วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

มนุษย์เราเกิดมาพร้อมกับสัญชาตญาณในการเอาชีวิตรอดเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์ ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งเร้ารูปแบบต่างๆนั้นเป็นสิ่งที่เหนือการควบคุม สัญชาตญาณบอกกับเราว่าอะไรคือความงามหรือไม่ใช่ความ และความหมายนั้นเปลี่ยนไปอยู่ตลอดเวลาเมื่อมีการเรียนรู้หรือได้รับประสบการณ์ที่ผ่านเข้ามาในชีวิต

การพยายามศึกษาค้นคว้าถึงสาเหตุที่มาแห่งความงามนั้นมีมาตั้งแต่ยุคสมัยโบราณ โดยหลักแล้วแยกออกเป็นกลุ่มความเชื่ออยู่สองกลุ่ม กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่เชื่อว่า ความงามขึ้นอยู่กับการรับรู้ (Subjective) และ อีกกลุ่มเชื่อว่า ความงามเป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้หรือมีความเที่ยงแท้ในตัวของมันเอง (Absolute, Objective)

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

เราจำเป็นต้องศึกษาเรื่องของ ‘ความงาม’ ของสิ่งต่างๆด้วยตรรกะที่พิสูจน์ได้

การเรียนรู้เกี่ยวกับ ‘ศิลปะแห่งการจัดองค์ประกอบ’ (The Art of Composition) เพื่อให้ภาพถ่ายเกิดความงามไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง, โครงสร้าง หรือสัดส่วน และอื่นๆ เราจึงต้องศึกษาในกลุ่มความเชื่อที่ว่า ‘ความงามเป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้’ โดยการนำหลักการและเหตุผลซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ และ สูตรทางคณิตศาสตร์เพื่อสร้างรูปแบบที่แน่นอน

เรากลัวเพราะไม่รู้ และไม่กลัวหากเรารู้

ในอดีตกาลพบว่ามนุษย์นั้นมีความเชื่อเกี่ยวกับดวงวิญญาณและการเคารพบูชาในสิ่งที่มองไม่เห็น จนเมื่อวันเวลาผ่านเลยไป ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ก็สามารถพิสูจน์ได้ว่าแท้จริงแล้วความจริงในความไม่รู้นั้นเป็นเช่นไร วิถีชีวิตและความเชื่อต่างๆจึงได้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางของเหตุและผลมากขึ้น ชี้ให้เห็นว่าแสงสว่างจากความรู้ช่วยชี้ทางแห่งชีวิตเมื่อเราต้องพบกับปัญหาที่ไม่สามารถอธิบายได้

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

เป็นปกติที่มนุษย์จะมีความรู้สึกแบบนี้

ข้อสังเกตอย่างหนึ่ง คือ สิ่งที่มนุษย์ไม่รู้มักกลายเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่ชอบตามไปด้วย อาจจะเป็นความหวาดกลัวต่อสิ่งนั้น เรารู้สึกถึงความไม่ปลอดภัยต่อสิ่งที่มองไม่เห็นหรืออธิบายไม่ได้ ความไม่สะดวกสบายของหลายๆสิ่งที่ส่งผลทั้งร่างกายและจิตใจความรู้สึกอึดอัดความยากลำบาก, ความตึงเครียด ฯลฯ เหล่านี้เป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่ชอบโดยจิตสำนึกพื้นฐาน และสิ่งที่มนุษย์ชอบก็เป็นอะไรที่ตรงกันข้ามกับสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด

ความงาม คือ สถานภาพของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเพลิดเพลิน และความชื่นชมผ่านการเข้าใจและรับรู้ถึงความสมดุล สัดส่วน และ แรงดึงดูด ของสิ่งๆนั้น ซึ่งอาจจะเป็นบุคคล สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์ สถานที่ ดนตรี ศิลปะ หรือ ความคิด ส่วนด้านตรงกันข้ามของความงามสร้างประสบการณ์อีกขั้วหนึ่ง เป็นผลกระทบด้านตรงกันข้ามกับการรับรู้อย่างสิ้นเชิง

