ ประมาณ 15,000 บาท/เทอม
➤ ครั้งที่ 1 ค่ารายงานตัว (ชำระเพื่อจองสิทธิ์เข้าศึกษา)
➤ ครั้งที่ 2 ค่าลงทะเบียนเรียน (ชำระช่วงเปิดเทอม)
เทอมที่สองเป็นต้นไป
➤ ประมาณ 12,000 บาท/เทอม

เฉพาะสาขาวิศวกรรมศาสตร์
เทอมแรก
➤ ประมาณ 25,000 บาท/เทอม
เทอมที่สองเป็นต้นไป
➤ ประมาณ 19,000 บาท/เทอม

ประกาศ อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
➤ https://reg.dru.ac.th/2017/pages/student_finance.php

③ การจัดการศึกษา

ทุกสาขาวิชา (ยกเว้นสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า)
จัดการศึกษาแบบ Block Course
➤ เรียนทุกวันอาทิตย์เวลาประมาณ 8.30 น. ถึง 18.00 น. (ตามจำนวนหน่วยกิจของแต่ละวิชา)
➤ ไม่มีปิดเทอม
➤ ทำการเรียนและสอบจบในวิชาเดียวกัน ภายในการเรียน 4-6 ครั้ง
➤ 1 เทอม ใช้เวลาประมาณ 4-5 เดือน
➤ หลักสูตรปริญญาตรี ใช้เวลาศึกษาประมาณ 14 เทอม

เฉพาะสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
จัดการศึกษาแบบไตรภาค
➤ เรียนทุกวันอาทิตย์เวลาประมาณ 7.30 น. ถึง 22.30 น. (ช่วงเวลาการเรียนอาจน้อยกว่านี้ ตามจำนวนหน่วยกิจของแต่ละเทอม)
➤ ไม่มีปิดเทอม
➤ ทำการเรียนตามตารางเรียน โดย 1 วันเรียนประมาณ 3 – 4 วิชา
➤ 1 เทอม ใช้เวลาประมาณ 4-5 เดือน
➤ หลักสูตรปริญญาตรี ใช้เวลาศึกษาประมาณ 14 เทอม

คำถามที่มักถูกถามบ่อย เกี่ยวกับการสมัครเรียนภาคพิเศษ เรียนเฉพาะวันอาทิตย์ เช่น เรียนกี่ปีจบ, การเทียบโอนรายวิชา ฯลฯ

④ ทุนการศึกษาและบริการต่าง ๆ

➤ ทุนการศึกษา
– ทุนเรียนดี
– ทุนนักกีฬา
– ทุนผู้พิการ
– ทุนผู้ทำคุณประโยชน์
➤ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา : กยศ. (เฉพาะผู้ที่ยังไม่มีงานประจำทำ)
➤ งานทหาร
– ผ่อนผันทหาร (ต้องยื่นเรื่องตามกำหนดของมหาวิทยาลัย)
➤ ห้องสมุด
➤ ศูนย์คอมพิวเตอร์
➤ ศูนย์ภาษา

รายละเอียดทุนการศึกษาและบริการต่าง ๆ
➤ https://sp.dru.ac.th/new/?page_id=7277

รายละเอียดหลักสูตรอื่น ๆ

➤ หลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) ภาคปกติ เรียนวันจันทร์-ศุกร์ (สำหรับผู้จบ ม.6, ปวช., กศน.มัธยมปลาย ศึกษาต่อปริญญาตรี)

➤ หลักสูตรปริญญาตรี (เทียบโอน) ประมาณ 2 ปี ภาคปกติ เรียนวันจันทร์-ศุกร์ (สำหรับผู้จบ ปวส. ศึกษาต่อปริญญาตรี)

➤ หลักสูตรปริญญาตรี ภาคพิเศษ เรียนเฉพาะวันอาทิตย์ (สำหรับผู้จบ ม.6, ปวช., กศน.มัธยมปลาย ศึกษาต่อปริญญาตรี)

เรียนภาคปกติ ย้ายไปเรียนภาคพิเศษได้ไหม

สามารถย้ายได้ค่ะ แต่คุณจะต้องพิจารณาให้การเปิดเทอมตรงกัน เพราะภาคปกติ มี 2 เทอม ภาคพิเศษมี 3 เทอม เมื่อย้ายไปคุณก็สามารถเรียนปี 2 ได้เลย แต่มีข้อที่จะต้องพิจารณาว่่ารายวิชาที่คุณเคยเรียนในปี 1 แล้วมีอะไรบ้างและวิชาที่ยังไม่ได้เรียน ในภาคพิเศษเขาเปิดสอนหรือไม่ คุณจะต้องดำเนินการเรียนรายวิชาต่างๆ ให้ครบตามหลักสูตรจึงจะ ...

เรียนภาคพิเศษ ได้ฝึกงานไหม

ฝึกงาน -> ปี3 – 4 เข้าสู่โหมดฝึกงาน มีบางคณะที่ไม่จำเป็นต้องฝึกงาน แต่โดยส่วนมากมักจะมีวิชาฝึกงาน ซึ่งถ้าภาคปกติมี น้องๆ ภาคพิเศษก็ต้องมีครับ และไม่เกี่ยวด้วยว่า เรียนภาคพิเศษต้องฝึกงานในช่วงค่ำเหมือนที่เราเรียน

ภาคพิเศษเรียนกี่ปี

หลักสูตร 4 ปี (เรียนเสาร์-อาทิตย์) จบได้ภายใน 3 ปี - จบ ม.6 หรือเทียบเท่า หรือ จบปริญญาตรีสาขาอื่นๆ - ไม่จำกัดอายุผู้เรียน - มีประสบการณ์ทำงานภาครัฐหรือภาคเอกชน - เรียนแบบ Block Course.

เรียนมหาลัยภาคพิเศษคืออะไร

ภาคพิเศษหรือภาคสมทบเป็นการเปิดการเรียนการสอนเพิ่มเติม จากภาคปกติ เช่นภาคปกติเรียนวันจันทร์-ศุกร์ 8 โมงเช้า ถึง 4 โมงเย็น แต่ภาคพิเศษ จะเริ่มเรียนกันประมาณ บ่าย หรือ เย็น ยาวจนถึง สองทุ่มสามทุ่ม หรือที่เรียกว่านอกเวลาราชการ บางสถาบันมีเรียนเฉพาะเสาร์-อาทิตย์ซึ่งก็แล้วแต่มหาวิทยาลัยกำหนด รูปแบบการศึกษาภาคพิเศษ