บทบาทหน้าที่ของครูการศึกษาพิเศษ

บทบาทของครู
การศกึ ษาพิเศษ
เพื่อการจดั การศึกษา

ครกู ารศกึ ษาพิเศษ คอื ใคร?

“ ค รู ก า ร ศึ ก ษ า พิ เ ศ ษ ”
คือครเู ฉพาะทาง ที่จบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี

“ ค รู ก า ร ศึ ก ษ า พิ เ ศ ษ ”
คือครูเฉพาะทาง ที่จบการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
ดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษ และได้รบั ใบประกอบวิชาชพี ครู

ครกู ารศึกษาพเิ ศษ ทาอะไร?

ครูการศึกษาพิเศษจะจัดการเรยี นการสอนไดท้ ั้งในระดบั
ปฐมวยั อนบุ าล ประถมศึกษา และมธั ยมศึกษา โดยมี

วตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ช่วยเหลอื สนบั สนุน และพฒั นา
ศักยภาพของเดก็ ที่มคี วามตอ้ งการพเิ ศษทกุ คน เพ่ือให้
เข้าถงึ ศักยภาพทางการศกึ ษาไดอ้ ย่างเต็มที่ อีกทงั้ ครู
การศึกษาพิเศษต้องมีความเข้าใจ มคี วามอดทน ทมุ่ เท
ใหก้ ับนักเรียนแต่ละคนรวมถึงตอ้ งมีเครอ่ื งมอื เทคนิคการ

สอน ส่ือการสอน รวมถึงคาแนะนา

ครกู ารศึกษาพเิ ศษ ทาอะไร?

ครกู ารศึกษาพเิ ศษ คอื ครเู ฉพาะทาง การทางานของครู
การศึกษาพิเศษนน้ั จะมีการวางแผนการจัดการเรยี น
การสอนโดยเนน้ การแกไ้ ขปัญหา 3 ทกั ษะ ได้แก่
ทักษะการอ่าน ทกั ษะการเขยี น และทกั ษะ
คณิตศาสตร์ ซง่ึ เน้อื หาท่ใี ชใ้ นการสอนจากหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานรวมทง้ั ปรบั วธิ กี ารสอน
ท่หี ลากหลายแตม่ ีคานึงถงึ ความต้องการเฉพาะเพือ่ ให้
เหมาะสมกบั ความแตกต่างของแตล่ ะบุคคลเป็นสาคญั

งานของครูการศกึ ษาพิเศษ 2

1 ปรับบทเรยี น เนอ้ื หาในการจัดการ
เรียนการสอนให้เหมาะสมกบั นกั เรียน
ประเมินนักเรียนในดา้ นทกั ษะตา่ งๆ
เพื่อตรวจสอบความตอ้ งการของแต่ละ แต่ละคน
บุคคล และเพ่ือพฒั นาแผนการจัดการ
4
เรยี นรู้

3

บริการพัฒนาโปรแกรมการศึกษารายบคุ คล วางแผนจัดระเบยี บ และจดั กจิ กรรมท่ี
(Individual Education เก่ยี วขอ้ งโดยเฉพาะความสามารถของ
Program : IEP)
สาหรับนกั เรียนทุกคน นักเรียนแต่ละคน

งานของครูการศกึ ษาพิเศษ 6

5 จัดการเรยี นการสอนแบบ 1 ตอ่ 1 หรือ
เปน็ แบบกลุ่มเลก็
จัดการเรยี นการสอน โดยใชเ้ ทคนคิ การ
สอน สื่อการสอน เพื่อกระตุ้นให้ 8
นักเรยี นเกิดการเรียนร้อู ยา่ งเตม็
ศักยภาพ

7

ประเมนิ การพฒั นาของนักเรียน พดู คุยเก่ียวกบั ความคบื หนา้ ในการ
โดยใชข้ อ้ สอบเพ่อื ติดตามความคืบหนา้ จัดการเรียนการสอน เพอื่ ให้ปกครอง

ไดเ้ ข้าใจอย่างต่อเนื่อง

ทาไมต้องมีครูการศึกษาพเิ ศษ?

1. อัตราของเดก็ ที่มีความต้องการพิเศษ 2. กฎหมายปัจจุบัน ตระหนักถึงความเท่าเทียมและ
ในประเทศไทยน้ันเพิ่มข้ึนทุกปี การ เสมอภาคกันมากข้ึน ในรฐั ธรรมนูญปี 2560 ได้
รบั มอื กบั การเปล่ียนแปลงน้ีจาเป็นต้อง กาหนดสิทธเิ สรีภาพของปวงชนชาวไทยไว้ในมาตรา
มีผู้เชี่ยวชาญในการส่งเสริมและแก้ไข ที่ 27 ซึ่งมเี น้อื หาบางส่วนระบุว่า บคุ คลย่อมเสมอ
ปัญหา ซึ่งครูการศึกษาพิเศษจะช่วยอุด กนั ในกฎหมาย มสี ทิ ธิและเสรีภาพและไดร้ ับความ
ช่องโหว่ตรงนี้ ทาให้โรงเรียนสามารถ คุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน การเลอื กปฏบิ ัติ
ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ เ ยี ย ว ย า เ ด็ ก ที่ มี ค ว า ม โดยไมเ่ ป็นธรรมต่อบุคคล ไมว่ า่ ดว้ ยเหตคุ วาม
ตอ้ งการพเิ ศษอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ แตกต่างในเรอ่ื งถิน่ กาเนิด เช้อื ชาติ ภาษา เพศ
อายุ ความพิการ สถานะของบคุ คลฐานะทาง
เศรษฐกจิ หรือสงั คม ความเช่ือทางศาสนา
การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอัน
ไมข่ ัดต่อบทบญั ญตั ิแหง่ รัฐธรรมนญู หรือเหตอุ ่นื ใด
จะกระทามิได้ จากข้อความบางส่วนในบทบัญญตั นิ ี้

จะเห็นไดว้ า่ ผู้พิการลว้ นมีสทิ ธิเทา่ เทยี มกบั คนปกติ

ทาไมต้องมคี รูการศึกษาพเิ ศษ?

