โซ ล่า เซลล์ ใช้กับ ตู้ เย็น

โซล่าเซลล์
การนำโซล่าเซลล์มาประยุกต์ใช้งานกับเครื่องใช้ไฟฟ้าตู้เย็นนั้นสามารถทำได้ 2 แบบ คือจะขึ้นอยู่กับระบบไฟของตู้เย็น
กรณีตู้เย็นเป็นระบบไฟฟ้าแบบดีซี ดังนั้นระบบโซล่าเซลล์จึงไม่จำเป็นต้องใช้อินเวอร์เตอร์ในการแปลงไฟฟ้ากระแสตรงไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ แต่เราต้องทราบกำลังวัตต์ของตู้เย็นหรือการกินไฟของของตู้เย็นแบบดีซีที่พูดถึงอยู่นี้ด้วย และจำเป็นต้องทราบระบบโวลท์ของตู้เย็นอีกด้วยไม่ว่าจะเป็นระบบตู้เย็นดีซีแบบ 12/24/36/48/96 โวลท์ จึงสามารถออกแบบระบบโซล่าเซลล์เพื่อจ่ายไฟให้กับตู้เย็นแบบดีซีนี้ได้อย่างเพียงพอ เนื่องจากตู้เย็นจะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องทำงานอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาจนกว่าความเย็นจะถึงจุดที่เราตั้งเอาไว้

หลักการทำงานของระบบโซล่าเซลล์ ที่ใช้งานกับตู้เย็นดีซี จะประกอบด้วย แผงโซล่าเซลล์ ทำหน้าที่แปลงพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยมีโซล่าชาร์จเจอร์คอนโทรลเลอร์ เป็นตัวทำหน้าที่ควบคุมการชาร์จประจุลงแบตเตอรี่ และ แบตเตอรี่เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าเก็บสะสมพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากแผงโซล่าเซลล์ผลิตได้ในแต่ละขณะ หลังจากนั้นก็สามารถต่อต้เย็นดีซี เข้ากับแบตเตอรี่ได้โดยตรง หรือ จะผ่าน สวิตช์หรือเบรคเกอร์เพื่อควบคุมการปิดเปิด ขณะซ่อมบำรุงก็ได้

กรณีตู้เย็นเป็นแบบเอซี ระบบโซล่าเซลล์เพื่อจ่ายไฟให้กับตู้เย็นเอซีจึงจำเป็นต้องมีอินเวอร์เตอร์เพิ่มเข้ามาเพื่อแปลงไฟในระบบโซล่าเซลล์จากไฟฟ้ากระแสตรงหรือจากแบตเตอรี่ไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบโซล่าเซลล์แบบนี้ จะประกอบด้วย แผงโซล่าเซลล์ ทำหน้าที่แปลงพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยมีโซล่าชาร์จเจอร์คอนโทรลเลอร์ เป็นตัวทำหน้าที่ควบคุมการชาร์จประจุลงแบตเตอรี่ และ แบตเตอรี่เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าเก็บสะสมพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากแผงโซล่าเซลล์ผลิตได้ในแต่ละขณะ และมีอินเวอร์เตอร์แปลงไฟจากไฟฟ้ากระแสตรงไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ อินเวอร์เตอร์แปลงไฟในระบบโซล่าเซลล์เพื่อจ่ายไฟให้กับตู้เย็นนั้นต้องมีขนาดกำลังวัตต์ที่มากกว่ากำลังวัตต์ของตู้เย็น และควรเป็นอินเวอร์เตอร์ที่ทนต่อการกระชากของโหลดตอนทำงาน เพราะในการทำงานของตู้เย็นจะกระชากกระแสตอนทำงาน ตัดและต่อการงานอย่างเนื่อง แนะนำใช้เป็นอินเวอร์เตอร์แบบขดลวดหม้อแปลงก็จะดีกว่าอินเวอร์เตอร์แบบสวิตชิ่ง

โซ ล่า เซลล์ ใช้กับ ตู้ เย็น


พลาสติก เป็นวัสดุที่สามารถใช้งานอยู่ในปัจจุบันอย่างแพร่หลาย นอกจาก พลาสติก PA ที่เราได้รู้จักกันไปบทความก่อนแล้ว พลาสติก ABS ก็ยังเป็นพลาสติกอีกชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยในอุตสาหกรรมมากมาย ดังนั้นเราจะมารู้จักกับ พลาสติก ABS กันได้จากบทความนี้