ปัญหาคือแล้วอะไรคือเหตุแห่งความงามโดยธรรมชาติ?ข้อถกเถียงนี้ทำให้เกิดข้อสรุปที่ว่า ความงามไม่ใช่ความคิดปัจเจกที่จะบอกว่าอะไรเป็นความงามก็ได้ขึ้นอยู่กับความเห็นของคนๆหนึ่ง แต่เป็นการทำความเข้าใจความงามโดยส่วนใหญ่ที่มนุษย์เข้าถึงได้ง่าย

ความรู้สึกที่เป็นสากล

ความงามทางการมองเห็นจึงเป็นเรื่องสากล มีความเป็นธรรมชาติอยู่ในตัว เป็นสิ่งที่มนุษย์พึงปรารถนาและรู้สึกดีเมื่อได้พบเห็น ก่อนที่จะงงมากไปกว่านี้ก็มีตัวอย่างของภาพวาดใบหน้าคนสองภาพให้ดู ลองพิจารณาว่าชอบภาพไหนหรือไม่ชอบภาพไหน

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

หน้าปกติ

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

สัดส่วนที่ไม่เป็นธรรมชาติ

และภาพคนที่เหมือนกันแต่มีสัดส่วนแปลกตาออกไป ตามประเภทที่ใช้เปรียบเทียบ

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

หน้าปกติ

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

สัดส่วนที่ไม่เป็นธรรมชาติ

คนส่วนใหญ่เริ่มรู้สึกแปลกๆกับใบหน้าที่ผิดรูปผิดร่างไม่ได้สัดส่วน แถมยังมีปัจจัยอีกหลายๆอย่างที่ทำให้รู้สึกเช่นนั้น ความแคบหรือความกว้างของหน้าทำให้คนที่เห็นรู้สึกอย่างไรสีของดวงตาแบบไหนที่เรียกว่าสวย และอื่นๆที่เป็นข้อพิจารณาร่วม

สัดส่วนของใบหน้าที่ดีคือความสัมพันธ์ไม่ว่าจะเป็นระยะของคางถึงหน้าผากและจากดวงตาถึงหน้าผาก สัดส่วนจากคางถึงจมูกและจากปากถึงจมูก ทั้งหมดเป็นเรื่องของสัดส่วนที่เราจะได้พูดกันอย่างเชิงลึกในตอนถัดไป (เกี่ยวกับ Fibonacci Number และสัดส่วนธรรมชาติหรือสัดส่วนทอง)

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

ถึงตรงนี้ ก็มีคำถามมาถามเล่นๆกันอีกให้ลองนึกกันว่า ผิวหนังที่สวยงามควรมีลักษณะอย่างไรสีสันเป็นแบบไหนและพื้นผิวควรเป็นแบบไหน?

เมื่อความงาม คือ สัดส่วน” ไม่ว่าจะเป็นจากซ้ายและขวาบนและล่างสั้นและยาวสูงและต่ำกว้างและแคบ ฯลฯ ความงามเป็นพื้นฐานมาจากจิตสำนึก จากธรรมชาติของสิ่งที่พบเห็นและเข้าใจ ความงามเกิดจากการผสมรวมกันของสัดส่วนจากสิ่งต่างๆเข้าด้วยกันเป็นใบหน้าที่มนุษย์พบเห็นและเข้าใจว่าเป็นความงามในทุกวันนี้