3. สาหรับการสง่ เสรมิ 4. เทคโนโลยีด้านการ 5. ครูการศกึ ษาพิเศษชว่ ยให้
เดก็ ท่ีมคี วามตอ้ งการ ช่วยเหลือและฟื้นฟผู ูม้ ี โรงเรียนมผี ลการเรยี นรูท้ ่สี ูงขนึ้ ได้
พเิ ศษ ครูการศึกษาพเิ ศษ ความต้องการพเิ ศษมกี าร เพราะครกู ารศกึ ษาพเิ ศษจะเขา้ มา
จะมกี ารทา แผนการ พัฒนามากข้ึน ทาใหเ้ ด็กท่ี ชว่ ยเหลือหรอื ฟืน้ ฟูเดก็ ทม่ี คี วาม
จัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล มคี วามตอ้ งการพิเศษ ตอ้ งการพเิ ศษ ซ่งึ หนง่ึ ในกลุ่มของ
สามารถเรียนร่วมกบั เดก็ เดก็ ทม่ี ีความต้องการพิเศษทม่ี ักจะ
(Individualized ปกตไิ ด้จนแทบจะไม่มขี อ้ พบเจอมากในโรงเรยี นโดยทว่ั ไปคือ
Education Program : แตกตา่ ง แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี กลมุ่ ของเดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งใน
IEP) ซึง่ จะช่วยใหเ้ ด็กมี การเรียนรู้ เชน่ การอา่ น การเขยี น
ความตอ้ งการพเิ ศษแต่ละ การส่งเสริมการใช้ หรอื การคิดคานวณ ซ่ึงบางครง้ั มา
บุคคลมีแนวทางการ เทคโนโลยเี หล่าน้ี จากการเลย้ี งดทู ่ีไมเ่ หมาะสมทาให้
จาเป็นต้องมคี รูการศึกษา เด็กกลุ่มนี้มีพัฒนาการทผ่ี ิดปกติ ครู
พัฒนาทเ่ี หมาะสม การศกึ ษาพเิ ศษจะชว่ ยแก้ไขและ
พิเศษ พัฒนาเด็กในกลมุ่ น้ีทาให้พวกเขา
สามารถเรียนรู้ได้ดขี น้ึ ซงึ่ มผี ลตอ่ ผล

การเรยี นรูใ้ นโรงเรียนท่สี งู ข้ึน

ปรชั ญาและแนวคิดทางการศึกษาพเิ ศษ

➢ เด็กแตล่ ะคนมคี วามแตกต่างกนั ท้งั ในด้านรา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์และ สังคม
➢ เด็กแตล่ ะคนมีพืน้ ฐานแตกต่างกัน แตล่ ะคนจะตอ้ งเรียนรูเ้ พ่ือปรบั ตวั เข้าหากัน ใหท้ ัน

โลกที่กาลงั เปลี่ยนแปลงไป
➢ เดก็ แต่ละคนมีความสามารถอยใู่ นตัวการศกึ ษาจะชว่ ยให้ความสามารถของเดก็ ปรากฏ

เด่นชัดข้นึ
➢ ในสงั คมมนษุ ยน์ ัน้ ยอ่ มมที ้งั คนปกติและคนพกิ าร ในเมอ่ื ไม่สามารถแยกคนพกิ ารออก

จากสงั คมของคนปกติได้ เราจงึ ไม่ควรแยกใหก้ ารศกึ ษาแก่เด็กท่มี ีความต้องการพเิ ศษ
➢ เน่อื งจากเดก็ เหล่านม้ี ีความต้องการและความสามารถทางการศกึ ษาที่แตกต่างไปจาก

เด็กปกติ แมว้ า่ ความตอ้ งการพ้ืนฐานไม่แตกต่างกัน ดังน้นั การใหก้ ารศกึ ษาควรมี
รูปแบบและวิธีการท่ีแตกต่างไปจากรปู แบบและวิธีการสาหรับเด็กปกติ ทง้ั นี้เพอ่ื ให้เด็ก
ไดม้ ศี กั ยภาพในการเรียนรูไ้ ดเ้ ตม็ ที่

แนวคดิ ในการจัดการศึกษาพเิ ศษ

ศรนิ ธร วทิ ยะสิรินันทไ์ ด้สรปุ ในปจั จุบนั ไวว้ า่
“แนวคดิ ในการนาเด็กเข้าสสู่ ภาวะปกติให้มากทีส่ ุด เป็นแนวคดิ หลกั ของ