พลาสติก ABS มีชื่อเต็มว่า Acrylonitrile Butadiene Styrene พลาสติกชนิดนี้ เป็นพลาสติกชนิด เทอร์โมพลาสติก หรือพลาสติกที่มีจุดหลอมเหลว สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก

โดยปัจจุบัน พลาสติก ABS สามารถพบได้บ่อยในอุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ อาทิเช่น เป็นส่วนประกอบของ โทรศัพท์มือถือ เครื่องใช้ไฟฟ้า กล่องพักสายไฟ ของเล่นสำหรักเด็ก หมวกกันน็อค รวมถึงเครื่องพิมพ์ 3D

โครงสร้างของพลาสติก ABS

พลาสติก ABS นั้นเป็นพลาสติดที่สร้างขึ้นมาโดยนำโมโนเมอร์ 3 ชนิดมาผสมและทำปฎิกิริยากัน โดยโมโนเมอร์ทั้ง 3 ชนิดนั้น จะส่งผลต่อผลิตภัณฑ์ที่ผลิตออกมานั้นจะมีคุณสมบัติอย่างไร ดังนี้

  • สไตรีน (Styrene) : เป็นโมโนเมอร์ที่เมื่อผสมเข้าไปแล้วจะทำให้เนื้อพลาสติกมีความมันงา สวยงาม และยังทำให้สามารถแต่งตัดรูปได้ง่าย
  • อะคริไลไนโตรล์ (Acrylonitrile) : เป็นโมโนเมอร์ที่เมื่อผสมเข้าไปแล้วจะทำให้เนื้อพลาสติกมีความสามารถในการทนความร้อนและสารเคมี
  • โพลิบิวทาไดอีน (Polybutadiene) : เป็นโมโนเมอร์ที่เมื่อผสมเข้าไปแ้ลวจะทำให้เนื้อพลาสติกสามารถทนต่อแรงกระแทกได้มากขึ้น

คุณสมบัติที่สำคัญของ พลาสติก ABS

  1. แข็งแรงและยืดหยุ่น : จุดเด่นของพลาสติก ABS คือความแข็งแรง ยืดหยุ่น ทนต่อสภาพอากาศ ทนต่อแรงบีบ จึงเหมาะสำหรับการขึ้นรูป รวมถึงเครื่องพิมพ์ 3D
  2. ทนอุณหภูมิได้ดี : พลาสติก ABS นั้นมีจุดหลอมเหลวที่สูง ถึง 200°C ~ 250°C จึงทนความร้อนได้สูงกว่าพลาสติกชนิดอื่น แต่ก็เย็นตัวลงได้ช้ากว่าเช่นกัน
  3. มีความขุ่น : เมื่อทำการผสมสีเข้าไปในเนื้อพลาสติก จะทำให้สีของผลิตภัณฑ์ขุ่น ไม่โปร่งใส จึงไม่เหมาะสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความโปร่งใส
  4. ขึ้นรูป ตกแต่งได้ง่าย : จุดเด่นอีกข้อหนึ่งของพลาสติก ABS คือสามารถขึ้นรูปได้ง่าย

จุดด้อยของพลาสติก ABS

  1. หากต้องการความคมของเนื้อชิ้นงาน การเลือกใช้พลาสติกชนิด ABS จะไม่ค่อยเหมาะนัก เพราะพลาสติกชนิดนี้เย็นตัวลงได้ช้า มีความหนืด เมื่อฉีดขึ้นรูป อาจจะทำให้เหลือความโค้งมนเหลืออยู่ จึงไม่เหมาะสมกับงานที่ต้องการงานที่มีความคมของชิ้นงาน
  2. ด้วยพลาสติก ABS มีคุณสมบัติที่มีจุดหลอมเหลวได้สูง และเย็นตัวลงช้า ถ้าหากอุณหภูมิลดลงเร็วเกินไป ทำให้ตัวเนื้องานมีโอกาส หดตัว เสียรูป ได้
  3. มีกลิ่นเมื่อโดนความร้อน พลาสติก ABS จะส่งกลิ่นพลาสติกไหม้ออกมา แต่เมื่ออุณหภูมิลดลงกลิ่นก็จะลดลงเช่นกัน