เพียงแค่ตัวอย่างของสัดส่วนความงามบนใบหน้ามนุษย์ คงเพียงพอที่จะทำให้คุณคิดต่อไปยังสัดส่วนความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติ เราจึงต้องศึกษาสัดส่วนและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความงาม เนื่องจากว่าเพราะการจัดองค์ประกอบ คือ กฏ และ กฏ ทำให้เกิดความงามดังนั้นการจัดองค์ประกอบเพื่อให้เกิดความงาม จึงเป็นการจัดเรียงสิ่งต่างๆที่มีอยู่ให้เกิดสัดส่วนสวยงามตามภายใต้กฏพื้นฐานที่มีอยู่ตามธรรมชาตินั่นเอง

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

บทความที่เกี่ยวข้องในหมวดนี้

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

รูปแบบสีที่ช่างภาพควรรู้

เรียนรู้ 3 รูปแบบสีสำหรับช่างภาพเพื่อให้เข้าใจถึงความแตกต่างในการนำไปใช้ให้เหมาะสมบนสื่อต่างๆ

เมษายน 27, 2022 ไม่มีความเห็น

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

สีสัน, ความอิ่มตัว และ ความสว่างในโปรแกรมตกแต่งภาพถ่าย

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ สีสัน, ความอิ่มตัว และ ความสว่าง ซึ่งเป็นคุณลักษณะของสีเพื่อต่อยอดความสามารถในการสร้างสรรค์ภาพถ่ายสีให้ดีมากยิ่งขึ้น

เมษายน 25, 2022 ไม่มีความเห็น

วิทยาศาสตร์กับความงาม หมาย ถึง

เฉดสี, โทนสี และ ทินท์สี

ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของ เฉด (Shades), โทน (Tones) และ ทินท์ (Tints) ซึ่งจะช่วยให้ช่างภาพนำไปประยุกต์ใช้กับเครื่องมือหรือการทำงานด้านอื่นเกี่ยวกับสีได้ดียิ่งขึ้น

วิทยาศาสตร์และความงามคืออะไร

วิทยาศาสตร์สุขภาพและความงามเป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่เรียนวิเคราะห์ถึงสารที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความงามซึ่งบางมหาวิทยาลัยอาจจะใช้ชื่อว่าวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง ที่เรียนเกี่ยวกับ การนำเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเคียงสากลจึงเป็นความจำเป็นสำหรับอุตสาหกรรมในประเทศ นัก ...

วิทยาศาสตร์ความงาม มีอะไรบ้าง

สาขาวิชาเทคโนโลยีความงามเน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ จะได้เรียนรู้เรื่องต่างๆ เช่น ความรู้เกี่ยวกับผิวหนัง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม การพัฒนาบุคลิกภาพ หัตถเวชกรรมแผนไทยสำหรับความงาม การจัดการธุรกิจความงามและสปา ออกแบบทรงผมและการแต่งหน้า เทคโนโลยีความงามขั้นสูง เวชศาสตร์ต้านความชราและฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นต้น ...

วัยใดเป็นวัยที่มีความงามมากที่สุด

จากลักษณะตามธรรมชาติในแต่ละวัย นักเรียนคงเห็นแล้วว่าวัยรุ่นเป็นวัยที่มี ความงามตามธรรมชาติมากที่สุด เนื่องจากเป็นวัยที่ร่างกายแข็งแรง ผิวพรรณเปล่งปลั่ง ไม่มีไขมันส่วนเกิน แม้แต่วัยอื่นๆ ยังต้องการย้อนเวลากลับมาเป็นวัยรุ่นอีกครั้ง นักเรียน จึงควรภูมิใจและรักษาความงามตามธรรมชาติของวัยรุ่นนี้ไว้ อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลง ...

วิทยาศาสตร์ คืออะไร จงอธิบาย

วิทยาศาสตร์หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการแสวงหาความรู้ ความจริงจากธรรมชาติแย่างมีระบบเพื่ออธิบายและทำความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่างๆ โดยการสังเกต ทดลอง การวิเคราะห์อย่างมี เหตุผล มีจิตวิทยาศาสตร์หรือเจตคติวิทยาศาสตร์มีการใช้วิธีการทางวิทยาศ่สตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ และ ...