การศึกษาพิเศษ ปัจจุบัน เพือ่ ช่วยใหเ้ ดก็ ท่ีมีความตอ้ งการพิเศษประเภทตา่ งๆ สามารถ
ปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจาวันท่วั ไปได้ดขี น้ึ ซ่งึ การนาเดก็ เข้าสู่สภาวะปกติมากทสี่ ดุ เปน็ วธิ ีการ
ที่เป็นปกตวิ ิสัยของสงั คม เพ่อื คงทกั ษะและพฤตกิ รรมต่างๆ ของเดก็ ท่มี ีความตอ้ งการ
พิเศษไว้ให้มากท่ีสุด ดงั นัน้ จึงต้องนาเดก็ ทมี่ ีความ ต้องการพิเศษเขา้ สสู่ ภาวะปกตทิ ี่
สมบูรณ์โดยให้โอกาสในการรบั สทิ ธติ า่ งๆ เทา่ เทยี มกับคนปกติ ได้รบั การ ยอมรบั โดยไม่
มีข้อยกเว้นเป็นกรณพี ิเศษใดๆ ทัง้ จากเพอื่ นและบุคคลอื่นๆ ในวฒั นธรรมเดยี วกนั ”

บทบาทของการศึกษาพเิ ศษ

➢ พฒั นาเด็กทมี่ ีความต้องการพเิ ศษทงั้ ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คม
➢ ใหเ้ ด็กมีโอกาสไดร้ บั การศึกษาและเลอื กรับการศกึ ษาตั้งแตก่ ารช่วยเหลือระยะแรกเร่ิมจนถงึ ระดับอุดมศกึ ษา
➢ ใหเ้ ดก็ มีความตระหนกั ในสิทธิของตนเอง ทั้งตามรฐั ธรรมนญู และพระราชบัญญตั ติ ่างๆ
➢ ให้เดก็ ไดร้ ับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลอื อื่นใดทางการศึกษาตามที่ กาหนดใน
กฎกระทรวง
➢ ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ข้อมลู สารสนเทศ และเทคโนโลยีเชน่ เดียวกับคนท่วั ไป
➢ ส่งเสริมใหเ้ ดก็ ที่มคี วามสามารถพเิ ศษไปแข่งขันความสามารถในระดบั โลก
➢ ใหค้ รอบครัวและสังคมมีส่วนรว่ มในการพัฒนาเดก็ ท่ีมีความต้องการพเิ ศษ
➢ สง่ เสริมให้องค์กรภาครฐั และเอกชน ดาเนนิ การทาวิจัยเพ่ือคน้ หาองค์ความรใู้ หม่
ในการพัฒนาเดก็ ทีม่ คี วามต้องการพเิ ศษ

ขอบขา่ ยของการศกึ ษาพเิ ศษ

ไดก้ าหนดขอบขา่ ยงานการศกึ ษาพเิ ศษ 4 เดก็ ทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกายหรอื สขุ ภาพ
ครอบคลมุ เดก็ 3 กล่มุ คือ 5 เด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางการพดู และภาษา
1. เด็กพกิ าร 6 เดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางด้านพฤตกิ รรมหรือ
เด็กพิการ หมายถึง เดก็ ท่มี คี วามบกพรอ่ งด้านตา่ งๆ อารมณ์
ซ่งึ แบ่งออกเป็น 9 ประเภท ดงั นี้ 7 เด็กท่ีมีปญั หาทางการเรียนรู้
1 เด็กทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางการเห็น 8 เดก็ ออทิสตกิ
2 เดก็ ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน 9 เด็กพกิ ารซอ้ น
3 เด็กทม่ี ีความบกพร่องทางสติปญั ญา

ขอบขา่ ยของการศกึ ษาพิเศษ

2. เดก็ ดอ้ ยโอกาส 3 เดก็ ทถี่ กู ทอดทง้ิ /กาพรา้
4 เดก็ ท่ีถกู ทาร้ายทารณุ
เด็กด้อยโอกาส หมายถงึ เด็กที่ขาด 5 เดก็ ที่ถูกบงั คบั ใหข้ ายแรงงานเดก็
โอกาสในการรับการศึกษา ซง่ึ แบง่ ออกเปน็ 6 เด็กทีอ่ ยใู่ นธุรกิจทางเพศหรอื โสเภณเี ด็ก
10 ประเภท ดังนี้ 7 เด็กทมี่ ปี ญั หาเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ
8 เดก็ ท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากโรคเอดสห์ รือ
1 เด็กเรร่ ่อน
โรคตดิ ตอ่ ร้ายแรงทีส่ งั คมรังเกียจ
2 เดก็ ชนกลุ่มน้อย 9 เด็กในสถานพินจิ และคมุ้ ครองเด็กและ

เยาวชน

ขอบขา่ ยของการศกึ ษาพเิ ศษ

3. เดก็ ทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ ซ่ึงแบ่งออกเปน็ ความสามารถพิเศษ ใน
5 ด้านดังน้ี
เด็กท่มี คี วามสามารถพเิ ศษ
หมายถึง เดก็ ทแี่ สดงออกออกถงึ ความสามารถ 1 ดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์
อันโดดเด่นด้านใด ด้านหนึ่งหรือหลายดา้ น
เชน่ ดา้ นสติปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ การ 2 ด้านภาษา
ใช้ภาษา การเป็นผูน้ า การสร้างงานทาง
ทัศนศิลป์และศลิ ปะการแสดง ความสามารถ 3 ดา้ นกีฬาหรอื สุขภาพ
ด้านดนตรี ความสามารถทางกีฬา และ
ความสามารถทางวิชาการ สาขาใดสาขาหนึ่ง 4 ด้านดนตรี
หรอื หลายสาขา อยา่ งเปน็ ทีป่ ระจกั ษ์เมอื่
เปรยี บเทยี บกับเดก็ คนอนื่ ทม่ี ีระดบั อายุเทา่ กัน 5 ด้านทศั นศิลป์
สภาพแวดลอ้ มหรอื ประสบการณเ์ ดียวกนั และศลิ ปะการแสดง