สินค้าแนะนำ

โซ ล่า เซลล์ ใช้กับ ตู้ เย็น

กล่องพลาสติกใส่ปุ่มกดสวิทช์

กล่องสวิทช์ กล่องพลาสติกใสปุ่มกดสวิทช์ (Switch Box – Push Button Box) จำหน่ายกล่องสวิทช์ กล่องพลาสติกใส่ปุ่มกดสวิทช์ ทำจากพลาสติก ABS มีความทนทานสามารถใช้งานได้ง่าย นิยมใช้เป็นกล่องควบคุม กล่องใส่สวิทช์…

โซ ล่า เซลล์ ใช้กับ ตู้ เย็น

กล่องเทอร์มินอลอลูมิเนียม

กล่องเทอร์มินอล อลูมิเนียม (Aluminum Terminal Box) เราจำหน่าย กล่องเทอร์มินอล อลูมิเนียม (Aluminum Terminal Box) ตัวกล่องทำจากอลูมิเนียมอย่างดี เหมาะสำหรับใช้เป็นจุดพักสายไฟ จุดเชื่อมต่อวงจร ที่มีความทนทาน…

โซ ล่า เซลล์ ใช้กับ ตู้ เย็น

ตู้พักสายไฟพลาสติกกันน้ำ ชนิดหูสแตนเลส

ตู้พักสายไฟพลาสติก กันน้ำชนิด หูสแตนเลส (Plastic Enclosue Hinge + Latch Type) เราจำหน่าย ตู้สายไฟกันน้ำพลาสติก ชนิดสหูสแตนเลส (Plastic Enclosure with Stainless…

โซ ล่า เซลล์ ใช้กับ ตู้ เย็น

ตู้โพลีเอสเตอร์ (Polyester Enclosure)

นิยมใช้กันในโรงงานอุตสาหกรรม,โซล่าเซลล์ โซล่าฟาร์ม,ผู้รับเหมาไฟฟ้า,เครื่องจักรอุตสาหกรรม,ผู้ประกอบตู้สวิสต์บอร์ด

โซล่าเซลล์ใช้กับตู้เย็นได้ไหม

กรณีตู้เย็นเป็นแบบเอซี ระบบโซล่าเซลล์เพื่อจ่ายไฟให้กับตู้เย็นเอซีจึงจำเป็นต้องมีอินเวอร์เตอร์เพิ่มเข้ามาเพื่อแปลงไฟในระบบโซล่าเซลล์จากไฟฟ้ากระแสตรงหรือจากแบตเตอรี่ไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบโซล่าเซลล์แบบนี้ จะประกอบด้วย แผงโซล่าเซลล์ ทำหน้าที่แปลงพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยมีโซล่าชาร์จเจอร์คอนโทรลเลอร์ เป็น ...

แผงโซล่าเซลล์ 3000W ใช้อะไรได้บ้าง

โซล่าเซลล์ออนกริด สามารถใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ทุกประเภท โดยไม่จำกัดจำนวน เช่น เครื่องปรับอากาศ 10000 BTU จำนวน 50 ตัว , เครื่องปรับอากาศ 48000 BTU จำนวน 80 ตัว , ตู้เย็น 20 เครื่อง ,เครื่องซักผ้า 70 เครื่อง , ทีวี 100 เครื่อง ก็สามารถใช้โซล่าเซลล์ 3Kw เนื่องจากระบบออนกริดเป็นระบบไฟที่ใช้ร่วมกับการไฟฟ้า

โซล่าเซลล์ 1 แผงใช้อะไรได้บ้าง

สามารถใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ทุกประเภท โดยไม่จำกัดจำนวน เช่น เครื่องปรับอากาศ 10000 BTU จำนวน 50 ตัว , ตู้เย็น 20 เครื่อง ,เครื่องซักผ้า 70 เครื่อง , ทีวี 100 เครื่อง หม้อหุงข้า 100 ใบ คือ สามารถใช้โซล่าเซลล์ 5Kw ได้ทั้งหมดทุกเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน แพราะระบบออนกริดเป็นระบบไฟที่ใช้ร่วมกับการไฟฟ้านั่นเอง

ไฟโซล่าเซลล์เปิดกลางวันได้ไหม

รู้หรือไม่ แผงโซล่าเซลล์ สามารถผลิตไฟฟ้าได้ทั้ง กลางวัน และ กลางคืน