การจัดการศกึ ษาโดยยดึ แนวทางการพฒั นา

ดา้ นที่ 1 ดา้ นท่ี 2 ด้านที่ 3
มาตรฐานด้านคณุ ภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านครู มาตรฐานด้านผบู้ รหิ าร

พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน สง่ เสริมให้บคุ ลากรไดร้ บั พัฒนาความรู้
โดยการฟ้ืนฟสู มรรถภาพ ทักษะ ความรู้ โดยการ ความสามารถ และ
จดั อบรมหรือศกึ ษาดูงาน การศึกษาในการเป็นผ้นู า
จดั ทาวิจยั ในชั้นเรยี น มคี วามเขา้ ใจปรัชญาการ โดยการนาวธิ กี ารใหม่ๆ
พฒั นาการใช้ IEP , IIP , จัดการศึกษาสาหรบั คน มาเป็นหลักในการบรหิ าร
IFSP สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมี และปรับปรงุ การ
คุณภาพชวี ติ ทดี่ ีและอยู่ พิการและสามารถ
รว่ มในสังคมไดอ้ ย่างมี ประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ดาเนนิ งาน

ความสขุ

การจดั การศึกษาโดยยึดแนวทางการพัฒนา

ด้านที่ 4 ด้านที่ 5 ด้านท่ี 6
มาตรฐานด้านการประกันคณุ ภาพ
มาตรฐานด้านการศึกษา มาตรฐานดา้ นสังคมแหง่ การเรียนรู้
กาหนดมาตรฐาน
สง่ เสรมิ ให้มีหลักสตู รหรอื ส่งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากรและ การศกึ ษาของศนู ย์
แนวทางการใหบ้ รกิ าร ผเู้ รยี นใชแ้ หล่งเรียนรใู้ น การศกึ ษาพิเศษครบทกุ
ช่วยเหลือระยะแรกเร่มิ ที่
สอดคล้องกับประเภท ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ มาตรฐาน
ความพิการหรอื ปรบั สง่ เสริมให้มีการ
สภาพแวดลอ้ มใหผ้ เู้ รียน แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ จัดทาและดาเนินการ
ไดเ้ รยี นอย่างมคี วามสุข ตามแผนพฒั นาคุณภาพ
โดยผปู้ กครองมีส่วนร่วม ระหวา่ งบคุ ลากรภายใน
ศูนยฯ์ กับครอบครวั การจดั การศึกษา

ชุมชนและภาคเี ครอื ข่าย

บทบาทและหน้าทขี่ องบุคลากรทางการศึกษา

➢ ผอู้ านวยการการศึกษาพเิ ศษ หรือศึกษานเิ ทศกก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ได้แก่ ผู้ท่มี หี นา้ ท่ีรับผิดชอบ
การจดั โปรแกรมการศึกษาของเด็กพิเศษทกุ คน ทอ่ี ยูใ่ นเขตความรับผิดชอบ ดูแลโรงเรียน
การศึกษาพิเศษ ศนู ยบ์ รกิ ารพิเศษ

➢ ผู้บรหิ ารโรงเรียน ได้แก่ ผูอ้ านวยการโรงเรยี น อาจารย์ใหญห่ รือครูใหญ่ กับ
และผู้ช่วยเปน็ ผู้ทีม่ ีความสาคัญอยา่ งย่งิ ในการจดั การเรียนร่วมของเด็กพเิ ศษ
เดก็ ปกตใิ หป้ ระสบผลสาเร็จตามเป้าหมาย

➢ ครกู ารศกึ ษาพิเศษ ไดแ้ ก่ ผ้รู ับผดิ ชอบดาเนินการ จัดตงั้ ประสานงานบรกิ ารพเิ ศษ
จดั การเรยี นการสอนตามรปู แบบท่ีกาหนด ประเมนิ ผลและวางแผน
การศึกษาของเด็กพเิ ศษเป็นรายกรณี ซง่ึ จดั แบ่งตามหน้าทไี่ ด้ 12 ประการ ได้แก่

บทบาทและหน้าท่ขี องบุคลากรทางการศึกษา

1 ครปู ระจาช้ันเรยี นร่วม ไดแ้ ก่ ครูทีม่ ีความรู้และความสามารถในการเรยี นการสอนเดก็
ปกติ ซึง่ เขา้ รับการอบรมวิธกี ารเรียนการสอนของเด็กพิเศษทีม่ าเรยี นร่วมสามารถ
ประสานงานกบั บคุ คลอ่นื ท่เี กยี่ วข้องได้อย่างเหมาะสม
2.ครปู ระจาช้ันพิเศษ ได้แก่ ครูทีไ่ ดร้ บั การฝึกอบรม หรือมวี ุฒทิ างสาขาวิชาการสอนเด็ก
พิเศษ รวมทัง้ ครทู ่ีทาหน้าท่สี อนเด็กพิเศษในชัน้ เรยี นพิเศษตามเวลาและผทู้ ม่ี ีวฒุ ิทาง
การศกึ ษาพเิ ศษ
3 ครูเสรมิ วิชาการ ไดแ้ ก่ ครกู ารศึกษาพิเศษทที่ าหน้าท่สี อนเสริม โดยจัดตารางสอนเพอ่ื
ช่วยเหลือเดก็ พเิ ศษท่เี รยี นร่วมในช้นั ปกติในดา้ นวชิ าการตามความจาเปน็ อย่างสม่าเสมอ

บทบาทและหนา้ ทีข่ องบคุ ลากรทางการศึกษา

4 ครูเดนิ สอนหรอื ครูเวยี นสอน ได้แก่ ครูการศึกษาพิเศษประจาศูนยห์ รอื สานกั งาน ทา
หน้าทส่ี อนเสริมเดก็ พเิ ศษซึง่ อยู่บรเิ วณใกลเ้ คยี ง ครูจะมพี าหนะในการเดนิ ทาง มีอปุ กรณ์
และสอ่ื เตรยี มพรอ้ มท่จี ะนาไปใชต้ ามกาหนดในตารางปฏบิ ตั งิ าน
5 ครูผู้ประสานงาน ไดแ้ ก่ บคุ ลากรท่ีผูบ้ รหิ ารแต่งตัง้ ให้ทาหนา้ ทเ่ี ตรียมการและ
ประสานงาน อาจเป็นผชู้ ว่ ย ผบู้ ริหาร หัวหนา้ สาย
6 ครูทป่ี รกึ ษา ไดแ้ ก่ ผู้ทมี่ วี ุฒิการศึกษาพเิ ศษ หรือครูทม่ี คี วามรู้
ความชานาญในการสอนเดก็ พเิ ศษประเภทใดประเภทหนงึ่
ซึง่ ได้รบั มอบหมายใหท้ าหนา้ ทเี่ ปน็ ผูแ้ นะนาให้คาปรึกษาแก่ครปู ระจาช้ัน

บทบาทและหนา้ ที่ของบคุ ลากรทางการศึกษา

7.ครแู นะแนว ไดแ้ ก่ ครูทม่ี วี ุฒิทางการศกึ ษาดา้ นจติ วทิ ยาแนะแนวทาหนา้ ท่ี
รับผิดชอบงานบริการแนะแนวการศึกษา และอาชพี ความเหมาะสม
8. ครูจิตวิทยาประจาโรงเรยี น ไดแ้ ก่ ผมู้ วี ุฒิทางจิตวทิ ยา มีความสามารถทาการ
ทดสอบทางจติ วิทยา และปรบั พฤตกิ รรมเด็กพิเศษใหอ้ ยู่ในสภาพท่ีเหมาะสม
9. ครูสงั คมสงเคราะห์ ได้แก่ ครูทมี่ ีวุฒิทางสงั คมสงเคราะห์
หรอื ครูทไ่ี ดร้ ับมอบหมายใหท้ าหน้าที่ ใหค้ าแนะนาและ
ใหก้ ารสงเคราะหแ์ ก่เดก็ พิเศษทม่ี ปี ัญหาทางดา้ นเศรษฐกิจ
และความเปน็ อยู่ของครอบครัว ศกึ ษาปัญหาและ
สภาพครอบครัว

บทบาทและหนา้ ที่ของบุคลากรทางการศึกษา

10.ครพู ยาบาลประจาโรงเรยี น ไดแ้ ก่ ผู้ท่ีมวี ฒุ พิ ยาบาล หรอื ครทู ม่ี ีความรคู้ วามสามารถดา้ นการ
พยาบาลประจาโรงเรียน ทาหนา้ ท่รี วบรวมขอ้ มูลทางการแพทย์ของเด็กแตล่ ะคน อธิบาย
ผลกระทบของความบกพรอ่ งทมี่ ีต่อการศึกษา ช่วยคัดแยกเด็กท่ีมคี วามบกพรอ่ ง แปลความหมาย
ในบันทึกหรือรายงานทางการแพทย์
11. ครสู อนพูด ไดแ้ ก่ ครทู ี่มคี วามรู้เกี่ยวกบั การสอนพดู ทาหน้าทีแ่ ก้ไขการพดู ของเดก็ ที่พูดไมช่ ัด
สอนภาษาให้เดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยนิ รวมท้งั เด็กทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย
เนือ่ งจากระบบประสาทสมองผดิ ปกติ
12. ผ้ชู ว่ ยครู ไดแ้ ก่ บุคคลทอี่ าสาสมัคร หรือรับจ้างทาหนา้ ท่ชี ่วยเหลือครปู ระจาช้นั ในการดูแลเดก็
พิเศษในขณะเรียน หรอื ทากิจกรรมให้หอ้ งเรยี นปกติ และห้องเสริมวิชาการช่วยเหลอื การบาบดั
พเิ ศษในห้อง ฝึกฟงั ฝึกพดู กายภาพบาบดั และกิจกรรมบาบัด

หนว่ ยงานของรฐั ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การศึกษาพเิ ศษ

1. กระทรวงศึกษาธิการ จดั บรกิ ารเกยี่ วกบั การศึกษาพิเศษดงั นี้
1 กรมสามญั ศึกษา จัดการศกึ ษาพเิ ศษประเภทตา่ งๆ ไดแ้ ก่ หูหนวก ตาบอด ปัญญาอ่อน ร่างกาย
พกิ าร เรียนช้า จดั โรงเรยี นพิเศษและโรงเรียนรับเด็กเรยี นรว่ มกับเด็กปกตใิ นช้ันประถมและ
มัธยมศกึ ษา
2 สานกั งานการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน จดั การศึกษาพิเศษให้แกผ่ มู้ ปี ญั หาพกิ ารต่างๆ ตาขอบข่ายของงาน
การประถมศกึ ษา ซงึ่ ปจั จบุ ันนม้ี ีเดก็ พกิ ารประเภทตา่ งๆ เพ่ิมมากข้ึนทุกปี
3 ทบวงมหาวิทยาลัย จดั บรกิ ารเก่ยี วกับการศึกษาพิเศษ
4 กรมอาชวี ศึกษา จดั บริการเก่ยี วกบั การศึกษาพิเศษ
5 สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ จดั บรกิ ารเกี่ยวกับการศึกษาพเิ ศษ

หนว่ ยงานของรฐั ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การศกึ ษาพเิ ศษ

2. กระทรวงมหาดไทย

1 กรมประชาสงเคราะห์ จัดบรหิ ารสงเคราะห์เลี้ยงดแู ละจัดบริการดา้ นการศกึ ษาโดยร่วมมอื กบั
กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยจดั บรกิ ารในรปู แบบตา่ งๆ ไดแ้ กส่ ถานสงเคราะห์คนพกิ ารและทพุ พลภาพ
ศูนย์พัฒนาสมรรถภาพคนตาบอด จดั สงเคราะห์เดก็ พกิ าร เปน็ ตน้

2 กรมแรงงาน ดูแลผ้พู ิการซึง่ เกดิ จากอบุ ตั ภิ ยั ต่างๆ ให้ได้รบั ความสะดวก และความยตุ ธิ รรม เชน่
กรรมกรทเ่ี กดิ พิการจากการทางาน จะไดร้ บั ความเอาใจใส่จากกรมแรงงานส่งไปฝึกอบรมอาชพี ตาม
ความถนดั ของตน ณ ศูนย์ฝึกอาชีพ

3 โรงพยาบาลในสงั กัดกรงุ เทพมหานคร เชน่ โรงพยาบาลวชริ ะพยาบาล
โรงพยาบาลเลิศสิน มีบรกิ ารตรวจการได้ยินฝึกฟงั และฝกึ พูด
ใหแ้ ก่เด็กทม่ี คี วามผิดปกตทิ างการได้ยนิ และ
บรกิ ารสาหรับบุคคลโดยทั่วไปอีกด้วย

หน่วยงานของรัฐทเี่ ก่ียวข้องกับการศึกษาพเิ ศษ

3. กระทรวงสาธารณสขุ

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ มสี ่วนชว่ ยเหลือเด็กพิการประเภทตา่ งๆอย่ตู ลอดเวลา
โดยไดจ้ ดั บรกิ ารตามโรงพยาบาลทว่ั ประเทศ โรงพยาบาลตา่ งๆ เปดิ บรกิ ารตรวจหู รักษาโรคและแกไ้ ข
ขอ้ บกพร่องของหู ฝึกฟัง ฝกึ พูดและบริการแกไ้ ขการพูด เชน่ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี โรงพยาบาลศิริราช
โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ เปน็ ตน้ ปัจจุบนั ไดข้ ยายงานไปตามจังหวดั ตา่ งๆ ในการตรวจหแู ละแกไ้ ข
ข้อบกพรอ่ ง เช่น ท่โี รงพยาบาลมหาราชเชียงใหม่ เป็นตน้

4. กระทรวงกลาโหม

โรงพยาบาลในสงั กดั กระทรวงกลาโหม ได้แก่ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ ฯ โรงพยาบาลภูมิพล
เนือ่ งจากมีบคุ คลพกิ ารจากสงครามสู้รบมากขึ้น โรงพยาบาลทง้ั สองแห่งน้ีจงึ จาเปน็ ต้องเปน็ สถานรักษาให้
การอนเุ คราะห์ต่างๆ อกี ดว้ ย มลู นธิ สิ งเคราะห์ทหารผ่านศึก ใหก้ ารอนุเคราะห์ด้านอาชีพแกบ่ คุ คลผู้พกิ าร
เนื่องจากการสรู้ บ กองบญั ชาการทหารสงู สดุ ได้ใหบ้ รกิ ารแก่ผ้พู กิ ารด้านการเงนิ โดยพยายามจัดหาทุนให้
ทกุ ๆ ปี

องคก์ รเอกชนทีเ่ ก่ยี วข้องกับการศึกษาพเิ ศษ

1. มลู นิธิศูนยใ์ ห้ความช่วยเหลือ มีมูลนธิ มิ ากมายในประเทศไทยเพ่ือคน
พิการซึ่งอาจจดั ตง้ั ขนึ้ โดยคนไทยหรอื คนต่างชาติ ตัวอย่างมลู นิธไิ ดแ้ ก่

– มลู นิธอิ นุสารสุนทรสงเคราะหค์ นหหู นวก จังหวัดเชยี งใหม่
– มลู นิธธิ รรมกิ ชนเพอ่ื คนตาบอด จังหวดั ขอนแก่น และ

กรงุ เทพมหานคร
– มลู นธิ ิอนุเคราะห์คนพิการในพระบรมราชินูปถัมภ์

กรงุ เทพมหานคร
– มลู นิธสิ งเคราะห์คนหูหนวกในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

กรุงเทพมหานคร

องคก์ รเอกชนท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การศกึ ษาพเิ ศษ

2. โรงเรยี น
– โรงเรียนตามมลู นิธิต่าง ๆ เชน่ โสตศกึ ษาเชยี งใหม่
– โรงเรยี นฝกึ คนตาบอดพทั ยา (มหาไถ่) เป็นโรงเรยี นต้งั ขึ้น
จากคณะศาสนา
– โรงเรียนปัญญาวุฒิกร สอนคนปญั ญาออ่ น
– โรงเรยี นราษฎร์ท่เี ปิดสอนคนพิการ เช่น โรงเรยี นโสตพฒั นา
ของคณะโมสิมหาไถ่

องคก์ รเอกชนท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การศกึ ษาพเิ ศษ

3. องคก์ รของตา่ งประเทศ

‒ ยูนิเซฟ
‒ HKI มูลนธิ เิ ฮเลนเคนเลอ่ ร์ เพอื่ คนตาบอด
‒ CBM มูลนธิ คิ รสิ เตยี น เพื่อคนพิการ
‒ โรงเรยี นการศึกษาพิเศษในประเทศไทย

โรงเรียนการศึกษาพเิ ศษ

1. โรงเรียนสอนคนตาบอด มีดงั น้ี
1 โรงเรียนสาหรับคนตาบอดโดยเฉพาะ

- โรงเรยี นคนตาบอดกรงุ เทพ ดาเนินการโดยมลู นธิ ชิ ว่ ยคนตาบอดแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์
- โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนอื ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์จังหวัดเชียงใหม่

2 โรงเรียนเรียนร่วมสาหรับเด็กตาบอดกับเด็กปกติในช้ันประถมศึกษา มดี ังตอ่ ไปน้ี
- โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์นางรอง จังหวดั บุรรี มั ย์
- โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหอ์ านาจเจรญิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี

3 โรงเรียนเรียนรว่ มสาหรบั เด็กตาบอด เรียนร่วมในโรงเรยี นมธั ยมและ
โรงเรยี นของกรมอาชวี ศกึ ษา มีดงั น้ี
- โรงเรยี นชโิ นรสวิทยาลยั กรุงเทพมหานคร
- โรงเรยี นแกน่ นครวิทยาลยั จังหวัดขอนแกน่

โรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ

2. โรงเรยี นสาหรบั คนหหู นวกและหูตึง

1 โรงเรียนโสตศกึ ษา เปน็ โรงเรียนสาหรับคนหหู นวก มดี ังต่อไปนี้

- โรงเรียนเศรษฐกจิ เสถยี ร เขตดุสติ กรงุ เทพมหานคร

- โรงเรียนโสตศกึ ษาทุ่งมหาเมฆ เขตสาธร กรุงเทพมหานคร

2 โรงเรียนท่จี ัดการเรยี นร่วมสาหรับเด็กหตู งึ กับเดก็ ปกติ มดี ังต่อไปนี้
- โรงเรยี นพญาไท กรงุ เทพมหานคร
- โรงเรยี นอนุบาลสามเสนฯ กรงุ เทพมหานคร

3 โรงเรยี นทจี่ ดั การเรยี นร่วมระหวา่ งเดก็ หูตึงกับเดก็ ปกติ
- โรงเรยี นพบิ ลู ประชาสรรค์ เขตหว้ ยขวาง กรุงเทพมหานคร

- การจดั การศึกษาแบบเรียนรว่ มนน้ั เดก็ หูตึงสามารถเขา้ สู่ระบบการศึกษา
ไดท้ ้งั ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา หรือแมก้ ระท้งั อดุ มศกึ ษา โดยเด็กสามารถ
ไปตดิ ต่อขอรบั การศึกษาในโรงเรยี นทั่วไปได้

โรงเรยี นการศึกษาพิเศษ

3. โรงเรยี นสาหรบั เด็กทมี่ ีความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา

1 โรงเรียนสอนเด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา มดี งั น้ี
- โรงเรยี นปญั ญาวุฒกิ ร ดาเนินการโดยมูลนธิ ิช่วยคนปญั ญาอ่อนแหง่ ประเทศไทย
- โรงเรยี นกาวลิ ะอนุกูล จังหวัดเชียงใหม่

2 โรงเรยี นเด็กที่มคี วามบกพรอ่ งทางสติปัญญาเรยี นร่วมกบั เด็กปกติในโรงเรยี น
ประถมศกึ ษา
- โรงเรยี นดาราคาม กรงุ เทพมหานคร
- โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหพ์ นมทวน จงั หวดั กาญจนบุรี

3 โรงเรยี นท่จี ัดช้ันพเิ ศษสาหรบั เดก็ เรยี นช้า
- โรงเรียนพญาไท กรุงเทพมหานคร
- โรงเรียนวดั เวตะวันธรรมาวาสา กรงุ เทพมหานคร

โรงเรียนการศกึ ษาพิเศษ

4. โรงเรียนสอนเด็กพกิ ารทางรา่ งกาย
- โรงเรียนศรีสังวาลย์ มูลนธิ อิ นุเคราะหค์ นพิการ ปากเกรด็ นนทบรุ ี
- สถานสงเคราะหเ์ ด็กพกิ ารและทพุ พลภาพ ปากเกร็ด นนทบรุ ี

5. แหลง่ การสอนเด็กเจบ็ ปว่ ยเร้ือรงั ในโรงพยาบาล กองการศึกษาพเิ ศษ จดั ร่วมกบั
โรงพยาบาล จดั สอนตามเตียงเพื่อให้เดก็ เจ็บป่วยเรียนทนั หลกั สตู รในโรงเรียน โดยส่งครูไปชว่ ย
สอน ปัจจบุ นั โครงการสอนเด็กเจ็บปว่ ยเรือ้ รัง ได้เปดิ ในโรงพยาบาลต่างๆ ในอัตราส่วน
ครู 1 : นักเรียน 10 คน ท้ังในส่วนกลางและส่วนภมู ภิ าค ดังนค้ี ือ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
กรงุ เทพมหานคร

6. แหลง่ บริการทางการศึกษาสาหรับเดก็ กาพร้า
ไดแ้ ก่ สถานสงเคราะห์เด็กหญงิ บา้ นราชวิถี

แบบฝึกหดั ทา้ ยบท

ตอนที่ 1
ข้อ 1. ครกู ารศกึ ษาพเิ ศษ คอื ใคร?
ตอบ ครูการศกึ ษาพิเศษ คือครูเฉพาะทาง ที่จบการศึกษาระดบั ปริญญาตรีด้านการศึกษา
พิเศษ และได้รบั ใบประกอบวิชาชีพครู
ข้อ 2. การศกึ ษาพิเศษได้กาหนดขอบข่ายงานการศกึ ษาพิเศษครอบคลุมเดก็ ออกเป็นกก่ี ลุ่ม
และอะไรบ้าง
ตอบ 3 กล่มุ ได้แก่ 1.เด็กพิการ 2.เด็กดอ้ ยโอกาส 3.เดก็ ท่มี คี วามสามารถพิเศษ

แบบฝกึ หดั ท้ายบท

ตอนท่ี 2
ข้อ 1. “บคุ คลยอ่ มเสมอกนั ในกฎหมาย มสี ทิ ธิและเสรภี าพและได้รบั ความค้มุ ครองตามกฎหมายเท่าเทียม
กนั การเลือกปฏบิ ัตโิ ดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไมว่ ่าดว้ ยเหตคุ วามแตกตา่ งในเรื่องถ่ินกาเนิด เชื้อชาติ
ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื สังคม
ความเช่อื ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคดิ เห็นทางการเมอื งอนั ไมข่ ัดต่อบทบัญญตั ิแหง่
รัฐธรรมนูญ หรอื เหตุอนื่ ใด จะกระทามไิ ด้” ประโยคท่ีกลา่ วมาขา้ งตน้ กฎหมายในรัฐธรรมนญู ปี 2560
ได้กาหนดสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทยไว้ในมาตราที่เท่าไหร่

ก. มาตรา 25
ข.มาตรา 26
ค. มาตรา 27
ง. มาตรา 28

แบบฝึกหัดทา้ ยบท

ข้อ 2 ข้อใดคอื สิ่งแรกของบทบาทหน้าทแี่ ละงานของครูการศึกษาพิเศษ
ก. การวางแผนจัดระเบียบและจัดกิจกรรม
ข.การคัดกรองและประเมินผลนักเรียน
ค. การวางแผนจัดการเรียนการสอน
ง. การจัดส่ิงแวดล้อมในการเรียน

ข้อ 3 รูปแบบวธิ กี ารพัฒนาคนพิการของครกู ารศกึ ษาพเิ ศษ โดยกระบวนการจดั ทาแผนการจัดการศกึ ษา
เฉพาะบุคคล หมายถึงข้อใด

ก. Individualized Education Plan : ITP
ข. Individual Implementation Plan : IIP
ค. Individualized Education Program : IEP
ง. ไม่มีข้อถูก

Thank
You!


คุณลักษณะที่ดีของครูการศึกษาพิเศษมีลักษณะเป็นอย่างไร

1. ครูการศึกษาพิเศษ ต้องมีคุณวุฒิทางการศึกษาพิเศษ หรือเป็นครูที่ผ่านการอบรมด้านการสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษโดยเฉพาะ ซึ่งครูการศึกษาพิเศษเป็นครูที่เน้นการแก้ไขปัญหาทางด้านการเรียนพื้นฐาน 3 ด้านหลักๆ ได้แก่ -ด้านทักษะการอ่าน (Dyslexia) -ด้านทักษะการเขียน (Dysgraphia) -ด้านทักษะคณิตศาสตร์ (Dyscalculia)

ศูนย์การศึกษาพิเศษ ทํางานอะไร

การประเมินศักยภาพพื้นฐานของเด็กพิการ ●จัดหาสื่อ อุปกรณ์ที่สอดคล้องกับความพิการของเด็ก ●การประเมินความก้าวหน้า การสรุปพัฒนาการตามแผนการจัด การศึกษาเฉพาะบุคคล ●การนิเทศติดตาม ประเมินผล ●การส่งต่อเด็กพิการไปรับบริการที่เหมาะสม เช่น บริการทางการแพทย์ โรงเรียนจัดการเรียนร่วม โรงเรียนเฉพาะความพิการ

ศูนย์การศึกษาพิเศษ สอนอะไร

การศึกษาพิเศษ หมายถึง การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ หรือไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือผู้ด้วยโอกาส

ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความว่าอย่างไร

ครูการศึกษาพิเศษ หมายถึง ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป หรือครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีที่ผ่านการประเมินทักษะการสอนคนพิการ ตามที่คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการกำหนด และปฏิบัติหน้าที่สอน จัดการศึกษา นิเทศ หรือหน้าที่อื่นเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในสถาน ...